มีวัตถุมงคลสายพระป่ากรรมฐานให้บูชาราคาเบาๆ

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย Somchai 2510, 8 กันยายน 2019.

  1. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 706
    รูปหล่อเหมือนพระอุปคุตหลวงตาพวง สุขินทริโย พระอรหันต์เจ้าวัดศรีธรรมมาราม หลวงตาพวงเป็นศิษย์หลวงปู่มั่นยุคสุดท้าย พระอุปคุต ( บัวเข็ม ) เจ้าแห่งโชดลาภอุดมสมบูรณ์ และยังมีฤทธิ์ทางปราบมารขจัดศัตรู ในงานบุญมหาเวส ( อิสาณ เรียก บุญผะเวส ) จะมีการแห่พระอุปคุต เพื่อมาปัดเป่ารังควานด้วย
    พระรุ่นนี้ ออกที่ วัดเนรมิตรวนาราม ที่เป็น วัดสาขาของท่าน มีหลวงปู่มา วัดสันติวิเวก ร้อยเอ็ด เป็นประธานจุดเทียนชัย นั่งปรก หลวงตาพวง นั่งปรกและดับเทียนชัย พร้อม หลวงตาสรวง สิริปุญโญ วัดป่าศรีฐาน, หลวงพ่อพระครูประกาศ วัดป่าหนองไคร้ หลวงปู่สอ พันธุโล วัดป่าหนองเเสง,หลวงปู่บุญหลาย วัดป่าโนนทรายทองพร้อมคณาจารย์สายกรรมฐานนั่งปรกตลอดคืน สร้างปี 2549 ครับ สวยเดิมๆ ทุกวันนี้ไม่ค่อยเห็นแล้วครับเก็บกันหมด
    *****คาถาบูชาพระอุปคุต******
    คาถาบูชาพระอุปคุต
    อุปคุตโต จะมะหาเถโร สัมพุทเธนะ วิยากะโต มารัญจะ มารัญจะ มาระพะลัญจะ โส อิทานิ มะหาเถโร นะมัสสิตตะวา ปะติฏฐิโต อะหัง วันทามิ อิทาเนวะ อุปะคุตตัง จะมะหาเถรัง ยัง ยัง อุปัททะวัง ชาตัง วิธัง เสติ อะเสสะโต มะหาลาภัง ภะวันตุ ฯ
    คาถาบทนี้ สวดบูชาพระอุปคุตทุกวัน จะบันดาลให้บังเกิดโชคลาภ ทรัพย์สินเงินทองมากมาย และป้องกันภัยอันตรายทั้งปวงแก่ผู้บูชา หากมีเวลาจำกัด อาจสวดแบบย่อก็ได้ ดังนี้
    อุปะคุตโต จะ มะหาเถโร ยักขาเทวา นะระปูชิโต โส ระโห ปัจจะยาทิมหิ มะ หาลาภัง ภะวันตุ เม ฯ
    คาถาขอลาภพระอุปคุต
    มะหาอุปคุต จะ มะหาลาโภ พุทโธลาภัง สัพเพชะนา พะหูชะนา ราชาปุริโส อิถีโยมานัง นะโม โจรา เมตตาจิตตัง เอหิจิตติจิตตัง ปิยังมะมะ สะเทวะกัง สะพรหมมะกัง มนุสสานัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม ฯ
    เอหิจิตติจิตตัง พันธะนัง อุปะคุตโต จะมหาเถโร พุทธะสาวะกะอานุภาเวนะ มาระวิชะยะ นิระภะยะ เตชะปุณณะตา จะ เทวะตานัมปิ มะนุสสานัมปิ เอหิจิตตัง ปิยังมะมะ อิมัง กายะพันธะนัง อะทิถามิ ปะอัยยิสสุตัง อุปัจสะอิ
    คาถาพระอุปคุตผูกมาร
    มหาอุปะคุตโต มหาอุปะคุตตัง กายะพันทะนัง อมยิสะ พุทธังทะเถโร ธัมมังทะเถโร สังฆังทะเถโร ปะอัยยะสุตัง อุปัจสะอิ อิมังกายะพันทะนัง อะทิถามิ มีพระเกศาขาวใสหลวงตาพวงมาบูชาเป็นมงคลด้วย ************มาพร้อมกล่องเดิม >>>>>บูชาที่ 455 บาทฟรีส่งems sam_5714-jpg.jpg sam_6175-jpg.jpg เปิดดูไฟล์ 5753899 เปิดดูไฟล์ 5753900 เปิดดูไฟล์ 5753901 sam_1451-jpg.jpg sam_1262-jpg.jpg sam_1264-jpg.jpg
    SAM_9015.JPG SAM_9016.JPG SAM_9017.JPG
     
  2. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 707 ล็อกเก็ตรุ่นสร้างกุฏิ+เหรียญสร้างพระนาคปรกหลวงปู่ประครอง ปียธัมโม วัดดอยเทวธรรมมาราม อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย หลวงปู่ประครองเป็นศิษย์หลวงปุ่ขาน ฐานวโร พระอรหันต์วัดป่าบ้านเหล่า ล็อกเก็ตสร้างปี 2550 ,ส่วนเหรียญพระนาคปรกสร้างปี 2560 เนื้อกะไหล่ทอง มาพร้อมกล่องเดิม มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาด้วยครับ************บูชาที่ 335 บาทฟรีส่งems
    ประวัติและปฏิปทา
    หลวงปู่ประครอง ปิยธัมโม
    วัดดอยธรรมาราม
    อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย

    -e0-b8-87-e0-b8-9b-e0-b8-b4-e0-b8-a2-e0-b8-98-e0-b8-b1-e0-b8-a1-e0-b9-82-e0-b8-a1-0-727x1024-jpg.jpg
    พระครูปิยธรรมคุปต์ (หลวงปู่ประครอง ปิยธมฺโม) วัดดอยธรรมาราม ล็อกเก็ตรุ่นสร้างกุฏิหลวงปู่ประครอง ปิยธัมโม พระอรหันต์เจ้าวัดดอยเทวธรรมมาราม อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย หลวงปู่ประครองเป็นศิษย์หลวงปู่ขาน ฐานวโร วัดป่าบ้านเหล่า เหรียญสร้างปี 2550
    พระครูปิยธรรมคุปต์ (หลวงปู่ประครอง ปิยธัมโม) เกิดเมื่อ วันพฤหัสบดีที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๘ พื้นเพท่านเป็นชาวจังหวัดสกลนครโดยกำเนิด บิดาชื่อ นายทอง ศรีอุทัย มารดาชื่อ นางครอง ศรีอุทัย มีพี่น้องร่วมท้อง ๕ คน ซึ่งท่านเป็นพี่ชายคนโต

    -e0-b8-ad-e0-b8-a2-e0-b8-98-e0-b8-a3-e0-b8-a3-e0-b8-a1-e0-b8-b2-e0-b8-a3-e0-b8-b2-e0-b8-a1-2-jpg.jpg
    พระครูปิยธรรมคุปต์ (หลวงปู่ประครอง ปิยธมฺโม) วัดดอยธรรมาราม
    เมื่อหลวงปู่ประครอง จบการศึกษาชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๔ เมื่ออายุ ๑๔-๑๕ ปี ก็ได้ออกมาช่วยพ่อแม่ทำงานกิจการงานที่บ้าน จนอายุ ๒๐ ปี จึงได้ศึกษาและออกบวชทางพระพุทธศาสนา ได้บำเพ็ญสมณธรรมวัดในหมู่บ้านเป็นเวลา ๑ พรรษา จึงได้เดินออกธุดงค์ตามครูบาอาจารย์ที่เคารพ หลวงปู่ครองได้รับการอบรมฝึกปฏิบัติทางจิตใจก็ยิ่งเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามากยิ่งขึ้น ตั้งใจจะปฏิบัติหาเหตุผลให้กับชีวิต ตลอดจนตั้งใจปฏิบัติให้พ้นวัฏฏะสงสาร และได้ไปประพฤติปฏิบัติธรรมที่ จ.จันทบุรี ๒-๓ พรรษา จนได้กลับมาเยี่ยมบ้าน เห็นว่าอย่างไร พ่อแม่ก็ยังมีน้องๆ คอยช่วยดูแลอยู่ ท่านจึงออกเดินธุดงค์ไปปฏิบัติธรรมเริ่มจาก จ.อุดรธานี จ.เลย พิษณุโลก กำแพงเพชร เชียงใหม่ จนกระทั่งถึง จ.เชียงราย เดินเท้าบ้าง นั่งรถบ้าง หิวโหยบ้าง จนถึงกระทั่ง จ.เชียงราย คิดเห็นว่าบริเวณบ้านป่าสักงาม ต.ดงมหาวัน อ.เวียงเชียงรุ้ง แห่งนี้เหมาะที่จะเป็นที่บำเพ็ญสมณธรรมอยู่ต่อมา อยู่ต่อบ้านมีภูมิเทวดาได้ลงมาฟังเทศน์ฟังธรรมจึงได้รู้ว่ามีพระธุดงค์ท่านมาแสวงหาโมกขธรรม เริ่มแรก ได้เกิดนิมิตต่างๆ ได้บำเพ็ญอยู่บนยอดดอยในพรรษา ได้นิมิตเห็นแสงสว่างบนเจดีย์ ๓ ชั้น และในเวลาต่อมา มีโยมสองสามีภรรยา ซึ่งน่าจะเป็นเทวดา มากราบขอเป็นโยมอุปัฏฐาก

    ต่อมาได้มีชาวบ้านป่าสักงามมาร่วมกันอุปถัมภ์ดูแลสถานที่ปฏิบัติธรรมซึ่งเป็นป่าชุมชน ชาวบ้านได้สร้างถนนขึ้นไปถึงบนดอย หลวงปู่ประครอง ได้อยู่จำพรรษา ๒ พรรษา จากนั้นจึงได้กลับมา จ.สกลนคร และในเวลาต่อมา หลวงปู่ได้กลับไปบ้านป่าสักงามอีกครั้ง ชาวบ้านได้ลงมติให้สถานที่นั้นเป็นสำนักสงฆ์ ต่อมาหลวงปู่ได้ตั้งชื่อว่า “ดอยเทวธรรมาราม” ชาวบ้านได้ก่อสร้างกุฏิ เสนาสนะ และได้มีพระมาจำพรรษาอยู่ด้วย ๒-๓ รูป ปี พ.ศ.๒๕๕๓ ทางสำนักพุทธได้แต่งตั้งให้เป็นวัดถูกต้องตามกฏหมาย โดยได้เปลี่ยนชื่อวัดเป็น “วัดดอยธรรมาราม“


    0-b8-ad-e0-b8-a2-e0-b8-98-e0-b8-a3-e0-b8-a3-e0-b8-a1-e0-b8-b2-e0-b8-a3-e0-b8-b2-e0-b8-a1-2-1-jpg.jpg
    วัดดอยธรรมาราม บ.ป่าสักงาม ต.ดงมหาวัน อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย
    หลวงปู่ประครอง ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสมาตั้งแต่นั้นมา ในช่วง ๒-๓ ปีหลัง สุขภาพหลวงปู่ไม่แข็งแรงนัก ศิษยานุศิษย์ที่ จ.สกลนคร จึงอาราธนาให้ท่านมาพักรักษาตัวอยู่ที่บ้านเกิดท่าน หลวงปู่ประครองได้ลงมาพำนักรักษาตัวอยู่ที่วัดป่าศรีลาธรรมาราม บ้านโคกศิลา อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร


    -e0-b8-ad-e0-b8-a2-e0-b8-98-e0-b8-a3-e0-b8-a3-e0-b8-a1-e0-b8-b2-e0-b8-a3-e0-b8-b2-e0-b8-a1-1-jpg.jpg
    พระครูปิยธรรมคุปต์ (หลวงปู่ประครอง ปิยธมฺโม) วัดดอยธรรมาราม
    ปัจจุบัน พระครูปิยธรรมคุปต์ (หลวงปู่ประครอง ปิยธมฺโม) ท่านได้มาพักจำพรรษา ณ วัดดอยธรรมาราม บ.ป่าสักงาม ต.ดงมหาวัน อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย เจริญอายุวัฒนมงคลครบ ๗๕ ปี พรรษา ๕๒ ( กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๓)


    9b-e0-b8-b4-e0-b8-a2-e0-b8-98-e0-b8-b1-e0-b8-a1-e0-b9-82-e0-b8-a1-e0-b9-85-e0-b9-85-e0-b9-85-jpg.jpg
    หลวงปู่ประครอง ปิยธมฺโม
    วัดดอยธรรมาราม บ้านป่าสักงาม ต.ดงมหาวัน อ.เวียงเชียงรุ้ง(สำหรับผมเองจะไปอ.เจริญศิลป์บ่อยๆ ไปกราบหลวงปู่เนย สมจิตโต ,เเล้วเลยไปกราบหลวงปู่ประครอง เเละไปกราบหลวงพ่อน้อย ฐานิสสโร วัดป่าภูหินกอง ถ้าใครไปเจริญศิลป์ จะรู้ว่าที่นี้มีอรหันต์ 3 องค์พี่น้องครับ) SAM_7500.JPG SAM_7501.JPG SAM_9018.JPG SAM_9019.JPG SAM_9020.JPG SAM_7605.JPG
     
