เพื่อการกุศล :::(เปิดจอง)ล็อกเกตพระแก้วมรกต"ภูริทัตตเถรานุสรณ์-สมเด็จองค์ปฐมอมฤตศุภมงคลญาณสังวร":::

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย dekdelta2, 13 พฤศจิกายน 2009.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    [​IMG]


    ลูกอมด้ายสายสิญจน์สาวพรหมจารี หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 เมษายน 2011
  2. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    example เล็กๆน้อยๆวันไหนให้เปิดจอง จะลงรายละเอียดตอนนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมมวลสารครับ ผมรวบรวมมวลสารไม่เก่งคงต้องรอหน่อย กว่าจะได้ 108 ชนิดครับ
    แต่เงินที่ได้สบายใจเพราะส่วนใหญ่ผู้ในวงบุญ คนอื่นส่วนใหญ่เอากำไรไปลงอ่างหมดแล้วววว
     
  3. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    เมื่อวันก่อนคุณ Farrenโทรมาถามผมว่ามวลสารชุดใหม่ ใส่อะไรมา ครูบาอาจารย์ถามทุกองค์ ตอนไปกราบหลวงตาฮ้อ ท่านก็ถามว่า :::มีแต่ของเก่าๆทั้งนั้น ไปหามาจากไหน ขลังอยู่แล้ว ไม่ต้องเสก :::
     
  4. ใต้สุด

    ใต้สุด สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +2
    ขอร่วมบุญด้วยครับ 1 ชุด
     
  5. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    ตอนที่ 121 ฉายแววตั้งแต่ยังเด็ก

    คำว่าฉายแววตั้งแต่ยังเด็ก ของผมไม่ได้หมายความว่า จะไปประกวดรายการ Thaiand got talent นะครับ แต่หมายถึง จะเล่าเรื่องครูบาอาจารย์ที่ท่านมากับ "ของเก่า" เรื่องทรงอิทธิวิธีและเลิศทางอิทธิฤทธิ์ เรื่องเหล่านี้ไม่ใช่จะบำเพ็ญเพียงชาติเดียว แต่เกิดจากการสะสม อายุพรรษาไม่ใช่ตัวกำหนดความเก่ง ดังตัวอย่างต่อไปนี้


    1. หลวงปู่พิศดู ธัมมจารี องค์นี้หลวงปู่...จ.จันทบุรี (ขอสงวนนาม) ที่หลวงปู่ทิมยกย่องว่ามีอภิญญาใกล้เคียงกับหลวงปู่ทิม ก็นิมนต์หลวงปู่พิศดูไปอธิษฐานจิตพระทุกงานของท่านตั้งแต่ 30กว่าปีที่แล้ว ทั้งๆที่ท่านเป็นพระลูกวัดไม่มีคนรู้จัก

    2. หลวงพ่อว...วัดช.... ที่หลวงพ่อฤาษีนิมนต์พระหนุ่ม 1 องค์ในการอธิษฐานจิตวัตถุมงคล ตอนนั้นท่านยังแค่เกือบ 30 ตอนนี้ท่านอายุ 60 กว่าแล้ว ตามที่นำเสนอไป

    3. หลวงพ่อสารันต์ วัดดงน้อย มีบารมีได้ผง 9 แท่ง และเป็นศิษย์หลวงปู่ฝั้นที่ได้รับนิมนต์เข้าร่วมปลุกเสกพร้อมกับอาจารย์ตั้งแต่เป็นสามเณร หลังจากนั้นได้ไปอยู่กับหลวงปู่ธรรมรังสี และได้ไปเป็นเลขานุการสังฆราชเขมรสิบปี ท่านเล่าว่าท่านมาก่อน หลวงปูทิม วัดพระขาวเสียอีก ผมสัมภาษณ์มาเองข้อมูลถูกล้านเปอร์เซนต์

    4. หลวงปู่อำคา วัดบ้านตำแย องค์นี้เป็นรุ่นลูกศิษย์หลวงปู่บุญมี วัดสระประสานสุขด้วยซ้ำแต่ทำไม หลวงปู่บุญมีและหลวงปู่ญาท่านสวนจะปลุกเสกพระ จะต้องนิมนต์องค์นี้มาทุกครั้ง