  3. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125

    รูปเกศาหลวงปู่ประครองปัจจุบัน ผมนำมาผึ่งเเดดผึ่งลมให้เเห้งครับ ,กับของหลวงพ่อน้อย จะเห็นว่าของลูกศิษย์จะขาวหงอกกว่าของพระอาจารย์ ผมเลยอยากจะขอเเจงรายละเอียดว่า ที่ผมส่งพระเกศาของหลวงปู่หลวงตาต่างให้เพื่อนสมาชิกไปบูชาเป็นมงคลนั้น คือของจริงครับ ให้หาผอบใส่ดีๆ นำไปบูชาที่เหมาะสมจะเป็นมงคลเเก่ท่านเเละครอบครัว บางองค์เกศาก็ยังดำอยู่เเล้วเเต่ธาตุขันต์ของเเต่ละองค์ท่าน เช่นของหลวงปู่ไม ขาวหงอกตั้งเเต่ท่านอายุยังไม่ถึง 60 ปีเลย ,หลวงปู่เเฟ๊บ ท่านอายุ 88 ปี เเต่พระเกศาของท่านก็ยังมีสีดำมาก เพราะสมาชิกบางคนอาจจะสงสัยว่า ของจริงมั่ย หรือจะมีผีบ้าที่ไหนมาทำโครงการอย่างนี้ ส่วนมากจะไม่ค่อยเชื่อสะมากกว่า เเต่ผมเองก้เเล้วเเต่ท่านจะเชื่อหรือไม้่เชื่อ(นา นาจิตตัง) เเต่ใจผมอยากจะให้เพื่อนสมาชิกมีของมงคลบูชาอยู่ที่บ้าน มีเพื่อนสมาชิกบางคนเขาไ้ด้นำของมงคลไปบูชาดีๆ ก็มีพระธาตุเสด็จมาลงอยู่ในผอบ ทั้งๆที่ผอบปิดสนิทเเน่นเเล้ว ก็มีครับ ผมเลยขอชี้เเจงให้ทราบว่าเกศาของหลวงปู่หลวงตาบางองค์ท่านจะเเตกต่างกัน หรือบางที่ที่ผมได้เกศามาหลวงปู่หลวงตาท่านอาจจะอยู่วัยกลางคน (คือยังไม่หงอกมาก) รูปสุดท้ายคือเกศาหลวงพ่อน้อยครับ ส่วนรูปภาพของหลวงปู่ประครองผมเองรีบเกิน เลยลืมเอากล่องไป เดือนหน้าหลวงปู่บอกมาเอาเกศาอีกนะ เดือนนี้มีพระมาขอกันเยอะเลยเเบ่งกันไป sam_5303-jpg.jpg sam_5305-jpg.jpg sam_5306-jpg.jpg sam_5304-jpg.jpg
    เส้นเกศาหลวงปู่ประครองเมื่อเเห้งดีเเล้วจากที่ปลงเเล้ว เรื่มจับตัวเป็นก้อนของใครของมันครับ เกิดจากพลังจิตของพระอรหันต์ครับ ที่เพ่งจากกรรมฐาน 5 คือ(ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง)จิตที่ไม่มีกิเลสเเล้วเพ่งจะมีพลังจิตฝังอยู่ครับ SAM_9021.JPG SAM_9023.JPG
     
  4. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 708 ล็อกเก็ตจัมโบ้รุ่นสร้างบารมีรุ่น 1 หลวงปู่บุญเพ็ง ขันติโก พระอรหันต์เจ้าวัดหนองเเสง อ.นาหว้า จ.นครพนม หลวงปู่บุญเพ็งเป็นศิษย์หลวงปู่คำพันธ์ จันทูปโม พระอรหันค์วัดศรีวิชัย ล็อกเก็ตสร้างปี 2555 รุ่นนี้หลวงปู่อฐิษฐานจิตปลุกเสกให้ 1 ไตรมาสครับ ด้านหลังล็อกเก็ตติดเเผ่นทองเเดงจะเป็นรูปท่านท้าวมหาพรหม 4 หน้านั่งเเท่นบรรลังก์ มีตอกโค๊ต 3 โค๊ต โค๊ตตัวเลข 45 ,โค๊ต ดอกบัว,เเละโค๊ต ขันติโก มาพร้อมกล่องเดิม มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคลด้วยครับ **********บูชาที่ 355 บาทส่งems >>>>>>หลวงปู่บุญเพ็งท่านเป็นพระที่หลวงปู่รินทร์พระอาจารย์ของผม ท่านการันตีว่าหลวงปู่องค์นี้เป็นพระอรหันต์นะ ท่านไปเจอกันงานรับนิมนต์ฉันบ้านโยม พอองค์ท่านทั้งสองเจอกันเท่านั้น ท่านทั้งสองเพ่งเเสงใส่กันเลยครับ พอกลับมาถึงวัดหลวงปู่รินทร์ บอกผมว่าหลวงพ่อที่อยู่อำเภอนาหว้าองค์นั้นเป็นพระอรหันต์นะสมชาย ผมเองไม่เเปลกใจเลย เพราะว่าผมเห็นหลวงพ่อองค์นี้ทุกอาทิตย์ที่วัดป่าบ้านตาดสมัยที่พระหลวงตามหาบัว ทำโครงการทองคำเข้าคลังหลวง ผมจะเห็นหลวงพ่อบุญเพ็งท่านมาถวายทองคำเเละปัจจัยเงินสดเข้าคลังหลวงกับพระหลวงตามหาบัวเสมอ บางครั้งอาทิตย์ละสองครั้งเลย หลวงตาเคยกล่าวเอ่ย ว่าหลวงพ่อองค์นี้เป็นพระเเท้นะ เเต่ตอนนั้นผมยังไม่เข้าใจความหมายของพระหลวงตา มาเข้าใจก็ที่หลวงปู่รินทร์ท่านบอกผมนี้ละ่ครับ
    sam_8308-jpg-jpg.jpg sam_8309-jpg-jpg.jpg เปิดดูไฟล์ 5753948 SAM_8879.JPG SAM_8880.JPG sam_8183-jpg-jpg.jpg
     
  5. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    >>>รูปพระเกศาของคุณเเม่ชีบุญฮู้ 4 ก้อนที่เห็นนั้นเป็นก้อนสมัยอยู่กับคุณเเม่ ท่านใส่ในกระป๋องขนมปังปิ๊บ ขนาด 100 บาทในเเม็คโคร รวมตัวกันเป็นก้อนเเข็งมาก รวมกันด้วยพลังจิตพระอรหันต์เอง (ผมได้มาตั้งเเต่ก่อนปี 2550 ครับ)********ส่วน 3 ก้อนสีขาว,ผมได้มาล่าสุด 2563 (อายุคุณเเม่ 76 ปี )ผมได้มาใหม่ก็ยังไม่เเห้งดี เเละยังไม่รวมกัน เเต่ปัจจุบันเเห้งดีเเล้ว เกศาคุณเเม่ก็วิ่งมารวมกันเองครับ ด้วยพลังจิตของพระอรหันต์นั้นเองครับ sam_9167-jpg-jpg.jpg SAM_9024.JPG SAM_9025.JPG SAM_9026.JPG SAM_9027.JPG
     
  6. shaj

    shaj เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    8,246
    ค่าพลัง:
    +6,459
    ขอจองรายการที่708ครับ
     
  7. Khun Kriang

    Khun Kriang สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2019
    โพสต์:
    290
    ค่าพลัง:
    +4
    จองครับ
     
  8. Peterbn

    Peterbn Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2018
    โพสต์:
    435
    ค่าพลัง:
    +280
    ขอจองครับ
     
  9. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 709 พระผงอังคารธาตุ 9 พระอรหันต์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน พระอรหันต์เจ้าวัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี หลวงมหาบัวเป็นศิษย์หลวงปู่มั่นยุคกลาง มีผสมว่าน 108 ชนิด สร้างปี 2553(ทันพระหลวงตาครับ องค์ท่านละสังชารปี 2554 ) มีตอกเเผ่นโค๊ต 3 โค๊ต หลังเป็นพระสิวลีเถระ องค์นี้สวยมาก มีพระธาตุผุดขึ้นนิดๆ มีพระเกศาหลวงตามาบูชาเเละพระธาตุ 2 องค์ ***************บูชาที่ 455 บาทฟรีส่งems SAM_7657.JPG SAM_9000.JPG SAM_9044.JPG SAM_9047.JPG SAM_9046.JPG SAM_7401.JPG SAM_7402.JPG SAM_7403.JPG SAM_7404.JPG SAM_7405.JPG
    sam_1965-jpg-jpg.jpg
     
  10. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 710
    พระผงโต๊ะหมู่รุ่นเเรกรุ่นอุดมสมพรหลวงปู่เเปลง สุนทโร พระอรหันต์วัดป่าอุดมสมพร อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร หลวงปู่เเปลงเป็นศิษย์หลวงปู่ฝั้น อาจาโร พระอรหันต์วัดป่าอุดมสมพร องค์พระสร้างปี 2561 เนื้อขาว มาพร้อมกล่องเดิม มีตอกโค๊ตตัวเลขด้านหลังองค์พระ สุนทโร 727 มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคลด้วยครับ ***********บูชาที่ 275 บาทฟรีส่งems(อนึ่ง....หลวงปู่เเปลงองค์ท่านไม่นิยมสร้างวัตถุมงคลเลยครับ นี้เป็นครั้งเเรกครับ องค์ท่านยังดำรงค์ธาตุขันต์อยู่ครับผม) หมายเหตุ>>>>>สำหรับหลวงปู่เเปลงผมลงครั้งเเรกเลยละครับ หายากมากๆ อยากเเจกมอบเกศาท่านมานานเเล้วครับ
    ประวัติและปฏิปทา
    หลวงปู่แปลง สุนทโร

    วัดป่าอุดมสมพร
    ต.พรรณา อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร

    0-b8-84-e0-b8-a1-e2-80-8b-e0-b8-88-e0-b8-aa-e0-b8-81-e0-b8-a5-e0-b8-99-e0-b8-84-e0-b8-a3-jpg-jpg.jpg
    หลวงปู่แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร ต.พรรณา อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    “พระครูอุดมธรรมสุนทร” หรือ “หลวงปู่แปลง สุนทโร” มีนามเดิมว่า แปลง อินทร์หนอง เกิดเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๓ ตรงกับวันเสาร์ แรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีมะเมีย ณ บ้านดอนเชียงคูณ ตำบลเชียงเครือ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โยมบิดา-โยมมารดาชื่อ นายกง และนางคู อินทร์หนอง มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๗ คน ท่านเป็นบุตรคนที่ ๖

    การศึกษาเบื้องต้น
    หลวงปู่แปลง ท่านได้เข้าศึกษาในโรงเรียนประชาบาลบ้านดอนกระเล็น ตำบลพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร (ปัจจุบันเป็นตำบลเชียงเครือ) จนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ต่อจากนั้นได้ศึกษาต่อที่โรงเรียนช่างไม้สกลนคร จนจบอาชีวะชั้นต้นปีที่ ๓ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๙ หลวงปู่เล่าถึงอาชีพของท่านว่า “ก็ได้ทำไร่ไถนาธรรมดานี่แหละ ทำก็ทำไร่ทำนา ส่วนมากจะทำนา ทำนาเป็นอาชีพ เลี้ยงวัวเลี้ยงควายเลี้ยงม้า เป็นอาชีพของชาวบ้าน”

    การอุปสมบท
    สาเหตุที่จะได้บวชนั้น หลวงปู่แปลง เล่าว่า.. “คือบวชตามประเพณี คือป่วยตั้งแต่เป็นเด็ก เขาบนบวช ทีนี้ว่าจะบวชวัดบ้านนั่นล่ะ มีโยมคนหนึ่งที่รู้จักกับแม่ บอกว่ากูจะไปฝากหลวงปู่ฝั้นให้ เขาเป็นโยมอุปัฏฐากท่าน โชคดีไปฝากกับหลวงปู่ฝั้น เลยได้ไปอยู่กับท่าน ก็ห่างจากบ้าน ๖-๗ กิโลเมตร จากวัดท่านน่ะ สาเหตุที่ได้ไป บุญดึงไปล่ะถ้าพูดตามภาษาบ้านเราน่ะ ไม่ใช่เจตนาหรอก บวชก็บวชไม่ใช่จะอยู่ตลอดหรอก บวชตามประเพณี ได้บวชผ้าขาวกับ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ที่วัดป่าภูธรพิทักษ์ ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เพราะใกล้จะเข้าพรรษาแล้ว ประมาณ ๗ วัน เพราะท่านลงมาจากถ้ำเป็ด เป็นเวลาน้อย ก็บวชวันเข้าพรรษาด้วย มันจำเป็น”

    หลวงปู่แปลง ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่ออายุ ๒๒ ปี ในวันที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ.๒๔๙๕ ณ พัทธสีมาวัดศรีโพนเมือง ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดยมี พระครูอุดมธรรมคุณ (หลวงปู่มหาทองสุก สุจิตฺโต) วัดป่าสุทธาวาส เป็นพระอุปัชฌาย์, หลวงปู่ฝั้น อาจาโร วัดป่าอุดมสมพร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระเทพสุเมธี (ไพบูลย์ อภิวณฺโณ ป.ธ.๕) วัดศรีโพนเมือง เป็นพระอนุสาวนาจารย์

    ติดตามอุปัฏฐากหลวงปู่ฝั้น อาจาโร
    ภายหลังจากอุปสมบทแล้ว หลวงปู่แปลง สุนทโร ท่านได้มาพักจำพรรษาอยู่กับหลวงปู่ฝั้น อาจาโร ณ วัดป่าภูธรพิทักษ์ จังหวัดสกลนคร รวมทั้งได้ศึกษาข้อวัตรปฏิบัติ ฝึกหัดทำสมาธิภาวนา หากมีความสงสัยในข้ออรรถข้อธรรม ท่านก็ขึ้นไปกราบเรียนถามหลวงปู่ฝั้น ซึ่งหลวงปู่ฝั้นก็เมตตาให้คำแนะนำข้ออรรถข้อธรรม ให้กำลังใจในการบำเพ็ญสมณธรรม อีกทั้งท่านยังได้ติดตามไปอุปัฏฐากรับใช้หลวงปู่ฝั้นตามสถานที่ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นที่วัดถ้ำขาม, วัดป่าอุดมสมพร อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ตลอดจนสถานที่อื่น ๆ

    ภายหลังจากหลวงปู่ฝั้น อาจาโร ได้ถึงแก่มรณภาพ และได้รับพระราชทานเพลิงศพแล้ว ท่านก็ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสสืบแทน ท่านจึงได้ดูแลวัดป่าอุดมสมพรเรื่อยมา

    0-b9-88-e0-b8-b2-e0-b8-ad-e0-b8-b8-e0-b8-94-e0-b8-a1-e0-b8-aa-e0-b8-a1-e0-b8-9e-e0-b8-a3-jpg-jpg.jpg
    หลวงปู่แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร ต.พรรณา อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    ลำดับสมณศักดิ์
    ปี พ.ศ.๒๕๒๕ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น “พระครูอุดมธรรมสุนทร”

    ปัจจุบันนี้ หลวงปู่แปลง สุนทโร ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส และพำนักจำพรรษาที่วัดป่าอุดมสมพร บ้านบะทอง ตำบลพรรณา อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
    สิริอายุ ๙๐ ปี ๖๘ พรรษา (พ.ศ.๒๕๖๓)

    0-b8-a1-e2-80-8b-e0-b8-88-e0-b8-aa-e0-b8-81-e0-b8-a5-e0-b8-99-e0-b8-84-e0-b8-a3-683x1024-jpg-jpg.jpg
    หลวงปู่แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร
    โอวาทธรรม หลวงปู่แปลง สุนทโร

    “..แค่สอนให้รักษา”พุทโธ”คำเดียวยังรักษาบ่ได้ จะให้เทศน์หยังหลายแท้ธรรมะนี่..”