    5. หลวงพ่อสิริ วัดตาล องค์นี้ไม่เก่งจริงคงจะไม่ได้สังฆาฎิของหลวงพ่อโอภาสี ตั้งแต่เป็นสามเณร และท่านอาบน้ำมนต์ให้จอมพลสฤษณ์ ธนะรัชต์ ตั้งแต่เป็นเณรแล้ว

    ที่กล่าวมานี้สงสัยว่าจะได้เสกล็อกเกตรุ่นนี้ครบทุกองค์
     
  6. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    ลงชื่อพระปางเปิดโลกไว้ครับ แต่จะมายืนยันอีกรอบครับผม
     
  7. Amata_club

    Amata_club เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    27,065
    ค่าพลัง:
    +52,162
  8. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    สวัสดีวันปีใหม่ไทยทุกท่านครับผม
     
  9. THANARATH 2010

    THANARATH 2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    625
    ค่าพลัง:
    +1,721
    ครับสวัสดีปีใหม่เช่นกันคุณนิโรธสมาบัติและทุกท่าน สวัสดีครับ
     
  10. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    สวัสดีปีใหม่สงกรานต์ทุกท่านครับ

    ขอให้ทั้งปีมีสุขภาพแข็งแรง คิดอะไรจงไตร่ตรองและทำมันและขอให้ผลลัพธ์ออกมาดี มีเงินใช่นะครับ
    ไปเล่นน้ำที่ไหนกันมั่งครับ วันก่อนๆผมไป RCA กับข้าวสารตอนนี้หวัดเลยครับ
     
  11. kkookk

    kkookk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    345
    ค่าพลัง:
    +1,326
    ขอร่วมบุญจองด้วยครับ สำหรับพระสมเด็จองค์ปฐมปางเปิดโลก รุ่น "อมฤตศุภมงคลญาณสังวร" 1 ชุดครับ....
    และขอสนับสนุนเรื่องจัดสร้างหนังสือประวัติล๊อคเก็ตด้วยอีก 1 เสียงครับ....
    ส่วนล็อคเก็ตฉากขาวที่ได้จองไว้จะโอนให้สิ้นเดือนนี้ครับ หากโอนแล้วจะแจ้งให้ทราบครับ....<!-- google_ad_section_end -->
     
  12. ลูกพ่อลิงดำ

    ลูกพ่อลิงดำ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,427
    ค่าพลัง:
    +13,558
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 16 เมษายน 2011
  13. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    ตอนที่ 122 หลวงปู่ธีร์ วัดจันทราวาส

    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="90%" bgColor=#ccccff><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    พระครูพิชิตธีรคุณ ( หลวงปู่ธีร์ สุวณฺโณ ) วัดจันทราวาส อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์

    นามเดิมชื่อ ธีร์ โสดรัมย์ เมื่ออายุ 20 ปี ได้อุปสมบท ณ วัดศุภโสภณ อ. ลำปลายมาศ พรรษา 3 หลวงปู่ได้อกธุดงค์แสวงหาอาจารย์เพื่อศึกษาวิทยาคม และวิปัสสนากรรมฐาน เท่าที่ทราบ ประวัติครูบาอาจารย์ของท่านมีดังนี้ ท่านแรกคือ

    หลวงพ่อศิลา จนิทโชโต วัดโนนลี่ จ.สุรินทร์ ซึ่งท่านเป็นศิษย์เอกของสำเร็จลุนแห่งนครจำปาสัก หลวงปู่ธีร์เพียงรูปเดียวเท่านั้นที่ทำได้ หลวงพ่อศิลาเอ่ยปากชมว่าท่านมีพลังจิตสุงมาก ได้อยู่ศึกษาวิปัสสนสกรรมฐานและวิทยาคมตลอดทั้งวิชารักษาโรคต่างๆอยู่ 1 ปี จากนั้นจึงได้เดินทางไปศึกษาต่อจาก
    หลวงปู่คำมี พุทธสาโร วัดถ้ำคูหาสวรรค์ จ.ลพบุรี ซึ่งเป็นศิษย์ร่วมอาจารย์เดียวกันกับหลวงพ่อศิลาจนจบในสายวิชา จากนั้นได้เดินทางไปฝากตัวเป็นศิษย์
    หลวงพ่อสอน วัดเสิงสาง หลวงพ่อปุ๊ก วัดพุทรา หลวงพ่อใหญ่ วัดระเว ทั้งสามรูปเป็นครูบาอาจารย์ที่มีชื่อเสียงมากใน จ.นครราชสีมาในขณะนั้น โดยเฉพาะ หลวงพ่อปุ๊ก ซึ่งเล่ากันว่าท่านมีวิชารักษาโรคพิษสุนัขบ้าได้ชงัดนัก และในปัจจุบัน หลวงปู่ธีร์ก็ยังนำวิชาเหล่านี้มาใช้ช่วยเหลือไม่ว่าจะมนุษย์หรือสัตว์ อยู่มิได้ขาด
    ครูบาอาจารย์อีกท่านคือ หลวงพ่อหนู เกศโร วัดบึงอาจารย์ ท่านเป็นศิษย์ท่านว่า อาจารย์ฟ้อน ดีสว่าง ท่านเป็นศิษย์ที่ อาจารย์ฟ้อน ไว้วางใจมาก ถึงขนาดให้เป็นคนจัดการเรื่องศพท่าน แต่หลวงพ่อหนูก็มามรณภาพเสียก่อน ที่จะเผาศพ อาจารย์ฟ้อน ซึ่งต่อมาหลวงพ่อหนู ได้ไปนิมิตให้หลวงปู่ธีร์มาจัดการเรื่องเผาศพอาจารย์ฟ้อน ท่านจึงจัดพิธีเผาศพท่าน อ.ฟ้อน ในปี 2537 โดยหลวงปู่ธีร์และคณะศิษย์เจออุปสรรคมากมายแต่ทุกอย่างก็สำเร็จด้วยดี


    หลวงปู่ธีร์ ท่านเป็นผู้รู้ทั้งในด้านกรรฐานและวิปัสสนากรรมฐานตลอดทั้งวิทยาคมต่างๆ เป็นผู้ที่ใช้การทำงานเป็นฝึกกรรฐาน และไม่ฉันอาหารเป็นเวลานานหลายๆวันโดยใช้ชีวิตปกติไดเหมือนคนที่ได้รับประทานอาหารทุกวันเมื่อลูกศิษย์ขอร้องให้ท่านฉันอาหารบ้าง ท่านก็จะบอกเพียงแต่ว่า มันไม่หิว มันไม่อยาก ฉันไม่ลง ลูกศิษย์ที่ดูแลท่านก็ไม่รู้จะทำอย่างไรการไม่ฉันอาหารท่านนี้ท่านปฎิบัติของท่านเป็นประจำ ตั้งแต่สมัยเมื่อประมาณ พ.ศ.2515 เรื่อยมา ในสมัยนั้นท่านมักจะเข้าไปปฎิบัติในโบสถ์เป็นประจำ โดยฉัดแต่น้ำมนต์ที่ท่านทำเอง ท่านไม่พูด ไม่ฉันอาหาร 5 วันบ้าง 7-15 วันบ้าง บางปีปฎิบัติถึง 3 ครั้งก็มี เมื่อปี พ.ศ.2526 ท่านไม่ฉันอาหารนานถึง 33 วัน จนลูกศิษย์ต้องใช้บันไดปีนชึ้นไปบนหลังคาโบสถ์ เพื่อนำตัวท่านออกมา


    ครั้งล่าสุดท่านไม่ฉันอาหารแต่พูดสนทนาธรรมคอยช่วยเหลือศิษย์ญาติโยมปกติ ตั้งแต่ประมาณเดือน มิถุนายน ปี พ.ศ. 2551 ท่านไม่ฉันอาหารนาน ถึง "3เดือน12วัน" เป็นที่น่าอัศจรรย์ใจว่าท่านทรงสังขารร่ายกายได้ด้วยอะไร ที่น่าสังเกตอีกอย่างคือท่านก็ยังดูแข็งแรงเหมือนคนปกติทั่วไป แต่ที่เห็นท่านฉันอยู่บ้างก็คือน้ำข้าวที่ชาวบ้านนำมาถวาย และอีกเรื่องที่ท่านเล่าให้ฟังคือ