    “..ใจไม่มีโรค เป็นสุขอย่างยิ่ง..”

    “..ถ้าไม่เกิดหมดเรื่อง..”

    “..พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่อยู่ของใจ..”

    “อย่าไปเสริมแต่กาย กายเป็นของเสื่อม ให้เสริมใจ เอาพุทโธ พุทโธ เสริมที่ใจ” sam_8901-jpg.jpg sam_8902-jpg.jpg SAM_9033.JPG sam_8905-jpg.jpg sam_8904-jpg.jpg sam_7605-jpg.jpg

     
  11. สมณธรรม

    สมณธรรม สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2020
    โพสต์:
    107
    ค่าพลัง:
    +138
    ขอบูชาครับ
     
  12. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    สส
    ประวัติและปฏิปทา
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม

    วัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล
    อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    %B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A5.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล
    ◎ ชาตภูมิ
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม พระอริยสงฆ์ผู้ทรงเมตตาธรรม แห่งวัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร ท่านถือกำเนิดเมื่อวันพุธที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๘๒ ตรงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีเถาะ ณ บ้านศรีฐาน ต.กระจาย อ.คำเขื่อนแก้ว จ.อุบลราชธานี (ปัจจุบันเป็นตำบลศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร) โยมบิดาชื่อ บุญหนา โยมมารดาชื่อ บุปผา ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๗ คน เป็นชาย ๓ คน เป็นผู้หญิง ๔ คน ท่านเป็นบุตรคนที่ ๖

    ◎ การศึกษา
    อายุได้ ๗ ปี หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเข้ารับการศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนบ้านศรีฐาน ต.ศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร เรียนอยู่ ๕ ปี เพราะสมัยนั้นมีการเรียนชั้นมูลด้วย จึงจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ครั้นจบแล้วท่านได้ช่วยบิดามารดาทำนาอยู่หนึ่งปี

    %B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%93%E0%B8%A3-713x1024.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม
    การบรรพชาอุปสมบท
    ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๕ อายุ ๑๓ ปี ท่านได้เข้ารับการบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดศรีฐานใน บ.ศรีฐาน ต.ศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร บรรพชาพร้อมกันกับหลวงพ่อคำพอง ปัญญาวุโธ วัดป่านานาชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา ครั้นบรรพชาแล้วได้เรียนนักธรรมอยู่ ๒ ปี และสอบได้นักธรรมชั้นโท จากนั้นเดินทางติดตามหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ซึ่งเป็นหลวงลุงไปอยู่ที่วัดป่าแก้วชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ท่านสอบได้นักธรรรมชั้นเอก ที่สำนักเรียนวัดเจริญสมณกิจ บ.บางงั่ว ต.ตลาดใหญ่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต ซึ่งท่านบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ ๗ ปี ในขณะที่เป็นสามเณรอยู่นั้น ท่านได้อยู่ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล จ.หนองบัวลำภู เป็นต้น

    %A5%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%90%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%98%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A1-4.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเข้ารับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุในทางพระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๒ ณ วัดศรีมงคลเหนือ ต.มุกดาหาร อ.เมือง จ.มุกดาหาร โดยมีพระมุกดาหารโมลี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์คำ คัมภีรญาโณ วัดศิลาวิเวก เป็นพระกรรมวาจาจารย์ หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พระอุปัชฌาย์ ขนานนามฉายาให้ว่า “ฐิตธัมโม” แปลว่า “ผู้ดำรงอยู่ในธรรม” โดยท่านอุปสมบทพร้อมกันกับหลวงพ่อคำพอง ปัญญาวุโธ วัดป่านานาชาติ รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นทั้งญาติและเพื่อนสนิท ซึ่งหลวงพ่อคำพอง เป็นนาคขวา ท่านเป็นนาคซ้าย

    รับหน้าที่เป็นเจ้าอาวาส
    เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ท่านได้พำนักที่วัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร เป็นการถาวร อยู่ศึกษาปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ผู้มีฐานะเป็นหลวงลุง และเป็นพระอาจารย์ ครั้นหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๓ หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านจึงได้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะจังหวัดสกลนคร (ธรรมยุต) ให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสแทน หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ผู้เป็นบูรพาจารย์ โดยได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๓ จากนั้น ท่านได้นำคณะศิษย์สร้างพิพิธภัณฑ์หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร เพื่อเป็นที่บรรจุอัฐิธาตุ อัฐบริขาร ให้พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้สักการะบูชา

    ◎ กตัญญูต่อพ่อแม่ครูอาจารย์
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเป็นพระอริยสงฆ์ผู้มีเมตตาธรรมต่อสานุศิษย์ทั้งบรรพชิตแลฆราวาส และท่านเป็นกำลังหลักสำคัญในการช่วยชาติไทยองค์หนึ่ง ซึ่งได้ถวายเงินบาทไทย ทองคำ เงินดอลลาร์ เงินตราสกุลต่างประเทศ เป็นจำนวนมากเข้าโครงการช่วยชาติ แด่ องค์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ผู้เป็นบูรพาจารย์ นอกจากนั้น หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านยังเมตตาสงเคราะห์โลก ด้วยการสร้างหอพักสงฆ์อาพาธโรงพยาบาลสว่างแดนดิน มอบรถยนต์ให้กับโรงพยาบาลในเขตจังหวัดสกลนคร มอบเงินเพื่อสร้างอาคารโรงเรียนต่างๆ มอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียน รวมทั้งให้การช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ และศาสนสงเคราะห์ จึงนับได้ว่า หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเป็นพระสงฆ์ผู้ทำคุณประโยชน์แก่พระพุทธศาสนาแลสังคมส่วนรวมมากองค์หนึ่ง

    9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%90%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%98%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A1-%E0%B8%A0.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    นอกจากนั้น หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ยังแสดงความกตัญญูต่อองค์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ซึ่งถือเป็นพระบูรพาจารย์ของท่านองค์หนึ่ง ด้วยการถวายเงินสบทบทุนสร้างพิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์พระธรรมวิสุทธิมงคล หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าบ้านตาด ต.บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี, ถวายเงินเพื่อสร้างพิพิธภัณฑ์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน โดย หลวงปู่ลี กุสลธโร ณ วัดป่าบ้านตาด ต.บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี, ถวายเงินสร้างพุทธมหาเจดีย์ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าภูผาแดง ต.หนองอ้อ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี เป็นต้น

    B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%90%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%98%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A1.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    แม้วาระสุดท้ายก่อนละสังขาร หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านมีจิตศรัทธา นำคณะศิษย์หล่อพระพุทธรูปทองคำ น้ำหนัก ๔๒ กิโลกรัม หน้าตัก ๑๒ นิ้ว เพื่อประดิษฐาน ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์พระธรรมวิสุทธิมงคล หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ในวันพุธที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ แต่นับเป็นเรื่องที่น่าเศร้าแก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า ท่านมาละสังขารจากไปก่อนทำพิธีหล่อพระพุทธรูปทองคำสองวัน ซึ่งก่อนละสังขารนั้น เมื่อเช้าวันจันทร์ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ท่านได้มอบหมายงานหล่อพระพุทธรูปทองคำครั้งนี้ ให้หลวงพ่อสุธรรม สุธัมโม วัดป่าหนองไผ่ อ.เมือง จ.สกลนคร เป็นผู้ดำเนินการแทนท่านทั้งหมด เหมือนท่านรู้ล่วงหน้าว่า ท่านจะละขันธ์แล้ว

    ◎ เหตุการณ์สำคัญก่อนมรณภาพ
    เช้าวันอังคารที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ช่วงเช้าก่อนพระสงฆ์ออกรับบิณฑบาตรนั้น ท้องฟ้าแจ่มใสทั่วอาณาบริเวณ แต่แปลกที่มีฟ้าร้องเสียงดังมากหลายครั้งตรงหัวศาลาวัดป่าแก้วชุมพล ทั้งที่ไม่มีเค้าว่าฟ้าฝนจะตกเลย เหมือนกับจะเป็นลางของเทวดามาบอกเหตุว่าองค์หลวงปู่จะละสังขารแล้วในเร็ววันนี้

    และเวลา ๑๐.๐๐ น. หลวงปู่อุ่นหล้า องค์ท่านได้พูดกับพระลูกศิษย์ว่า

    “วันนี้เราจะละสังขารแล้วนะ”

    พระลูกศิษย์เมื่อได้ยินถึงกับตกใจจึงรีบกราบเรียนท่านว่า “ยังไงก็ขอนิมนต์หลวงพ่อให้อยู่จนกว่าจะเสร็จพิธีเททองหล่อพระก่อนไม่ได้หรือ” แล้วองค์ท่านก็เงียบไม่พูดอะไร ซึ่งพระทั้งหลายแทบไม่น่าเชื่อว่าท่านจะมรณภาพจริงๆ เพราะอาการอาพาธขององค์ท่านดีขึ้นมาในระดับหนึ่งแล้ว

    อีกเหตุการณ์หนึ่งก่อนที่จะมรณภาพนั้น หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ได้ทำการสั่งกำชับโยมป้าของท่านว่า “ถ้าเราไม่อยู่แล้วขอให้ทุกคนดำเนินการหล่อพระพุทธรูปทองคำให้เรียบร้อยนะ อย่าให้มีอะไรขาดตกบกพร่อง” รวมทั้งมอบหมายงานต่างๆ ในการหล่อพระพุทธรูปทองคำครั้งนี้ ให้กับครูบาอาจารย์ ทั้งพระสงฆ์ แลฆราวาส

    ◎ การมรณภาพ
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านอาพาธมาเป็นระยะเวลาหลายปี และเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร และโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น มาโดยตลอด เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่านออกจากโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น เดินทางกลับวัดป่าแก้วชุมพล เพื่อเตรียมเดินทางไปร่วมพิธีเททองหล่อพระพุทธรูปทองคำ ที่วัดป่าบ้านตาด แต่แล้วองค์หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการอันสงบ ตามกฎแห่งธรรมชาติ เมื่อวันอังคารที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เวลา ๑๕.๒๐ น. ณ กุฏิวัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร สิริรวมอายุได้ ๗๘ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วัน ๕๘ พรรษา

    B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A5-%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3.jpg
    รูปเหมือน หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ณ วัดป่าแก้วชุมพล สกลนคร
    8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99-%E0%B8%88.%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3.jpg
    อัฐิธาตุหลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99-%E0%B8%88.%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3-684x1024.jpg
    เจดีย์ หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    การมรณภาพของหลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ถือเป็นการสูญเสียพระมหาเถระผู้เป็นเสาหลักพระป่ากรรมฐานองค์สำคัญของประเทศไทย นำความอาลัยมาสู่สานุศิษย์ทุกหมู่เหล่า

    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเป็นพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ มีศีลาจาริยวัตรที่งดงาม เป็นพระผู้มักน้อย สันโดษ สมถะ เรียบง่าย มีเมตตาต่อพุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า ท่านปฏิบัติตนให้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะทั้งมวล แล้วท่านนำธรรมมาสอนสาธุชนทั้งหลาย บำเพ็ญประโยชน์ส่วนตน แลสังคมส่วนรวม ด้วยความสมบูรณ์อย่างยิ่ง นอกจากนั้น ท่านยังได้รับสมญานามจากพระป่ากรรมฐานทั้งหลายว่า “เป็นพระที่สวดมนต์ สวดพระปาฎิโมกได้ไพเราะ ถูกต้องตามอักขระฐานกร รายการที่ 711 เหรียญหลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม พระอรหันต์เจ้าวัดป่าเเก้วชุมพล อ.สว่างเเดนดิน จ.สกลนคร หลวงปู่อุ่นหล้าเป็นศิษย์พระหลวงตามหาบัว วัดป่าบ้านตาด เหรียญสร้างปี 2552 เนื้อทองเเดงผิวปรอท ด้านหน้าเหรียญเป็นรูปหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ผู้เป็นญาติเเละอาจารย์คนเเรกที่ชวนท่านมาบวช หายากสร้างน้อยครับ ,มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาด้วยครับ ***********บูชาที่ 285 บาทฟรีส่งems SAM_9034.JPG SAM_9038.JPG SAM_7793.JPG
     
  13. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 712 หรียญหลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม พระอรหันต์เจ้าวัดป่าเเก้วชุมพล อ.สว่างเเดนดิน จ.สกลนคร หลวงปู่อุ่นหล้าเป็นศิษย์พระหลวงตามหาบัว วัดป่าบ้านตาด เหรียญสร้างปี 2552 เนื้อทองเเดงผิวปรอท ด้านหน้าเหรียญเป็นรูปหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ผู้เป็นญาติเเละอาจารย์คนเเรกที่ชวนท่านมาบวช หายากสร้างน้อยครับ ,มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาด้วยครับ **********บูชาที่ 285 บาทฟรีส่งemsประวัติและปฏิปทา
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม

    วัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล
    อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    88-e0-b8-b2-e0-b9-81-e0-b8-81-e0-b9-89-e0-b8-a7-e0-b8-8a-e0-b8-b8-e0-b8-a1-e0-b8-9e-e0-b8-a5-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล
    ◎ ชาตภูมิ
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม พระอริยสงฆ์ผู้ทรงเมตตาธรรม แห่งวัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร ท่านถือกำเนิดเมื่อวันพุธที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๘๒ ตรงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีเถาะ ณ บ้านศรีฐาน ต.กระจาย อ.คำเขื่อนแก้ว จ.อุบลราชธานี (ปัจจุบันเป็นตำบลศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร) โยมบิดาชื่อ บุญหนา โยมมารดาชื่อ บุปผา ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๗ คน เป็นชาย ๓ คน เป็นผู้หญิง ๔ คน ท่านเป็นบุตรคนที่ ๖

    ◎ การศึกษา
    อายุได้ ๗ ปี หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเข้ารับการศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนบ้านศรีฐาน ต.ศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร เรียนอยู่ ๕ ปี เพราะสมัยนั้นมีการเรียนชั้นมูลด้วย จึงจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ครั้นจบแล้วท่านได้ช่วยบิดามารดาทำนาอยู่หนึ่งปี

    b5-e0-b8-a7-e0-b8-b4-e0-b8-95-e0-b8-aa-e0-b8-b2-e0-b8-a1-e0-b9-80-e0-b8-93-e0-b8-a3-713x1024-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม
    การบรรพชาอุปสมบท
    ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๕ อายุ ๑๓ ปี ท่านได้เข้ารับการบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดศรีฐานใน บ.ศรีฐาน ต.ศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร บรรพชาพร้อมกันกับหลวงพ่อคำพอง ปัญญาวุโธ วัดป่านานาชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา ครั้นบรรพชาแล้วได้เรียนนักธรรมอยู่ ๒ ปี และสอบได้นักธรรมชั้นโท จากนั้นเดินทางติดตามหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ซึ่งเป็นหลวงลุงไปอยู่ที่วัดป่าแก้วชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ท่านสอบได้นักธรรรมชั้นเอก ที่สำนักเรียนวัดเจริญสมณกิจ บ.บางงั่ว ต.ตลาดใหญ่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต ซึ่งท่านบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ ๗ ปี ในขณะที่เป็นสามเณรอยู่นั้น ท่านได้อยู่ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล จ.หนองบัวลำภู เป็นต้น