    หลวงปู่สรวงได้มาหาท่านที่วัด มาถึงก็ไหว้หลวงปู่ธีร์แลัวก็เขียนยันต์ที่อังสะท่านจนเต็มไปหมดแต่หลวงปู่ไม่บอกว่าสนทนาเรื่องอะไรบ้าง ก่อนกลับยังได้นำจีวรของหลวงปู่ธีร์กลับไปด้วย อีกท่านคือ
    หลวงปู่โทน หลำแพร แห่งตาคลี จ.นครสวรรค์ ได้นำผ้าไตรจีวรมาถวาย และยังได้ถ่ายรูปเก็บไว้เป็นที่ระลึกด้วยหลวงปู่ธีร์ท่านเก็บรูปไว้บนกุฎิ ปู่โทนนั้นท่านเป็นศิษย์ของหลวงปู่เทพโลกอุดรและท่านยังเก่งในด้านวิปัสสนากรรมฐาน คาถาอาคมและยาแผนโบราณ เป็นผู้ที่หลวงปู่เทพโลกอุดรได้พาไปเที่ยวชมป่าหิมพานต์มาแล้ว เป็นที่น่าแปลกคือเมื่อสองท่านที่มาเยี่ยมมาหาท่านเมื่อกลับไปแล้วไม่นานทั้งสองก็ละสังขารจากไป คงเหมือนการสั่งลา ประวัติวัตรปฎิบัติ ปฏิปทาหลวงปู่ธีร์นั้นมีมากมายแต่ในที่นี้จะขอกล่าวแต่เพียงเท่านี้
    หลวงปู่ธีร์ ท่านได้จัดพิธีบูชาครูทำบุญอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้กับครูบาอาจารย์ของท่านทุกปีโดยจะจัดงานช่วง กลางเดือน เมษายนของทุกปี และท่านจะแจกทานให้แก่ผู้ยากจน คนพิการโดยให้มารับที่ของบริจาคได้ที่วัด ทุกวันอุโบสถ 15 ค่ำของทุกเดือน

     
  14. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
    สมเด็จองค์ปฐมดูข้อมูลก่อนค่อยตัดสินใจจองนะครับ ยังไม่เปิดจองอย่างเป็นทางการ เพราะยังไม่ได้เอาพระไปถ่ายรูปครับ เดี๋ยวอาจจะทำชุบเป็นสามกษัตริย์ และให้ครูบาอาจารย์ทั้งจาร ทั้งเจิมทุกองค์ในงานพุทธษภิเษก มวลสารบรรยายด้วยรูปละกันนะคัรบ กำลังถ่ายรูปอยู่ และต้องหามวลสารเพิ่มเติม เพราะไม่อยากให้ซ้ำกับล็อกเกตครับ พรุ่งนี้อาจจะได้ผงของปรมาจารย์เบี้ยแก้ท่านหนึ่งที่น่าจะเป็นอาจารย์ใหญ่การทำเบี้ยแก้ของนครชัยศรี รุ่นเดอะกว่าหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้วครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  15. dekdelta2

    dekdelta2 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    5,702
    ค่าพลัง:
    +6,948
  16. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    เข้ามาติดตามครับผม แล้วองค์ปฐมสูงกี่นิ้วครับ
     
  17. TSKing

    TSKing Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กันยายน 2010
    โพสต์:
    146
    ค่าพลัง:
    +39
    หลวงปู่ธีร์

    ตอนที่ท่านอธิษฐานให้ครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0880.JPG
      IMG_0880.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.4 MB
      เปิดดู:
      90
    • IMG_0883.JPG
      IMG_0883.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.4 MB
      เปิดดู:
      91
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 17 เมษายน 2011
  18. TSKing

    TSKing Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กันยายน 2010
    โพสต์:
    146
    ค่าพลัง:
    +39
    หลวงปู่เที่ยง วัดพระพุทธบาทเขากระโดง จ.บุรีรัมย์

    หลวงพ่อเที่ยง (พระครูสัจจานุรักษ์ปภังกโร)
    เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทเขากระโดง
    เจ้าคณะตำบลเสม็ด.เมือง.บุรีรัมย์
    สถานะเดิม
    ชื่อ เที่ยง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]อารมณ์[FONT=Times New Roman][SIZE=5]เกิดวันพฤหัสบดี[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ขึ้น[FONT=Times New Roman][SIZE=3] 15 [/SIZE][SIZE=5]ค่ำ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]เดือน[FONT=Times New Roman][SIZE=3] 2 [/SIZE][SIZE=5]ปีมะเส็ง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]วันที่[FONT=Times New Roman][SIZE=3] 1 [/SIZE][SIZE=5]มกราคม[FONT=Times New Roman][SIZE=5]พ[FONT=Times New Roman][SIZE=3].[/SIZE][SIZE=5]ศ[FONT=Times New Roman][SIZE=3]. 2484 [/SIZE][SIZE=5]บิดาชื่อนาย[FONT=Times New Roman][SIZE=5]เสด[FONT=Times New Roman][SIZE=5]มารดาชื่อ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]นางมั่น[FONT=Times New Roman][SIZE=5]อารมณ์[FONT=Times New Roman][SIZE=5]บ้านเลขที่[FONT=Times New Roman][SIZE=3] 108 [/SIZE][SIZE=5]หมู่ที่[FONT=Times New Roman][SIZE=3] 12 [/SIZE][SIZE=5]ต[FONT=Times New Roman][SIZE=3].[/SIZE][SIZE=5]เสม็ด[FONT=Times New Roman][SIZE=5]อ[FONT=Times New Roman][SIZE=3].[/SIZE][SIZE=5]เมือง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]จ[FONT=Times New Roman][SIZE=3].[/SIZE][SIZE=5]บุรีรัมย์[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    บรรพชาอุปสมบท
    วัน เสาร์ ขึ้น 12 ค่ำเดือน 6 ปีจอ วันที่ 16 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2513 วัดอิสาน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ จนถึงวันนี้ 41 พรรษา อายุ 70 ปี
    หลวงพ่อเที่ยง ปภังกโร เป็นชาวบุรีรัมย์แต่กำเนิด ท่านเรียนจบแค่ชั้นประถมปีที่ 4 จากนั้นก็ช่วยพ่อแม่ทำไร่ทำนามาโดยตลอด ในช่วงชีวิตวัยรุ่นไม่ค่อยมีอะไรผาดโผนสักเท่าใหร่นัก เพราะเป็นคนทำมาหากินอย่างเดียว
    กระทั่ง 29 ปีท่านจึงเข้าอุปสมบทที่วัดอีสานโดยมีพระเมธีธรรมาภรณ์เป็นพระอุปัชฌาย์หลวงพ่อบุญมาเป็นพระกรรมวาจาจารย์และหลวงพ่อจำรัสเป็นพระอนุสาวนาจารย์อุปสมบทแล้วมาอยู่จำพรรษาที่วัดพระพุทธบาทเขากระโดงหลวงพ่อเที่ยง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ศึกษาวิทยาคมและวิปัสสนากรรมฐานอยู่หลายปี[FONT=Times New Roman][SIZE=5]จนเชี่ยวชาญเสมอด้วย[FONT=Times New Roman][SIZE=5]หลวงพ่อบุญมาทีเดียว[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ซึ่งได้รับการแนะนำว่า[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ถ้าจะบรรลุถึงธรรมปฏิบัติที่แท้จริงแล้วจะต้องออกธุดงค์[FONT=Times New Roman][SIZE=5]เพื่อหาความวิเวกฝึกจิตสมาธิให้กล้าแข็ง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ท่านจึงออกเดินธุดงค์จาริกหาความวิเวกไปตามป่าดงดิบทั้งไทย[FONT=Times New Roman][SIZE=5]พม่า[FONT=Times New Roman][SIZE=5]และเขมร[FONT=Times New Roman][SIZE=5]หลวงพ่อบุญมาถึงแก่มรณภาพ[FONT=Times New Roman][SIZE=3].......