    -e0-b9-89-e0-b8-b2-e0-b8-90-e0-b8-b4-e0-b8-95-e0-b8-98-e0-b8-b1-e0-b8-a1-e0-b9-82-e0-b8-a1-4-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเข้ารับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุในทางพระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๒ ณ วัดศรีมงคลเหนือ ต.มุกดาหาร อ.เมือง จ.มุกดาหาร โดยมีพระมุกดาหารโมลี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์คำ คัมภีรญาโณ วัดศิลาวิเวก เป็นพระกรรมวาจาจารย์ หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พระอุปัชฌาย์ ขนานนามฉายาให้ว่า “ฐิตธัมโม” แปลว่า “ผู้ดำรงอยู่ในธรรม” โดยท่านอุปสมบทพร้อมกันกับหลวงพ่อคำพอง ปัญญาวุโธ วัดป่านานาชาติ รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นทั้งญาติและเพื่อนสนิท ซึ่งหลวงพ่อคำพอง เป็นนาคขวา ท่านเป็นนาคซ้าย

    รับหน้าที่เป็นเจ้าอาวาส
    เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ท่านได้พำนักที่วัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร เป็นการถาวร อยู่ศึกษาปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ผู้มีฐานะเป็นหลวงลุง และเป็นพระอาจารย์ ครั้นหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๓ หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านจึงได้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะจังหวัดสกลนคร (ธรรมยุต) ให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสแทน หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ผู้เป็นบูรพาจารย์ โดยได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๓ จากนั้น ท่านได้นำคณะศิษย์สร้างพิพิธภัณฑ์หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร เพื่อเป็นที่บรรจุอัฐิธาตุ อัฐบริขาร ให้พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้สักการะบูชา

    ◎ กตัญญูต่อพ่อแม่ครูอาจารย์
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเป็นพระอริยสงฆ์ผู้มีเมตตาธรรมต่อสานุศิษย์ทั้งบรรพชิตแลฆราวาส และท่านเป็นกำลังหลักสำคัญในการช่วยชาติไทยองค์หนึ่ง ซึ่งได้ถวายเงินบาทไทย ทองคำ เงินดอลลาร์ เงินตราสกุลต่างประเทศ เป็นจำนวนมากเข้าโครงการช่วยชาติ แด่ องค์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ผู้เป็นบูรพาจารย์ นอกจากนั้น หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านยังเมตตาสงเคราะห์โลก ด้วยการสร้างหอพักสงฆ์อาพาธโรงพยาบาลสว่างแดนดิน มอบรถยนต์ให้กับโรงพยาบาลในเขตจังหวัดสกลนคร มอบเงินเพื่อสร้างอาคารโรงเรียนต่างๆ มอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียน รวมทั้งให้การช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ และศาสนสงเคราะห์ จึงนับได้ว่า หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเป็นพระสงฆ์ผู้ทำคุณประโยชน์แก่พระพุทธศาสนาแลสังคมส่วนรวมมากองค์หนึ่ง

    89-e0-b8-b2-e0-b8-90-e0-b8-b4-e0-b8-95-e0-b8-98-e0-b8-b1-e0-b8-a1-e0-b9-82-e0-b8-a1-e0-b8-a0-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    นอกจากนั้น หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ยังแสดงความกตัญญูต่อองค์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ซึ่งถือเป็นพระบูรพาจารย์ของท่านองค์หนึ่ง ด้วยการถวายเงินสบทบทุนสร้างพิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์พระธรรมวิสุทธิมงคล หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าบ้านตาด ต.บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี, ถวายเงินเพื่อสร้างพิพิธภัณฑ์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน โดย หลวงปู่ลี กุสลธโร ณ วัดป่าบ้านตาด ต.บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี, ถวายเงินสร้างพุทธมหาเจดีย์ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าภูผาแดง ต.หนองอ้อ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี เป็นต้น

    a5-e0-b9-89-e0-b8-b2-e0-b8-90-e0-b8-b4-e0-b8-95-e0-b8-98-e0-b8-b1-e0-b8-a1-e0-b9-82-e0-b8-a1-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    แม้วาระสุดท้ายก่อนละสังขาร หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านมีจิตศรัทธา นำคณะศิษย์หล่อพระพุทธรูปทองคำ น้ำหนัก ๔๒ กิโลกรัม หน้าตัก ๑๒ นิ้ว เพื่อประดิษฐาน ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์พระธรรมวิสุทธิมงคล หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ในวันพุธที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ แต่นับเป็นเรื่องที่น่าเศร้าแก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า ท่านมาละสังขารจากไปก่อนทำพิธีหล่อพระพุทธรูปทองคำสองวัน ซึ่งก่อนละสังขารนั้น เมื่อเช้าวันจันทร์ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ท่านได้มอบหมายงานหล่อพระพุทธรูปทองคำครั้งนี้ ให้หลวงพ่อสุธรรม สุธัมโม วัดป่าหนองไผ่ อ.เมือง จ.สกลนคร เป็นผู้ดำเนินการแทนท่านทั้งหมด เหมือนท่านรู้ล่วงหน้าว่า ท่านจะละขันธ์แล้ว

    ◎ เหตุการณ์สำคัญก่อนมรณภาพ
    เช้าวันอังคารที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ช่วงเช้าก่อนพระสงฆ์ออกรับบิณฑบาตรนั้น ท้องฟ้าแจ่มใสทั่วอาณาบริเวณ แต่แปลกที่มีฟ้าร้องเสียงดังมากหลายครั้งตรงหัวศาลาวัดป่าแก้วชุมพล ทั้งที่ไม่มีเค้าว่าฟ้าฝนจะตกเลย เหมือนกับจะเป็นลางของเทวดามาบอกเหตุว่าองค์หลวงปู่จะละสังขารแล้วในเร็ววันนี้

    และเวลา ๑๐.๐๐ น. หลวงปู่อุ่นหล้า องค์ท่านได้พูดกับพระลูกศิษย์ว่า

    “วันนี้เราจะละสังขารแล้วนะ”

    พระลูกศิษย์เมื่อได้ยินถึงกับตกใจจึงรีบกราบเรียนท่านว่า “ยังไงก็ขอนิมนต์หลวงพ่อให้อยู่จนกว่าจะเสร็จพิธีเททองหล่อพระก่อนไม่ได้หรือ” แล้วองค์ท่านก็เงียบไม่พูดอะไร ซึ่งพระทั้งหลายแทบไม่น่าเชื่อว่าท่านจะมรณภาพจริงๆ เพราะอาการอาพาธขององค์ท่านดีขึ้นมาในระดับหนึ่งแล้ว

    อีกเหตุการณ์หนึ่งก่อนที่จะมรณภาพนั้น หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ได้ทำการสั่งกำชับโยมป้าของท่านว่า “ถ้าเราไม่อยู่แล้วขอให้ทุกคนดำเนินการหล่อพระพุทธรูปทองคำให้เรียบร้อยนะ อย่าให้มีอะไรขาดตกบกพร่อง” รวมทั้งมอบหมายงานต่างๆ ในการหล่อพระพุทธรูปทองคำครั้งนี้ ให้กับครูบาอาจารย์ ทั้งพระสงฆ์ แลฆราวาส

    ◎ การมรณภาพ
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านอาพาธมาเป็นระยะเวลาหลายปี และเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร และโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น มาโดยตลอด เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่านออกจากโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น เดินทางกลับวัดป่าแก้วชุมพล เพื่อเตรียมเดินทางไปร่วมพิธีเททองหล่อพระพุทธรูปทองคำ ที่วัดป่าบ้านตาด แต่แล้วองค์หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการอันสงบ ตามกฎแห่งธรรมชาติ เมื่อวันอังคารที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เวลา ๑๕.๒๐ น. ณ กุฏิวัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร สิริรวมอายุได้ ๗๘ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วัน ๕๘ พรรษา

    8a-e0-b8-b8-e0-b8-a1-e0-b8-9e-e0-b8-a5-e0-b8-aa-e0-b8-81-e0-b8-a5-e0-b8-99-e0-b8-84-e0-b8-a3-jpg.jpg
    รูปเหมือน หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ณ วัดป่าแก้วชุมพล สกลนคร
    99-e0-b8-94-e0-b8-b4-e0-b8-99-e0-b8-88-e0-b8-aa-e0-b8-81-e0-b8-a5-e0-b8-99-e0-b8-84-e0-b8-a3-jpg.jpg
    อัฐิธาตุหลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    94-e0-b8-b4-e0-b8-99-e0-b8-88-e0-b8-aa-e0-b8-81-e0-b8-a5-e0-b8-99-e0-b8-84-e0-b8-a3-684x1024-jpg.jpg
    เจดีย์ หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    การมรณภาพของหลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ถือเป็นการสูญเสียพระมหาเถระผู้เป็นเสาหลักพระป่ากรรมฐานองค์สำคัญของประเทศไทย นำความอาลัยมาสู่สานุศิษย์ทุกหมู่เหล่า

    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเป็นพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ มีศีลาจาริยวัตรที่งดงาม เป็นพระผู้มักน้อย สันโดษ สมถะ เรียบง่าย มีเมตตาต่อพุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า ท่านปฏิบัติตนให้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะทั้งมวล แล้วท่านนำธรรมมาสอนสาธุชนทั้งหลาย บำเพ็ญประโยชน์ส่วนตน แลสังคมส่วนรวม ด้วยความสมบูรณ์อย่างยิ่ง นอกจากนั้น ท่านยังได้รับสมญานามจากพระป่ากรรมฐานทั้งหลายว่า “เป็นพระที่สวดมนต์ สวดพระปาฎิโมกได้ไพเราะ ถูกต้องตามอักขระฐานกร
    อนึ่งที่วัดป่าเเก้วชุมพล จะมีพระเจดีย์ของคุณเเม่ชีเเก้ว เสียงลํ้า,เเละพระเจดีย์ของหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ด้วยครับ เป็นวัดที่หลวงปู่ชาว อนาลโย มาสร้างไว้ครับ คุณเเม่ชีเเก้วเเละหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโรอดีตชาติองค์ท่านเคยเป็นเเม่ลูกกันมาก่อน เเละคุณเเม่ขีเเก้วก็เคยเป็นภรรยาของพระหลวงตามหาบัวมาก่อนเช่นกัน หลวงปู่สิงห์ทองอดีตชาติก็เคยเป็นลูกของพระหลวงตามหาบัวมาก่อนเช่นกัน ชาตินี้จึงทำให้องค์ท่านผูกพันกันครับ มีองค์หลวงู่เพียร วิริโยด้วยเช่นกันก็เคยเป็นลูกของพระหลวงตามาก่อนครับ SAM_9035.JPG SAM_9038.JPG SAM_7793.JPG
     
  14. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 713 หรียญหลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม พระอรหันต์เจ้าวัดป่าเเก้วชุมพล อ.สว่างเเดนดิน จ.สกลนคร หลวงปู่อุ่นหล้าเป็นศิษย์พระหลวงตามหาบัว วัดป่าบ้านตาด เหรียญสร้างปี 2552 เนื้อทองเเดงผิวปรอท ด้านหน้าเหรียญเป็นรูปหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ผู้เป็นญาติเเละอาจารย์คนเเรกที่ชวนท่านมาบวช หายากสร้างน้อยครับ ,มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาด้วยครับ ********* [บูชาที่ 285 บาทฟรีส่งemsประวัติและปฏิปทา
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม

    วัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล
    อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    0-b8-b2-e0-b9-81-e0-b8-81-e0-b9-89-e0-b8-a7-e0-b8-8a-e0-b8-b8-e0-b8-a1-e0-b8-9e-e0-b8-a5-jpg-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล
    ◎ ชาตภูมิ
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม พระอริยสงฆ์ผู้ทรงเมตตาธรรม แห่งวัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร ท่านถือกำเนิดเมื่อวันพุธที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๘๒ ตรงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีเถาะ ณ บ้านศรีฐาน ต.กระจาย อ.คำเขื่อนแก้ว จ.อุบลราชธานี (ปัจจุบันเป็นตำบลศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร) โยมบิดาชื่อ บุญหนา โยมมารดาชื่อ บุปผา ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๗ คน เป็นชาย ๓ คน เป็นผู้หญิง ๔ คน ท่านเป็นบุตรคนที่ ๖

    ◎ การศึกษา
    อายุได้ ๗ ปี หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเข้ารับการศึกษาชั้นประถมที่โรงเรียนบ้านศรีฐาน ต.ศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร เรียนอยู่ ๕ ปี เพราะสมัยนั้นมีการเรียนชั้นมูลด้วย จึงจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ครั้นจบแล้วท่านได้ช่วยบิดามารดาทำนาอยู่หนึ่งปี

    0-b8-a7-e0-b8-b4-e0-b8-95-e0-b8-aa-e0-b8-b2-e0-b8-a1-e0-b9-80-e0-b8-93-e0-b8-a3-713x1024-jpg-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม
    การบรรพชาอุปสมบท
    ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๕ อายุ ๑๓ ปี ท่านได้เข้ารับการบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดศรีฐานใน บ.ศรีฐาน ต.ศรีฐาน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร บรรพชาพร้อมกันกับหลวงพ่อคำพอง ปัญญาวุโธ วัดป่านานาชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา ครั้นบรรพชาแล้วได้เรียนนักธรรมอยู่ ๒ ปี และสอบได้นักธรรมชั้นโท จากนั้นเดินทางติดตามหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ซึ่งเป็นหลวงลุงไปอยู่ที่วัดป่าแก้วชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

    ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ท่านสอบได้นักธรรรมชั้นเอก ที่สำนักเรียนวัดเจริญสมณกิจ บ.บางงั่ว ต.ตลาดใหญ่ อ.เมือง จ.ภูเก็ต ซึ่งท่านบรรพชาเป็นสามเณรอยู่ ๗ ปี ในขณะที่เป็นสามเณรอยู่นั้น ท่านได้อยู่ศึกษาและปฏิบัติธรรมกับหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี หลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล จ.หนองบัวลำภู เป็นต้น

    b9-89-e0-b8-b2-e0-b8-90-e0-b8-b4-e0-b8-95-e0-b8-98-e0-b8-b1-e0-b8-a1-e0-b9-82-e0-b8-a1-4-jpg-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเข้ารับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุในทางพระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๐๒ ณ วัดศรีมงคลเหนือ ต.มุกดาหาร อ.เมือง จ.มุกดาหาร โดยมีพระมุกดาหารโมลี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์คำ คัมภีรญาโณ วัดศิลาวิเวก เป็นพระกรรมวาจาจารย์ หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พระอุปัชฌาย์ ขนานนามฉายาให้ว่า “ฐิตธัมโม” แปลว่า “ผู้ดำรงอยู่ในธรรม” โดยท่านอุปสมบทพร้อมกันกับหลวงพ่อคำพอง ปัญญาวุโธ วัดป่านานาชาติ รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นทั้งญาติและเพื่อนสนิท ซึ่งหลวงพ่อคำพอง เป็นนาคขวา ท่านเป็นนาคซ้าย

    รับหน้าที่เป็นเจ้าอาวาส
    เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ท่านได้พำนักที่วัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร เป็นการถาวร อยู่ศึกษาปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ผู้มีฐานะเป็นหลวงลุง และเป็นพระอาจารย์ ครั้นหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๓ หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านจึงได้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะจังหวัดสกลนคร (ธรรมยุต) ให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสแทน หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ผู้เป็นบูรพาจารย์ โดยได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๓ จากนั้น ท่านได้นำคณะศิษย์สร้างพิพิธภัณฑ์หลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร เพื่อเป็นที่บรรจุอัฐิธาตุ อัฐบริขาร ให้พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้สักการะบูชา

    ◎ กตัญญูต่อพ่อแม่ครูอาจารย์
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเป็นพระอริยสงฆ์ผู้มีเมตตาธรรมต่อสานุศิษย์ทั้งบรรพชิตแลฆราวาส และท่านเป็นกำลังหลักสำคัญในการช่วยชาติไทยองค์หนึ่ง ซึ่งได้ถวายเงินบาทไทย ทองคำ เงินดอลลาร์ เงินตราสกุลต่างประเทศ เป็นจำนวนมากเข้าโครงการช่วยชาติ แด่ องค์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ผู้เป็นบูรพาจารย์ นอกจากนั้น หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านยังเมตตาสงเคราะห์โลก ด้วยการสร้างหอพักสงฆ์อาพาธโรงพยาบาลสว่างแดนดิน มอบรถยนต์ให้กับโรงพยาบาลในเขตจังหวัดสกลนคร มอบเงินเพื่อสร้างอาคารโรงเรียนต่างๆ มอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียน รวมทั้งให้การช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์ และศาสนสงเคราะห์ จึงนับได้ว่า หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเป็นพระสงฆ์ผู้ทำคุณประโยชน์แก่พระพุทธศาสนาแลสังคมส่วนรวมมากองค์หนึ่ง

    0-b8-b2-e0-b8-90-e0-b8-b4-e0-b8-95-e0-b8-98-e0-b8-b1-e0-b8-a1-e0-b9-82-e0-b8-a1-e0-b8-a0-jpg-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    นอกจากนั้น หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ยังแสดงความกตัญญูต่อองค์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ซึ่งถือเป็นพระบูรพาจารย์ของท่านองค์หนึ่ง ด้วยการถวายเงินสบทบทุนสร้างพิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์พระธรรมวิสุทธิมงคล หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าบ้านตาด ต.บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี, ถวายเงินเพื่อสร้างพิพิธภัณฑ์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน โดย หลวงปู่ลี กุสลธโร ณ วัดป่าบ้านตาด ต.บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี, ถวายเงินสร้างพุทธมหาเจดีย์ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ณ วัดป่าภูผาแดง ต.หนองอ้อ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี เป็นต้น

    0-b9-89-e0-b8-b2-e0-b8-90-e0-b8-b4-e0-b8-95-e0-b8-98-e0-b8-b1-e0-b8-a1-e0-b9-82-e0-b8-a1-jpg-jpg.jpg
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    แม้วาระสุดท้ายก่อนละสังขาร หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านมีจิตศรัทธา นำคณะศิษย์หล่อพระพุทธรูปทองคำ น้ำหนัก ๔๒ กิโลกรัม หน้าตัก ๑๒ นิ้ว เพื่อประดิษฐาน ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมเจดีย์พระธรรมวิสุทธิมงคล หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ในวันพุธที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ แต่นับเป็นเรื่องที่น่าเศร้าแก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า ท่านมาละสังขารจากไปก่อนทำพิธีหล่อพระพุทธรูปทองคำสองวัน ซึ่งก่อนละสังขารนั้น เมื่อเช้าวันจันทร์ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ท่านได้มอบหมายงานหล่อพระพุทธรูปทองคำครั้งนี้ ให้หลวงพ่อสุธรรม สุธัมโม วัดป่าหนองไผ่ อ.เมือง จ.สกลนคร เป็นผู้ดำเนินการแทนท่านทั้งหมด เหมือนท่านรู้ล่วงหน้าว่า ท่านจะละขันธ์แล้ว

    ◎ เหตุการณ์สำคัญก่อนมรณภาพ
    เช้าวันอังคารที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ช่วงเช้าก่อนพระสงฆ์ออกรับบิณฑบาตรนั้น ท้องฟ้าแจ่มใสทั่วอาณาบริเวณ แต่แปลกที่มีฟ้าร้องเสียงดังมากหลายครั้งตรงหัวศาลาวัดป่าแก้วชุมพล ทั้งที่ไม่มีเค้าว่าฟ้าฝนจะตกเลย เหมือนกับจะเป็นลางของเทวดามาบอกเหตุว่าองค์หลวงปู่จะละสังขารแล้วในเร็ววันนี้

    และเวลา ๑๐.๐๐ น. หลวงปู่อุ่นหล้า องค์ท่านได้พูดกับพระลูกศิษย์ว่า

    “วันนี้เราจะละสังขารแล้วนะ”

    พระลูกศิษย์เมื่อได้ยินถึงกับตกใจจึงรีบกราบเรียนท่านว่า “ยังไงก็ขอนิมนต์หลวงพ่อให้อยู่จนกว่าจะเสร็จพิธีเททองหล่อพระก่อนไม่ได้หรือ” แล้วองค์ท่านก็เงียบไม่พูดอะไร ซึ่งพระทั้งหลายแทบไม่น่าเชื่อว่าท่านจะมรณภาพจริงๆ เพราะอาการอาพาธขององค์ท่านดีขึ้นมาในระดับหนึ่งแล้ว

    อีกเหตุการณ์หนึ่งก่อนที่จะมรณภาพนั้น หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ได้ทำการสั่งกำชับโยมป้าของท่านว่า “ถ้าเราไม่อยู่แล้วขอให้ทุกคนดำเนินการหล่อพระพุทธรูปทองคำให้เรียบร้อยนะ อย่าให้มีอะไรขาดตกบกพร่อง” รวมทั้งมอบหมายงานต่างๆ ในการหล่อพระพุทธรูปทองคำครั้งนี้ ให้กับครูบาอาจารย์ ทั้งพระสงฆ์ แลฆราวาส

    ◎ การมรณภาพ
    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านอาพาธมาเป็นระยะเวลาหลายปี และเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร และโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น มาโดยตลอด เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่านออกจากโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น เดินทางกลับวัดป่าแก้วชุมพล เพื่อเตรียมเดินทางไปร่วมพิธีเททองหล่อพระพุทธรูปทองคำ ที่วัดป่าบ้านตาด แต่แล้วองค์หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการอันสงบ ตามกฎแห่งธรรมชาติ เมื่อวันอังคารที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เวลา ๑๕.๒๐ น. ณ กุฏิวัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร สิริรวมอายุได้ ๗๘ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วัน ๕๘ พรรษา

    0-b8-b8-e0-b8-a1-e0-b8-9e-e0-b8-a5-e0-b8-aa-e0-b8-81-e0-b8-a5-e0-b8-99-e0-b8-84-e0-b8-a3-jpg-jpg.jpg
    รูปเหมือน หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ณ วัดป่าแก้วชุมพล สกลนคร
    0-b8-94-e0-b8-b4-e0-b8-99-e0-b8-88-e0-b8-aa-e0-b8-81-e0-b8-a5-e0-b8-99-e0-b8-84-e0-b8-a3-jpg-jpg.jpg
    อัฐิธาตุหลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    0-b8-b4-e0-b8-99-e0-b8-88-e0-b8-aa-e0-b8-81-e0-b8-a5-e0-b8-99-e0-b8-84-e0-b8-a3-684x1024-jpg-jpg.jpg
    เจดีย์ หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    การมรณภาพของหลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ถือเป็นการสูญเสียพระมหาเถระผู้เป็นเสาหลักพระป่ากรรมฐานองค์สำคัญของประเทศไทย นำความอาลัยมาสู่สานุศิษย์ทุกหมู่เหล่า

    หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม ท่านเป็นพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ มีศีลาจาริยวัตรที่งดงาม เป็นพระผู้มักน้อย สันโดษ สมถะ เรียบง่าย มีเมตตาต่อพุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า ท่านปฏิบัติตนให้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะทั้งมวล แล้วท่านนำธรรมมาสอนสาธุชนทั้งหลาย บำเพ็ญประโยชน์ส่วนตน แลสังคมส่วนรวม ด้วยความสมบูรณ์อย่างยิ่ง นอกจากนั้น ท่านยังได้รับสมญานามจากพระป่ากรรมฐานทั้งหลายว่า “เป็นพระที่สวดมนต์ สวดพระปาฎิโมกได้ไพเราะ ถูกต้องตามอักขระฐานกร อนึ่งที่วัดป่าเเก้วชุมพล จะมีพระเจดีย์ของคุณเเม่ชีเเก้ว เสียงลํ้า,เเละพระเจดีย์ของหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโร ด้วยครับ เป็นวัดที่หลวงปู่ชาว อนาลโย มาสร้างไว้ครับ คุณเเม่ชีเเก้วเเละหลวงปู่สิงห์ทอง ธัมมวโรอดีตชาติองค์ท่านเคยเป็นเเม่ลูกกันมาก่อน เเละคุณเเม่ขีเเก้วก็เคยเป็นภรรยาของพระหลวงตามหาบัวมาก่อนเช่นกัน หลวงปู่สิงห์ทองอดีตชาติก็เคยเป็นลูกของพระหลวงตามหาบัวมาก่อนเช่นกัน ชาตินี้จึงทำให้องค์ท่านผูกพันกันครับ มีองค์หลวงู่เพียร วิริโยด้วยเช่นกันก็เคยเป็นลูกของพระหลวงตามาก่อนครับ SAM_9037.JPG SAM_9038.JPG SAM_7793.JPG
     
  15. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 714 เหรียญเสมานั่งพานมหาเศรษฐีหลวงปู่ลือ สุขปัญโญ พระอรหันตืเจ้าวัดป่านาาม อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร หลวงปู่ลือเป็นสฺษย์หลวงปู่มั่นยุคกลาง เหรียญสร้างปี 2539 เนื้อทองเเดง มาพร้อมกล่องเดิม ,มีพระเกศาเเละผงอังคารธาตุที่เเปรเป็นเม็ดพระธาตุเเล้วมาบูชาเป็นมงคล ********บูชาที่ 545 บาทฟรีส่งems ประวัติและปฏิปทา
    หลวงปู่ลือ ปุญโญ


    1629-2f36-jpg.jpg

    วัดป่านาทามวนาวาส (วัดป่าภูน้อย)
    บ้านนาทาม ต.ป่าไร่ อ.ดอลตาล จ.มุกดาหาร
    เกิด
    เกิดที่บ้านไร่ ตำบลบ้านไร่ อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เมื่อวันศุกร์ที่ 24 กันยายน 2542 ปีระกา ขึ้น 10 ค่ำ ในตระกูล "ใจทัศน์"
    มรภาพ
    เมื่อวันที่ 16 มี.ค.2540 อายุ 89 ปี
    พระสงฆ์ พระผู้มีบัญญาฤทธิ์และบุญญาธิการสูงองค์หนึ่งในดินแดนที่ราบสูง จังหวัดมุกดาหาร โดยอัตโนประวัติโดยสังเขปของพระอริยสงฆ์รูปหนึ่งที่มีความเพรียบพร้อมทุกอย่าง
    พระสุปฏิปันโนผู้มีศีลจารวัตร ยึดถือปฏิบัติเคร่งครัดมาเป็นเวลานานอย่างเสมอต้นเสมอปลาย ในขณะที่ครองเพศบรรพชิต ซึ่งในทุกวันนี้ยากนักที่จะหาพระผู้มีวัตรปฏิบัติเคร่งครัด
    "หลวงปู่ลือ ปุญโญ" เกิดที่บ้านไร่ ตำบลบ้านไร่ อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร เมื่อวันศุกร์ที่ 24 กันยายน 2542 ปีระกา ขึ้น 10 ค่ำ ในตระกูล "ใจทัศน์" ปัจจุบันท่านอายุ 87 ปี 67 พรรษา โยมบิดาชื่อ จันทร์ โยมมารดาชื่อ พัน ท่านสละเพศฆราวาสเข้าสู่ร่มกาสาวพักตร์เมื่ออายุได้ 18 ปี ได้ร่ำเรียนวิชา สน-มูล-นาม ซึ่งเป็นพื้นฐานของวิชาบาลีไวยากรณ์ในเบื้องต้นจนแตกฉาน พออายุได้ 22 ปี จึงได้เปลี่ยนญัตติเป็นฝ่ายธรรมยุต โดยมีหลวงพ่อดี วัดศิลามงคล จังหวัดมุกดาหาร สอนกรรมฐานให้ท่านเป็นท่านแรก

    หลวงปู่ลือ ท่านมีจิตใจแน่วแน่ที่ไม่สามารถหลอมให้กลายเป็นอย่างอื่นได้ ด้วยความตั้งมั่นของท่านถึงขนาดนั่งภาวนาหันหน้าลงเหว เพื่อฝึกปฏิบัติขัดเกลาจิตใจให้เป็นสมาธิ เป้าหมายคือความหลุดพ้น เป็นที่ตั้งสถานที่วิเวกทุกแห่งที่อาจารย์สายกรรมฐาน ศิษย์หลวงปู่มั่นทุกท่านธุดงค์ไปปักกลดฝึกภาวนา ท่านก็ได้ธุดงค์ไปมาหมดแล้วทุกแห่ง

    ครั้งหนึ่งได้ทราบข่าวว่า หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต เดินธุดงค์มาจำพรรษาที่เกาะแก้ว ใกล้วัดพระธาตุพนม หลวงปู่ลือจึงได้เดินทางไปกราบนมัสการ และขอปวารณาตัวเป็นศิษย์ เพื่อศึกษาแนวธรรมะจากท่าน

    หลวงปู่ลือ ได้ธุดงค์ไปพร้อมกับ หลวงปู่เสาร์ หลวงปู่มั่น และเพื่อสหธรรมิกจำนวนมากมาย เช่น หลวงปู่สิม หลวงปู่ชอบ หลวงปู่ขาว หลวงปู่จาม พระอาจารย์จวน พระอาจารย์ฝั้น อาจารย์ชา หลวงพ่อบุญมา วิเวกไปตามป่าเขาโปรดญาติโยมโดยทั่วแถบภาคอีสานและภาคเหนือ ขณะร่วมธุดงค์เมื่อถึงจุดหมายต่าง ๆ ก็แยกย้ายกันปักกลดฝึกกรรมฐาน พอถึงเวลา 4 โมงเย็นของทุกวันก็จะพร้อมเพรียงกันเพื่อรับฟังโอวาทธรรมจากหลวงปู่มั่น

    ในระหว่างที่ท่านอบรมกรรมฐานท่านมักจะกล่าวยกย่องหลวงปู่ลือเสมอว่าเป็น "พระใจเด็ดใจเพชร" สหธรรมมิกที่ร่วมคณะมาด้วยจึงสมญานามว่า "พระลือโลก…ผีย่าน(ผีกลัว)"

    หลังจากแยกย้ายคณะธุดงค์ หลวงปู่ลือได้ออกธุดงค์ไปตามลำพังเพื่อหาสถานที่วิเวกฝึกกรรมฐานไปจนถึงฝั่งประเทศลาว และแผ่เมตตาแก่ญาติโยมชาวลาว เป็นเวลานาน จึงข้ามมาฝั่งไทย ท่านไปพบทหารกลุ่มหนึ่งกำลังสู้รบกับ ผกค.(ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์) ท่านจึงสละชายจีวรมอบแก่ทหารเหล่านั้น เพื่อปกป้องคุ้มครองผองภัยอันตรายทั้งปวง จนทหารกลุ่มนั้นแคล้วคลาดกลับที่ตั้งโดยปลอดภัยทุกคนชาวบ้านดอนตาลดง ผกค. ในยุคนั้นจึงขนานนามทหารกลุ่มนั้นว่า "ทหารผีสิง" เพราะโดยปกติจะไม่มีใครรอดพ้นดงกับระเบิดและฝ่าแนวกระสุนออกมาได้เลย ทำให้ผู้คนทุกสารทิศที่ได้ยินกิตติศัพท์ หลวงปู่ลือ จึงหลั่งไหลกันไปกราบไหว้นมัสการ

    ปัจจุบันหลวงปู่ลือ ได้ชราภาพมากแล้วจึงได้ปรารภกับลูกศิษย์ว่าต้องการสร้างวิหารเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปและมณฑป ครอบรอยเท้าของท่าน ซึ่งสมัยอดีตชาติของท่านเป็นฤาษีได้เหยียบเอาไว้ในบริเวณวัดป่านาทามวนาวาส เพื่อให้อนุชนได้สักการบูชา

    พระเดชพระคุณหลวงปู่ลือ ปุญโญ วัดป่านาทามวนาวาส บ้านนาทาม ต.ป่าไร่ อ.ดอลตาล จ.มุกดาหาร (ฉายา “ปุญโญ” เริ่มใช้ตั้งแต่ท่านได้ญัตติเป็นธรรมยุตนิกาย คือเป็นพระสายกัมมัฏฐาน ลูกศิษย์ของหลวงปู่เสาร์ กันตสีโลและหลวงปู่มั่น ภูริทัตเถร เป็นต้นมา)

    หลวงปู่เป็นพระอริยสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เป็นผู้ทรงอภิญญาสามารถหยั่งรู้ญาณชั้นสูง เช่น อตีตังสญาณ คือหยั่งรู้เรื่องราวในอดีตของตนเองว่า หลวงปู่เมื่อชาติก่อนท่านเป็นฤาษี บำเพ็ญเพียรอยู่ในถ้ำใต้ชะง่อนผา ซึ่งเป็นที่ตั้งวัดป่านาทามวนาวาสในปัจจุบัน ได้มรณภาพดับขัณฑ์ในถ้ำดังกล่าวปัจจุบันอัฐิธาตุ ของท่านยังอยู่ในถ้ำดังกล่าว และนอกจากนั้นท่านยังหยั่งรู้ อนาคตังสญาณ คือหยั่งรู้เรื่องราวในอนาคตได้ล่วงหน้า ดังเหตุการณ์เครื่องบินโดยสารตก ในเขต อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี เมื่อวันที่ 27 เม.ย.2523 ทำให้ผู้โดยสารตายเกือบหมดทั้งลำ (เหลือบาดเจ็บสาหัสและยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน 2 –3 คน ตามที่ปรากฏเป็นข่าว) ในเครื่องบินดังกล่าวพระกัมมัฏฐานสายหลวงปู่มั่น ได้ร่วมเดินทางไปด้วย 5 องค์ และได้มรณภาพทั้งหมด คือ พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ พระอาจารย์วัน อุตตโม พระอาจารย์สิงห์ทอง ธัมมวโร พระอาจารย์บุญมา ฐิตเปโม และพระอาจารย์สุพัฒน์ สุขกาโม พระอาจารย์ทั้ง 5 องค์ดังกล่าวได้รับนิมนต์ไปร่วมพิธีสำคัญที่วัดมหาธาตุ บางเขน กรุงเทพฯ และเจ้าภาพได้มีการนิมนต์หลวงปู่ลือ ไปร่วมพิธีดังกล่าวด้วยโดยนำตั๋วเครื่องบินไป-กลับ ในเที่ยวดังกล่าวมาถวายหลวงปู่ถึงวัดป่านาทามวนาวาส แต่หลวงปู่ลือไม่รับนิมนต์ เนื่องจากได้นิมิตเห็นไฟไหม้หางของเครื่องบินลำดังกล่าวขณะบินอยู่บนท้องฟ้า ก่อนจะถึงวันเดินทาง 2-3 วัน หลวงปู่เล่าว่าพระอาจารย์ทั้ง 5 องค์ที่มรณภาพครั้งนี้ทุกท่านมีญาณหยั่งรู้ว่าเครื่องบินจะตกและจะดับขัณฑ์ ในครั้งนี้แต่ทุกท่านได้ยินยอมให้เป็นไปตามวิบากกรรม ส่วนหลวงปู่ลือ ท่านยังมีภารกิจที่ต้องโปรดสัตว์ และสืบสานพระศาสนายังไม่สำเร็จตามที่ท่านได้ปวารณาเอาไว้ นอกจากนี้ยังได้รับการเปิดเผยจากพระลูกศิษย์ที่เคยออกร่วมธุดงค์กับหลวงปู่ ว่าในการออกธุดงค์จากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งซึ่งมีระยะทางไกล หลวงปู่สามารถย่นระยะทางได้ และไปถึงที่หมายก่อนคนอื่นหลายครั้ง

    หลวงปู่ลือเคยสร้างวัตถุมงคลของท่านจำนวนไม่มากนัก เพื่อแจกให้ลูกศิษย์นำไปสักการะบูชา เพื่อเป็นสิริมงคล ต่อมาผู้ที่นำวัตถุมงคลของหลวงปู่ติดตัวจำนวนมากได้ประสบการณ์อภินิหารของ วัตถุมงคลหลวงปู่หลายครั้ง โดยเฉพาะด้านแคล้วคลาด มหาอุด คงกระพัน และโชคลาภ จึงมีการกล่าวขานกันมาปากต่อปาก ทำให้วัตถุมงคลหลวงปู่เป็นที่ต้องการและเสาะหาของผู้ที่ได้ทราบข่าวตลอดมา แต่ก็หายาก เนื่องจากผู้ที่มีไว้ไม่ยอมปล่อยต้องการเก็บไว้เป็นมรดกให้ลูกหลานของตน

    วงการเซียนพระเครื่องจึงได้กล่าวขานกันว่า “มีหลวงปู่ลือ ไม่มีตายโหง และไม่มีจน” หนังสือพิมพ์ ข่าวสดรายวัน ฉบับวันที่ 5 มี.ค.2538 ได้รายงานข่าวว่า “รูปเหมือนลอยองค์ขนาดเล็กของหลวงปู่ลือ ยิงไม่ออก” ยิ่งทำให้วัตถุมงคลหลวงปู่เป็นที่เสาะหา และต้องการของบุคคลทั่วไปมากยิ่งขึ้น มีลูกศิษย์ของหลวงปู่ ซึ่งเป็นผู้ช่วยพยาบาลมุกดาหาร เล่าถวายหลวงปู่ต่อหน้าญาติโยมหลายท่าน ขณะหลวงปู่อาพาธที่โรงพยาบาลมุกดาหารว่าแต่ก่อนผู้เล่าแขวนพระเครื่องอื่นๆ มานอนรอเพื่อเข้าเวรดึกที่ห้องพักเจ้าหน้าที่เวร มักจะถูกผีอำบ่อยๆ แต่เมื่อได้แขวนเหรียญรุ่นสร้างโบส์ถของหลวงปู่ลือประจำ ไม่เคยถูกผีอำอีกเลย นอกจากนั้นยังมีประสบการณ์ปาฏิหาริย์จากวัตถุมงคลของหลวงปู่ลืออีกมากมาย...

    หลวงปู่ลือฯ มรภาพเมื่อวันที่ 16 มี.ค.2540 อายุ 89 ปี อัฐิของท่านได้แปรเป็นพระธาตุมีลักษณะหลายวรรณะ เช่น สีแดงทับทิม ออกสีขาวใสๆ ดั่งเพชร สวยงามมาก.. จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่าท่านได้บรรลุธรรมชั้นสูง เป็นพระอริยบุคคล เป็นผู้บริสุทธิ์ ห่างไกลจากกิเลสทั้งปวง เป็นพระผู้เป็นนิรันด์แล้ว SAM_9028.JPG SAM_9029.JPG SAM_9030.JPG SAM_7837.JPG SAM_7839.JPG SAM_8123.JPG
     
  16. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    ายการที่ 716 เหรียญกลมไข่รุ่นเเรกเเละรุ่นเดียวหลวงปู่จันโสม กิตติกาโร วัดป่านาสีดา อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี หลวงปู่จันโสมเป็นศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ยุคสุดท้าย เหรียญสร้างปี 2541 สร้างเนื่ององค์หลวงปู่อายุครบ 77 ปี เนื้อทองเเดงรมนํ้าตาล มีตอกโค๊ตยันต์ หน้าเหรียญ มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคลด้วยครับ >************เหรียญใหม่ไม่เคยใช้>>>>>>>บูชาที่ 305 บาทฟรีส่งems
    ประวัติและปฏิปทา
    หลวงปู่จันทร์โสม กิตฺติกาโร

    1553-90d0-jpg-jpg.jpg
    วัดป่าจันทรังสี (วัดป่านาสีดา)
    ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

    ๏ อัตโนประวัติ

    “หลวงปู่จันทร์โสม กิตฺติกาโร” มีนามเดิมว่า จันทร์โสม ปราบพลพาล เกิดเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พุทธศักราช 2465 ตรงกับวันจันทร์ แรม 3 ค่ำ เดือน 7 ปีจอ ณ ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี โยมบิดา-โยมมารดาชื่อ นายกรม และนางอาน ปราบพลพาล ครอบครัวประกอบอาชีพทำนาทำไร่ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด 6 คน ท่านเป็นบุตรคนที่ 5 มีชื่อตามลำดับดังนี้

    1. นางบุญชม ใจหาญ
    2. ด.ญ.คำ ปราบพลพาล (เสียชีวิตตั้งแต่เด็ก)
    3. ด.ญ.อ่ำ ปราบพลพาล (เสียชีวิตตั้งแต่เด็ก)
    4. ด.ญ.ไอ่ ปราบพลพาล (เสียชีวิตตั้งแต่เด็ก)
    5. หลวงปู่จันทร์โสม กิตฺติกาโร
    6. นายกองแก้ว ปราบพลพาล

    ณ บ้านนาสีดา ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี มีวัดป่าวัดหนึ่งตั้งอยู่กลางทุ่งกว้าง ซึ่งแต่ก่อนเคยเป็นป่าไม้ตะเคียนหนาทึบ บัดนี้ป่าไม้ได้หายไปแล้วหลังจากสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) ตัดถนนเข้าไป กลายเป็นหมู่บ้านชาวไร่ชาวนา วัดนี้ชื่อ “วัดป่าจันทรังสี” วัดสาขาของวัดหินหมากเป้ง ต.พระพุทธบาท อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย ของพระราชนิโรธรังสีคัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ (หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี) อดีตสมภารเจ้าวัด คือ “หลวงปู่จันทร์โสม กิตฺติกาโร” พระเถระสายวิปัสสนากรรมฐานศิษย์ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

    หลวง ปู่จันทร์โสม กิตฺติกาโร ท่านเป็นมิ่งขวัญร่มโพธิ์ร่มไทรของชาวบ้าน คณะศรัทธาญาติโยม และคณะสงฆ์อรัญวาสี โดยเป็นพระวิปัสสนาจารย์รูปที่ 3 แห่งภาคอีสานตอนเหนือ รองจาก ท่านเจ้าคุณพระธรรมไตรโลกาจารย์ (รักษ์ เรวโต) แห่งวัดศรีเมือง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.หนองคาย และ พระสุธรรมคณาจารย์ (หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ) แห่งวัดอรัญญบรรพต ต.บ้านหม้อ อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
    ๏ ชีวิตในวัยเด็ก
    วัย เด็กคลุกคลีอยู่กับวัด เพราะโยมบิดาเป็นมัคนายกวัดบ้านนาสีดา อายุ 10 ขวบ ก็เข้ารับการศึกษาประชาบาลที่วัดบ้านกลางใหญ่ ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ระยะแรกที่เรียนหนังสือนั้นต้องไปๆ มาๆ ระหว่างวัดกับบ้าน ผลที่สุดได้ไปอยู่วัดเป็นประจำ จนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เมื่ออายุ 14 ปี หลังจากออกจากโรงเรียนแล้วก็ได้กลับมาอยู่บ้าน ด้วยเหตุที่วัดไม่มีพระอยู่ประจำ ต่อเมื่อมีพระเณร โดยเฉพาะพระกรรมฐานเดินธุดงค์มาพัก ก็จะเข้าไปปฏิบัติรับใช้ท่านอยู่ที่วัดเป็นประจำ จนกว่าจะออกเดินทางหาวิเวกไปที่อื่นต่อไป