[/SIZE][SIZE=5]ท่านได้เดินทางกลับมาเพื่อช่วยจัดการเกี่ยวกับศพของหลวงพ่อบุญมา[FONT=Times New Roman][SIZE=5]และพระอธิการบุญเย็น[FONT=Times New Roman][SIZE=5]พระอาวุโสในวัดได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสองค์ต่อมา[FONT=Times New Roman][SIZE=5]หลวงพ่อเที่ยงก็ออกธุดงค์อีก[FONT=Times New Roman][SIZE=5]คราวนี้ขึ้นไปทางเหนือ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]จุดหมายปลายทางคือ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ฝั่งเมียวดี[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ประเทศพม่า[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ท่านผ่านทางแม่สอด[FONT=Times New Roman][SIZE=5]จ[FONT=Times New Roman][SIZE=3].[/SIZE][SIZE=5]ตาก[FONT=Times New Roman][SIZE=5]แล้วข้ามฟากมุ่งสู่ยอดดอย[FONT=Times New Roman][SIZE=3] "[/SIZE][SIZE=5]ลิ้นกี่[FONT=Times New Roman][SIZE=3]" [/SIZE][SIZE=5]ฝั่งเมียวดี[FONT=Times New Roman][SIZE=5]แล้วเข้ากรรมฐานรักษาศีลปฏิบัติธรรมอยู่ที่นั่นเป็นเวลาเกือบปี[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ท่านใด้พบกับพระลาวรูปหนึ่งชื่อว่า[FONT=Times New Roman][SIZE=5]หลวงมหาตันอ่อน[FONT=Times New Roman][SIZE=5]เป็นพระเถระจากเมืองเวียงจันทร์[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ซึ่งเชี่ยวชาญในคาถาอาคม[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ออกธุดงค์มานับสิบ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ๆ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ปีแล้ว[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ท่านทั้งสองได้แลกเปลี่ยนวิทยาคม[FONT=Times New Roman][SIZE=5]และความรู้ด้านปฏิบัติสมถะสำหรับในด้านคาถาอาคมนั้น[FONT=Times New Roman][SIZE=5]พระมหาตันอ่อนก็เปรียบเสมือนครูอีกคนหนึ่งของหลวงพ่อเที่ยง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ท่านได้สั่งสอนวิทยาคมต่าง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ๆ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ให้กับหลวงพ่อเที่ยงอย่างไม่ปิดบัง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]กระทั่งใก้ลเข้าพรรษา[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ท่านทั้งสองก็ต้องแยกจากกันเพื่อหาที่พักจำพรรษารับอนิสงส์ตามประเพณี[FONT=Times New Roman][SIZE=5]พอออกพรรษา[FONT=Times New Roman][SIZE=5]หลวงพ่อเที่ยงก็แบกกลดคู่ชีพธุดงค์มุ่งหน้าสู่เขาพระวิหารเพื่อบำเพ็ญเพียรสร้างสมบารมี[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ท่านได้พบกับพระเถระของเขมรระดับเกจิหลายรูปด้วยกัน[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ได้ฝากตัวเป็นศิษย์รับการถ่ายทอดวิชาการต่าง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ๆ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]อย่างเต็มที่[FONT=Times New Roman][SIZE=5]หลวงพ่อเที่ยงธุดงค์เข้าไปในเขมรพร้อมกับพระอาจารย์อุทัยเพื่อนสหธรรมมิก[FONT=Times New Roman][SIZE=5]พบกับพระเกจิอาจารย์ขมังเวทชาวเขมรได้รับความเมตาสั่งสอนถ่ายทอดวิทยาคมต่าง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ๆ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]อย่างไม่ปิดบัง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]จนสำเร็จอภิญญาทางอิทธิฤทธิ์[FONT=Times New Roman][SIZE=5]หรือสมถกรรมฐานนั่นเอง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ท่านรอนแรมธุดงค์อยู่ในป่าเสียมากก่วาจะอยู่ในเมือง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]พยายามที่จะทำวิปัสสนาธุระให้ได้[FONT=Times New Roman][SIZE=5]และศึกษาความรู้จากพระอาจารย์ต่าง[FONT=Times New Roman][SIZE=5]ๆ[FONT=Times New Roman][SIZE=5]นั่นเอง