    พออายุ 15 ปี ได้ไปอยู่กับท่านพระอาจารย์เกตุ ขนฺติโก พระพี่ชายของหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ซึ่งบวชจำพรรษาอยู่ที่วัดป่าสระวารี อ.บ้านผือ และได้รับการสอนให้เขียนหนังสือขอม

    เมื่ออายุได้ 16 ปี ใน พ.ศ.2481 ได้ย้ายไปอยู่ที่ถ้ำพระนาผักหอก อ.บ้านผือ กับท่านพระอาจารย์วารี เรี่ยวแรง (ขณะนั้นได้บวชเป็นพระภิกษุแล้ว) ท่านพระอาจารย์วารี มีแต่พระอยู่ไม่มีเณรรับใช้ จึงจำเป็นต้องไปอยู่รับใช้จนตลอด 3 เดือนจึงได้กลับบ้าน กระทั่งปี พ.ศ.2482

    1554-d786-jpg-jpg.jpg
    ๏ การอุปสมบท
    จาก นั้นอายุ 17 ปี โยมบิดาเสียชีวิตลงไม่มีใครช่วยทำนาทำไร่ มีแต่โยมมารดา พี่สาว และพี่เขยเท่านั้น หลวงปู่จันทร์โสมจึงจำเป็นต้องอยู่บ้านช่วยพี่สาวและพี่เขยทำนาทำไร่เลี้ยง ครอบครัว เพราะน้องชายก็ยังเป็นเด็กเล็กทำงานอะไรไม่ได้ ในสมัยที่โยมบิดายังมีชีวิตอยู่ การทำนาก็ยังต้องอาศัยการจ้างแรงงานช่วยทำทุกปีกว่าจะแล้วเสร็จ ท่านจึงได้ช่วยครอบครัวทำนาอยู่จนอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ และได้พิจารณาถึงความศรัทธาที่มีอยู่ในพระพุทธศาสนา กับระลึกถึงกุศลเจตนาของโยมบิดา จึงได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดอรัญญวาสี ต.ท่าบ่อ อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย เมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ.2485 เวลา 15.23 นาฬิกา

    โดยมี ท่านเจ้าคุณพระธรรมไตรโลกาจารย์ (รักษ์ เรวโต) วัดศรีเมือง จ.หนองคาย เมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์ที่ พระครูวิชัยสังฆกิจ เป็นพระอุปัชฌาย์ และ พระราชนิโรธรังสีคัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ (หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี) วัดหินหมากเป้ง จ.หนองคาย เป็นพระกรรมวาจาจารย์ (ซึ่งหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ท่านมีศักดิ์เป็นพี่ชายโยมมารดาของหลวงปู่จันทร์โสม) ท่านได้รับนามฉายาว่า “กิตฺติกาโร” สังกัดธรรมยุตติกนิกาย
    ๏ ลำดับการจำพรรษา

    หลัง จากพรรษาแรกผ่านพ้น ท่านออกวิเวกไปในสถานที่ต่างๆ อาทิ บ้านน้ำอ้อม อ.วังสะพุง จ.เลย และวัดหนองขาม อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ ก่อนที่จะกลับมาเกณฑ์ทหารในปี พ.ศ.2486 ในปีนั้น ท่านได้พำนักจำพรรษาที่วัดอรัญญวาสี จ.หนองคาย เข้าเรียนนักธรรมชั้นตรี ปรากฏว่าสอบได้ ทางการจึงยกเว้นไม่ต้องไปเป็นทหาร ต่อมาท่านจึงไปพำนักกับท่านพระอาจารย์เกตุ ขนฺติโก ที่วัดป่าช้าบ้านสว่าง

    ปี พ.ศ.2487 กลับมาจำพรรษาที่วัดอรัญญวาสี เรียนนักธรรมชั้นโท ออกพรรษาสอบได้แล้วก็ออกรุกขมูลมาตามริมแม่น้ำโขง บุกป่าผ่าดงมาจนถึงวัดพระพุทธบาทคอแก้ง (เวินกุ่ม) ก่อนจะกลับไปบ้านนาสีดาในปี พ.ศ.2488

    ปี พ.ศ.2498 จำพรรษาที่วัดศรีชมชื่น (วัดป่านาสีดา) เดินทางไปกราบนมัสการหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ที่วัดอรัญญวาสี จ.หนองคาย และได้รับการฝากให้เป็นศิษย์รับใช้หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต อยู่ปฏิบัติอาจริยวัตรกับหลวงปู่มั่น เป็นเวลา 2 พรรษา คือ ปี พ.ศ.2490-2491 ก็กราบลาไปเที่ยววิเวกที่บ้านห้วยหวายกับ หลวงปู่อุ่น ชาคโร

    ปี พ.ศ.2492 กลับมาอยู่กับหลวงปู่เทสก์ และช่วยงานถวายเพลิงศพหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต จนเสร็จสิ้น ก็เที่ยววิเวกไปกับ หลวงปู่หล้า เขมปัตโต แห่งวัดบรรพตคีรี (วัดภูจ้อก้อ) อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร และหลวงปู่อรุณ อุตฺตโม แห่งวัดพระบาทนาสิงห์ อ.โพนพิสัย จ.หนองคาย ต่อมาได้ติดตามหลวงปู่เทสก์ไปเผยแผ่ธรรมที่ภาคใต้ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2495-2499 และกลับมาอยู่วัดศรีชมชื่น ถึงปี พ.ศ.2514 ย้ายออกมาอยู่บริเวณป่าช้าดงบ้านเลา ซึ่งเป็นสถานที่กว้างขวางร่มรื่นเงียบสงบ ก่อสร้างกุฏิ เสนาสนะต่างๆ โดยลำดับ โดยตั้งชื่อสถานที่นี้ว่า “วัดป่านาสีดา” และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2531
    ๏ การเผยแผ่พระธรรมและกรรมฐานที่ภูเก็ต

    หลวงปู่จันทร์โสม กิตฺติกาโร ท่านมีศักดิ์เป็นหลานลุงแท้ๆ ของ หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี จึงได้รับการอบรมบ่มสอนมาตั้งแต่เด็ก แม้บวชเรียนแล้วก็อยู่ในสายตา คอยแนะนำทางที่ถูกให้ประพฤติปฏิบัติไม่เคยทอดทิ้ง จนกระทั่งตัวท่านละสังขารจากไป เหตุการณ์สำคัญในชีวิตก็คือ การไปใช้ชีวิตกับหลวงปู่เทสก์นานถึง 8 ปี ในการเผยแผ่พระธรรมและกรรมฐานที่จังหวัดภูเก็ต สมัยนั้น “พระป่า” ยังไม่แพร่หลาย จึงเกิดปัญหาขัดแย้งจนถึงขับไล่ไสส่งกัน แต่คณะของหลวงปู่เทสก์ก็ต่อสู้แก้ไขจนสถานการณ์ลุล่วงไปด้วยดี

    นอกจากนี้ จากการได้อยู่ปรนนิบัติหลวงปู่มั่นอย่างใกล้ชิดถึง 2 ปี จึงได้รับ “ของดี” มาอย่างเต็มๆ ทั้งข้อวัตรปฏิบัติ การสำรวมกาย วาจา ใจ ปฏิปทาและหลักธรรมนานาของพระอาจารย์ใหญ่ ซึบซาบเข้าในสายเลือด สมัยนั้นการเข้าไปขอสมัครเป็นศิษย์หลวงปู่มั่นไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องผ่านการกลั่นกรองเป็นขั้นเป็นตอน พระเณรที่ขาดการสำรวมทำอะไรไม่ถูกต้อง จะโดนดุว่าตรงๆ แรงๆ เป็นการถากถางกิเลส คนจิตไม่แกร่ง ไม่ทน จึงพากันถอย สำหรับหลวงปู่จันทร์โสม ท่านสอบผ่านโดยง่ายดาย เพราะอุปนิสัยเป็นคนที่มีความอดทนสูงมาแต่เยาว์วัย


    ๏ หลักปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ภัย

    ท่าน จึงเป็นพระผู้ใหญ่ ที่ชาวบ้านชาวเมืองกราบไหว้ยกย่องนับถือในวัตรปฏิบัติและปฏิปทา รวมทั้งการเทศนาสอนธรรมกรรมฐานแก่ญาติโยม ท่านบริหารวัดตามแนวของหลวงปู่เทสก์ ด้วยการสร้างศรัทธาปสาทะให้ญาติโยมรอบวัดเลื่อมใสก่อน ส่วนการปฏิบัติธรรมได้ยึดตามแนวหลวงปู่มั่น เทศนาหรือบทธรรมของท่าน ส่วนใหญ่จะเน้นในเรื่องหลักปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ภัยในชีวิตประจำวันของ ผู้คน อาทิ

    “คนทุกคนสามารถสร้างคุณ งามความดีได้ทุกคน แต่ที่เขาไม่อยากทำ เพราะเชื่อบ้าง ไม่เชื่อบ้าง อย่าว่าแต่ฆราวาสเลย พระที่บวชในพุทธศาสนา ถ้าเชื่อจริงๆ จังๆ แล้ว ทำอะไรก็ได้ผล เชื่อบ้างไม่เชื่อบ้าง เรียกว่า สงสัยลังเล ก็เลยเดินไม่ถูก ไม่ว่าสมัยใด ทำเมื่อไหร่ได้เมื่อนั้น”

    ใครก็ตามที่ต้องการปฏิบัติให้จิตสงบ ท่านให้คำแนะนำง่ายๆ ว่า

    “ให้ เลือกยึดอนุสติ 10 มาเป็นหลักพิจารณาเพียงหนึ่งอย่าง โดยเลือกให้ถูกกับอุปนิสัยของตนเอง และเลือกข้อที่นำมาปฏิบัติแล้ว เกิดความสลดสังเวช เกิดความเบื่อหน่ายเพื่อที่จะแก้ไขตัวเองได้ ลูกศิษย์ลูกหาที่ได้รับโอสถธรรมจากท่าน สามารถหลุดพ้นจากกองทุกข์ได้มากมาย”

    “เมื่อคนเราเกิดมามีวาสนาไม่เหมือนกัน วาสนาที่ว่าก็เกิดจากบุญกุศลที่เราได้ทำกันมา คนที่ยากจนในชาตินี้ก็เพราะชาติที่แล้วทำบุญมาน้อย ลงทุนน้อย พอเกิดมาชาตินี้ทุนก็เลยน้อยตามมา แต่ถ้าใครยากจนในชาตินี้ก็ต้องลงทุน ตั้งใจทำงานอย่างทุ่มเทให้มากโดยไม่ไปโกงใคร ในวันหนึ่งก็จะรวยได้เอง”

    ใน วัย 80 ปี หลวงปู่จันทร์โสม ผิวพรรณวรรณะท่านยังผ่องใส สุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมกับเป็นพระปฏิบัติ และไม่เคยละเว้นการสอนศีลสอนภาวนาแก่ญาติโยมที่สนใจ โดยจะย้ำถึงอานิสงส์แห่งการภาวนาอยู่เสมอ

    “การ ภาวนา นอกจากให้ผลทางจิตใจแล้ว ความเอ็นดู เมตตาสงสารคนอื่นก็เกิดขึ้น ที่เราโกรธเกลียดพยาบาทก็หายไป เห็นโทษก็สงสารเขา มีธรรมะในใจ ความอิจฉาพยาบาทเบียดเบียนก็ไม่เกิดขึ้น อยู่หมู่คณะใดก็ไม่เกิดขึ้น”

    “ขอ อย่าประมาท อย่าละทิ้งการภาวนา ทำเป็นไม่เป็นก็ช่างเถอะ ขอให้ได้ทำอย่างเดียว นานๆ เข้าก็ติดจิตไปด้วย สะสมวันละนิด งานก็ใหญ่ขึ้น ทำให้จิตใจเราสบายเป็นอานิสงส์ จิตใจสบาย มันก็คลุกคลีทุกสิ่งทุกอย่าง มันเดือดร้อน เราภาวนาก็ทำให้จิตใจเย็น” ฯลฯ

    ผู้อยากพบแสงสว่างทางใจ หมั่นภาวนาตามมรรคาที่ท่านวางไว้โดยพลัน !!