    ท่านดังเกี่ยวกับเสือและไสยเวทย์ต่างๆครับ ประสบการณ์วัตถุมงคลของท่านอ่านได้ที่นี่ครับ
    [url]http://watkoakradong.igetweb.com/index.php?mo=3&art=264413[/url]

    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0884.JPG
      IMG_0884.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.2 MB
      เปิดดู:
      115
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 17 เมษายน 2011
  19. TSKing

    TSKing Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กันยายน 2010
    โพสต์:
    146
    ค่าพลัง:
    +39
    หลวงปู่พวง ธัมมสาโร วัดป่าวิเวกสามัคคีธรรม(วัดบ้านโคกตาสิงห์) จ.บุรีรัมย์

    "หลวงปู่พวง ธัมมสาโร" เจ้าอาวาสวัดป่าวิเวกสามัคคีธรรม เป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งดินแดนถิ่นภูเขาไฟ อีกรูปหนึ่งที่คณะศิษยานุศิษย์ให้ความเลื่อมใสศรัทธายิ่ง เป็นพระเถระที่ปฏิบัติเคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีความเชี่ยวชาญในการใช้สมุนไพรไทยบำบัดรักษาอาการเจ็บป่วยต่างๆ ให้กับชาวบ้านในชุมชน
    อัตโนประวัติ เกิดในสกุล เกริงรัมย์ เมื่อวันเสาร์ที่ 10 พฤษภาคม 2477 ที่บ้านโคกตาสิงห์ ต.สวายจีก อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ โยมบิดา-มารดา ชื่อนายมั่น และนางบุญ เกริงรัมย์ ครอบครัวประกอบอาชีพปักดำทำนาปลูกข้าวและรับจ้าง ในวัยเยาว์เป็นกำพร้าสูญเสียมารดา จบการศึกษาชั้น ป.4 ที่โรงเรียนวัดบ้านสวายจีก สายเลือดไทยโคราช สามารถพูดได้หลายภาษา เช่น เขมร ลาว ส่วย
    ครั้น เริ่มย่างเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น มีอุปนิสัยค่อนข้างนักเลง บิดาเกิดความเป็นห่วงบุตรชาย เกรงว่าจะเสียผู้เสียคน จึงนำไปฝากเจ้าอาวาส วัดสนวนใน ต.สวายจีก เพื่อบวชเรียนเป็นสามเณร
    มุ่งมั่นศึกษาพระ ปริยัติธรรม สามารถเรียนจบนักธรรมชั้นโท แต่บวชเรียนได้เพียงแค่ 3 พรรษา ต่อมาโยมบิดา ล้มป่วยลงไม่มีใครดูแลปฐมพยาบาล จึงจำต้องลาสิกขา เพื่อช่วยงานเก็บเกี่ยวข้าวและดูแลบิดาในช่วงบั้นปลายชีวิต
    อายุ 20 ปี เป็นนักเลงใหญ่ มีเพื่อนร่วมรุ่นชื่อดังหลายคน อาทิ เสือคง เสือวาง เสือเบง และเสือช่วย ทำให้ใช้ชีวิตนักเลงไปวันๆ ก่อนได้ไปพบรักกับนางนิ่ม อินรัมย์ และได้แต่งงานกัน มีบุตรชาย 5 คน หญิง 3 คน
    ต่อมา ครอบครัวได้ย้ายถิ่นฐานไปประกอบอาชีพรับจ้างที่ จ.ปราจีนบุรี
    จนเมื่อเวลาล่วงเลยไป บุตรทั้งหมดได้เติบโตบรรลุนิติภาวะ มีครอบครัว มีอาชีพการงาน ทำให้นายพวงเริ่มเบื่อหน่ายชีวิตทางโลก
    พ.ศ.2524 จึงเข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ให้ที่วัดประทุมสราราม ต.ลาดตะเคียน จ.ปราจีนบุรี โดยมี เจ้าอธิการเจริญ กิตติโสภโณ เป็นพระอุปัชฌาย์
    หลัง อุปสมบท ท่านได้สมัครใจไปจาริกแสวงบุญในพื้นที่ จ.ปัตตานี เกิดความประทับใจชาวไทยพุทธแดนใต้ จากนั้นย้อนขึ้นไปจาริกเลาะตะเข็บแนวชาย แดนไทย-พม่า ได้พบพระอาจารย์ปล้อง อโสโก วัดป่าเจริญผล ต.สวาย อ.เมือง จ.สุรินทร์ ที่ จ.เชียงใหม่ พระเกจิชื่อดังที่มีความเชี่ยวชาญด้านลงยันต์ ลงทอง จึงได้ขอฝากตัวเป็นศิษย์เล่าเรียนสรรพวิชา จากนั้นไปจาริกใน พื้นที่เทือกเขา อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์ ได้พบหลวงพ่อดำ วัดท่าทอง พร้อมถวายตัวเป็นลูกศิษย์ หลวงพ่อดำ ได้มอบตำราพระเวทย์ 1 ชุด พร้อมวิชาลงอักขระ เขียนยันต์ ต่างๆ เพื่อไว้ป้องกันตัว ในช่วงที่ ไปจาริกในพื้นที่แนวตะเข็บชาย แดนไทย-กัมพูชา อ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ ท่าน ได้ย่ำเท้าเดินผ่านดงทุ่นระเบิดนานาชนิดได้อย่างปลอดภัย ปรากฏว่า หน่วยทหารพราน ได้เข้าไปกราบนมัสการและขอวัตถุ มงคลจากหลวงปู่พวง เพื่อให้รอดพ้นปลอด ภัยจากทุ่นระเบิด
    พ.ศ.2527 หลวงปู่พวง ได้รับตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบุญเกิด อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี
    พ.ศ.2530 เดินทางกลับภูมิลำเนา จ.บุรีรัมย์ ผู้นำหมู่บ้านและชาวบ้าน ได้นิมนต์หลวงปู่พวงให้ช่วยสร้างวัดในพื้นที่ป่าช้า บ้านโคกตาสิงห์ เนื้อที่ 12 ไร่ สร้างกุฏิหลังเล็ก สำหรับปฏิบัติธรรม สร้างกุฏิพักสงฆ์ ศาลาการเปรียญ และสร้างอุโบสถ
    ต่อมา บุตรชายของหลวงปู่พวง ได้ป่วยเป็นโรควิกลจริตคลุ้ม คลั่ง ต้องจับล่ามโซ่ ส่งให้ช่วยบำบัดรักษาด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยใช้สมุนไพรไทย ให้ดื่มกินจนอาการป่วยเริ่มทุเลาลง กระทั่งสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ
    หลังจากนั้นประชาชนนำพาคนป่วยไปให้บำบัดรักษา เมื่อรักษาหาย หลายคนถึงกับอุปสมบท และบวชชี ฝึกปฏิบัติธรรมด้วย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0885.JPG
      IMG_0885.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.2 MB
      เปิดดู:
      107
  20. TSKing

    TSKing Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กันยายน 2010
    โพสต์:
    146
    ค่าพลัง:
    +39
    ตอนนี้เกจิที่บุรีรัมย์ที่ยังไม่ได้นำไปให้ท่านอธิษฐานให้นะครับ (ถ้ามีท่านใดจะแนะนำเพิ่มก็บอกมานะครับ)
    1.หลวงปู่ยอด อชิโต อายุประมาณ 97-98 ปี วัดปรือเกียน จังหวัดบุรีรัมย์ เจ้าตำรับมีดหมอนาคราชอันลือเลื่อง(ท่านอายุมากแล้วใครทราบข่าวก็บอกด้วยนะครับ)
    2.
    หลวงปู่เหลือง (พระราชปัญญาวิสารัท) อายุ 84 ปี วัดกระดึงทอง (ธรรมยุต) ต.บ้านด่าน กิ่งอ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย
    3.
    หลวงปู่เหมา อายุ 98 ปี วัดบ้านโคกเหล็ก ต.โคกเหล็ก อ.ห้วยราช บุรีรัมย์
    4.หลวงตาเมียน วัดบ้านจะเนียม(รูปนี้เหมือนจะนั่งปรกในงานพุทธาภิเษกให้แล้วนะครับ ใช่ม่ะครับ น้องตี๋)

     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...