    1556-49b8-jpg-jpg.jpg
    ๏ การมรณภาพ

    สัจธรรม แห่งชีวิต เกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่มีใครหนีได้พ้น หลวงปู่จันทร์โสม ในวัยชราเริ่มอาการเจ็บป่วยเข้ามาแผ้วพาน วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549 ที่ผ่านมา หลวงปู่จันทร์โสม ได้มีอาการปวดท้องเจ็บหน้าอก คณะศิษยานุศิษย์ได้รีบนำตัวส่งเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช

    กระทั่ง เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2549 หลวงปู่มีอาการกำเริบหนักขึ้น ปวดท้องแน่นหน้าอก หายใจไม่ค่อยสะดวก คณะแพทย์ได้รีบช่วยกันปั๊มหัวใจรักษาอาการอย่างสุดความสามารถ แต่ไม่สามารถยื้ออาการไว้ได้

    ในที่สุด หลวงปู่จันทร์โสม ได้ละสังขารอย่างสงบด้วยโรคหัวใจล้มเหลว สิริรวมอายุ 84 พรรษา 63 ท่ามกลางความเศร้าสลดของบรรดาคณะศิษยานุศิษย์ และคณะสงฆ์ เป็นยิ่งนัก


    ๏ งานพระราชทานเพลิงศพ

    สมเด็จ พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฏราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ พร้อมด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฏราชกุมาร และพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ ไปในงานพระราชทานเพลิงศพ หลวงปู่จันทร์โสม กิตฺติกาโร อดีตเจ้าอาวาสวัดป่านาสีดา ณ เมรุชั่วคราววัดป่านาสีดา ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี วันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2550 เวลา 17.00 นาฬิกา SAM_9048.JPG SAM_9049.JPG SAM_7605.JPG



    1555-e736-jpg-jpg.jpg
     
  17. Higtmax

    Higtmax เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    2,324
    ค่าพลัง:
    +4,774
    บูชาครับ
     
  18. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 717 ล็อกเก็ตรูปไข่ฉากฟ้าขาว+เหรียญเสมารุ่นมหาเศรษฐีหลวงปู่ท่อน ญาณธโร พระอรหันต์เจ้าวัดศรีอภัยวัน อ.เมือง จ.ขอนเเก่น หลวงปู่ท่อนเป็นศิษย์รุ่นใหญ่หลวงปู่คำดี ปภาโส วัดถํ้าผาปู่ ล็อกเก็ตสร้างปี 2553ส่วนเสมาเหรียญสร้างปี 2553 เนื้อทองเเดงผิวไฟ มีตอกโค๊ต 2 โค๊ต โค๊ตเลข 9 เเละโค๊ตยันต์ประจำตัวองค์หลวงปู่ หน้าเหรียญมีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคล ***********บูชาที่ 385 บาทฟรีส่งems
    พระราชญาณวิสุทธิโสภณ (ท่อน ญาณธโร)
    พระราชญาณวิสุทธิโสภณ
    (ท่อน ญาณธโร)

    200px-Por_ton.jpg
    เกิด 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2471
    มรณภาพ เสาร์ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2561 เวลา 16.46 น.
    อายุ 89
    อุปสมบท 7 มิถุนายน พ.ศ. 2491
    พรรษา 69
    วัด วัดศรีอภัยวัน
    จังหวัด เลย
    สังกัด ธรรมยุติกนิกาย
    วุฒิ นักธรรมชั้นเอก
    ตำแหน่ง อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีอภัยวัน (จ.เลย) อดีตเจ้าคณะจังหวัดเลยธรรมยุต
    25px-Dharma_wheel.svg.png ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา
    พระราชญาณวิสุทธิโสภณ
    หรือ หลวงปู่ท่อน ญาณธโร เป็นพระราชาคณะชั้นราช ฝ่ายวิปัสสนาธุระ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เจ้าอาวาสวัดศรีอภัยวัน ตำบลนาอ้อ อำเภอเมืองเลย

    ประวัติ[แก้]
    ชาติกำเนิด[แก้]
    หลวงปู่ท่อน ญาณธโร ชื่อเดิมว่า ท่อน ประเสริฐพงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2471 ณ บ้านหินขาว ต.สาวะถี อำเภอเมืองขอนแก่น ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีมะโรง บิดา-มารดาชื่อ นายแจ่ม และนางทา ประเสริฐพงศ์ มีพี่น้องร่วมกันทั้งหมด 19 คน ท่านบุตรคนที่ 6

    การอุปสมบทและศึกษาธรรม[แก้]
    หลวงปู่ท่อน อุปสมบทมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2491 ณ วัดศรีจันทร์ อ.เมือง จ.ขอนแก่น โดยมีพระเทพบัณฑิต (มหาอินทร์ ถิรเสวี สินโพธิ์ ป.ธ.5) เมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์ที่พระพิศาลสารคุณ วัดศรีจันทร์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูคัมภีรนิเทศเป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระมหาสุพจน์ อุตฺตโม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ภายหลังการบวช ท่านได้เดินทางมาศึกษาวิปัสสนากรรมฐานกับหลวงปู่คำดี ปภาโส ณ วัดป่าชัยวัน โดยหลวงปู่คำดีเป็นอาจารย์กัมมัฏฐาน คอยสอนให้ทำภาวนา นั่งสมาธิกัมมัฏฐาน เน้นเรื่องสติ สมาธิ และปัญญา ระยะเวลาผ่านไปนานพอสมควร ท่านได้ช่วยครูบาอาจารย์แบ่งเบาภาระในการสอนคนที่จะมาบวช ด้วยการสอนขานนาค เป็นต้น ครั้นถึงช่วงออกพรรษา ได้เป็นหัวหน้าออกเดินธุดงค์เข้าป่าเป็นกิจวัตรและได้ช่วยหลวงปู่คำดีสร้างวัดถ้ำผาปู่ จวบจนหลวงปู่คำดีมรณภาพ

    ครั้งหนึ่งท่านได้มีโอกาสพบหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต บูรพาจารย์สายพระป่า และได้รับโอวาทอันทรงคุณค่าอย่างหาที่เปรียบมิได้จากหลวงปู่มั่น “ให้เร่งทำความเพียร มิให้ประมาท ชีวิตนี้อยู่ได้ไม่นานก็ต้องตาย” หลวงปู่ท่อน ยังได้มีโอกาสไปกราบเยี่ยมครูบาอาจารย์หลายท่าน อาทิ หลวงปู่ชอบ ฐานสโม, หลวงปู่หลุย จันทสาโร, หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี, หลวงพ่อมหาปิ่น ชลิโต เป็นต้น

    300px-Porton2.jpg
    กุฎิที่พักรักษาอาการอาพาธและรับญาติโยมของ แก้][/paste:font]
    • พ.ศ. 2503 เป็นเจ้าอาวาสวัดวัดศรีอภัยวัน
    • พ.ศ. 2510 เป็นเจ้าคณะตำบลเมือง เขต 2 (ธรรมยุต)
    • พ.ศ. 2526 เป็นเจ้าคณะอำเภอเชียงคาน-ภูเรือ (ธรรมยุต)
    • พ.ศ. 2532 เป็นเจ้าคณะอำเภอเชียงคาน-ปากชม (ธรรมยุต)
    • พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าคณะจังหวัดเลย (ธรรมยุต)
    • พ.ศ. 2555 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดเลย (ธรรมยุต)
    สมณศักดิ์[แก้]
    • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2514 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นตรีที่ พระครูญาณธราภิรัต[1]
    • 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535 เลื่อนเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระญาณทีปาจารย์[2]
    • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เลื่อนเป็นพระราชาคณะชั้นราช ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่ พระราชญาณวิสุทธิโสภณ วิมลศาสนกิจ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[3]
    ปัจฉิมวัย[แก้]
    หลวงปู่ท่อน ญาณธโร ท่านพักรักษาอาการอาพาธอยู่ที่ วัดป่ามณีกาญจน์ ต.ศาลากลาง อ.บางกรวย นนทบุรี

    มรณภาพ[แก้]
    หลวงปู่ท่อน ญาณธโร ได้ละสังขารเข้าอนุปาิเสสนิพพานอย่างสงบ ในวันเสาร์ที่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๑ เวลา ๑๖.๔๖ น. ณ โรงพยาบาลวิชัยยุทธ กรุงเทพฯ

    sam_5671-jpg-jpg-jpg-jpg-jpg.jpg sam_6260-jpg-jpg-jpg-jpg-jpg.jpg sam_6259-jpg-jpg-jpg-jpg-jpg.jpg SAM_9040.JPG SAM_9041.JPG sam_1986-jpg-jpg-jpg-jpg-jpg.jpg
     
  19. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    # เรียนเพื่อนสมาชิกทราบ ผมไม่สบายหลายวันครับ ไปฉีดวัดซีนเเล้วเป็นไข้เลย หมดเเรงเลยครับ เกือบตาย เพราะมีโรคประจำคือเบาหวาน สำหรับสมาชิกที่โอนมาเเล้วพรุ่งนี้จัดส่งวัตถุมงคลให้ครับ ต้องขออภัยเป็นอย่างสูงครับ
     
  20. Somchai 2510

    Somchai 2510 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2019
    โพสต์:
    1,740
    ค่าพลัง:
    +125
    รายการที่ 718 เหรียญหลวงปู่สมภาร ปัญญาวุโธ พระอรหันต์เจ้าวัดป่าพัฒนาวิเวก อ.พรเจริญ จ.บึงกาฬ หลวงปู่สมภารเป็นศิษย์รุ่นสุดท้ายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ที่ยังทรงธาตุทรงขันต์อยู่ปัจจุบันนี้ครับ (องค์ท่านรุ่นเดียวกับหลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป พระใหม่ไม่เคยใช้ สร้างปี 2553 เนื้อทองเเดงรมดำ,มีตอกโค๊ต รูปพระพุทธรูปหลังเหรียญ มีพระเกศาหลวงปู่มาบูชาเป็นมงคลด้วยครับ *************(หายากครับ หลวงปู่สร้างวัตถุมงคลน้อยครับ)**********บูชาที่ 285 บาทฟรีส่งems
    เนื้อนาบุญโดยแท้! อายุครบ93ปี ยังนั่งสมาธิทุกวัน เปิดประวัติ "หลวงปู่สมภาร ปัญญาวโร" จริยวัตรงดงามสมเป็น "อริยเจ้าแห่งบึงกาฬ"

    เนื้อนาบุญโดยแท้! อายุครบ93ปี ยังนั่งสมาธิทุกวัน เปิดประวัติ "หลวงปู่สมภาร ปัญญาวโร" จริยวัตรงดงามสมเป็น "อริยเจ้าแห่งบึงกาฬ"
    130802-1-1-jpg-jpg-jpg.jpg
    เมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคมเป็นวันคล้ายวันเกิดของหลวงปู่สมภาร ปัญญาวโร เจริญอายุวัฒนมงคลครบ ๙๓ ปี ลูกหลานขออาราธนาอำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย ขอให้หลวงปู่สมภาร มีธาตุขันธ์แข็งแรง อยู่สืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้สืบนานเท่านนานด้วยเทอญ ธรรมอันใดที่องค์หลวงปู่สมภารได้รู้แจ้งเห็นจริงแล้ว ลูกหลานขออนุโมทนาบุญธรรมส่วนนั้นและขอมีส่วนแห่งธรรมนั้นด้วยเทอญ
    130802-1-2-jpg-jpg-jpg.jpg


    130802-2-1-jpg-jpg-jpg.jpg
    หลวงปู่สมภาร ท่านมีนามเดิม สมภาร อุนาพรหม บิดาชื่อ นายลี มารดาชื่อ นางปุ อุนาพรหม เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๖๗ ตรงกับวันขึ้น ๓ ค่ำ ปีชวด ณ ต.ชมภูพรอ.บึงกาฬ จ.หนองคาย การศึกษา ประถมปีที่ ๔ ท่านอุปสมบทเมื่อวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๘ อายุได้ ๒๑ ปี วัดไชยมงคล ต.โพนสูง อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร พระอุปัชฌาย์ฮวด พระกรรมวาจารย์พระมหาสิริ ชื่อ พระสมภาร ฉายา ปัญญาวโร สังกัดนิกายธรรมยุต
    ภายหลังเข้าสู่ร่มเงาผ้ากาสาวพัสตร์ท่าน สามารถสอบได้นักธรรมชั้นเอกในเวลานั้น หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระอาจารย์ใหญ่สายวิปัสสนากัมมัฏฐาน พระมหาสมภารรับทราบกิตติศัพท์ มีความเลื่อมใสศรัทธาในวัตรปฏิบัติของหลวงปู่มั่น ท่านจึงเดินทางไปจำพรรษาที่วัดบ้านหนองผือ จ.สกลนคร ฝึกฝนวิปัสสนากัมมัฏฐานปฏิบัติธรรมอยู่กับหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ท่านได้ไปๆ มารับฟังธรรมจากหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต อยู่ ๖ ปี หลังจากหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ละสังขารแล้วท่านจึงเดินทางสู่แดนใต้ ปี พ.ศ.๒๔๙๓ ได้เดินร่วมกองทัพธรรมสู่แดนใต้ นำโดย หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี แม่ทัพธรรม และท่านได้จำวัดที่ วัดเกาะลอย อ.เมือง จ.พังงา เคยจำพรรษากับหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท ที่จันทบุรี ,อ.แกลง ระยอง ปี พ.ศ.๒๕๐๗ จำพรรษาอยู่ที่วัดป่าวิเวกพัฒนาราม อ.พรเจริญ จ.บึงกาฬ คณะสงฆ์พิจารณาเห็นว่าเป็นผู้มีความพร้อมทั้งคุณวุฒิและวัยวุฒิ จึงแต่งตั้งให้ท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าวิเวกพัฒนาราม


    130802-3-1-jpg-jpg-jpg.jpg


    สิ้น "หลวงปู่สมภาร" เกจิสายธรรมหลวงปู่มั่นแห่งบึงกาฬ สิริอายุ 96 ปี

    20 มิ.ย. 2564 14:19 น.
    Dtbezn3nNUxytg04agFYZzU4os5zVLjZe0LOB1310I7TXe.jpg

    ต่อมาหลวงปู่มั่นละสังขาร ด้วยความที่เป็นพระหนุ่มไฟแรง หลวงปู่สมภารจึงเข้าร่วมกองทัพธรรมกับคณะหลวงปู่เทสก์ วัดหินหมากเป้ง จ.หนองคาย ออกธุดงค์วัตรลงไปเผยแผ่ธรรมะที่ภาคใต้ และจำพรรษาปฏิบัติธรรมวนเวียนอยู่วัดแถบภาคใต้นานหลายพรรษา หลังจากหลวงปู่สมภารธุดงค์ไปตามป่าเขาภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศนานเกือบ 20 ปี ในปี พ.ศ.2507 จึงเดินทางกลับอีสานบ้านเกิด จำพรรษาอยู่วัดป่าวิเวกพัฒนาราม อ.พรเจริญ จ.บึงกาฬ

    คณะสงฆ์พิจารณาเห็นว่าเป็นผู้มีความพร้อมทั้งคุณวุฒิและวัยวุฒิ จึงแต่งตั้งให้ท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าวิเวกพัฒนาราม ซึ่งหลวงปู่ได้จำพรรษาปฏิบัติศาสนกิจอยู่ที่วัดแห่งนี้ตราบจนปัจจุบัน ตลอดเวลาที่หลวงปู่สมภารจำพรรษาที่วัดป่าวิเวกพัฒนารามแห่งนี้ได้ร่วมกับญาติโยมพัฒนาวัดป่าวิเวกพัฒนารามในทุกด้านอย่างเต็มที่ ถาวรวัตถุจะสร้างเท่าที่จำเป็นต่อการใช้ปฏิบัติศาสนกิจเท่านั้น

    Dtbezn3nNUxytg04agFYZzU4os5zVLjZvdIC5kQWdQpo8z.jpg
    หลวงปู่สมภาร ท่านมีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัยเป็นอย่างยิ่ง ท่านกำหนดกฎระเบียบเข้มไว้ไม่ให้ภายในวัดมีเครื่องอำนวยความสะดวกมากเกินความจำเป็น เพราะเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติธรรม ด้วยความที่เป็นพระสายป่า ท่านมีจิตใจชมชอบธรรมชาติป่าไม้ ปรับปรุงภายในบริเวณวัดให้มีความร่มรื่นสวยงาม ทำให้ทั่วบริเวณวัดมีแต่ความสงบวิเวก เหมาะสำหรับการปฏิบัติธรรมยิ่งนัก ในแต่ละปีวัดจะมีกิจกรรมร่วมกับญาติโยม ปลูกป่าและรักษาป่าติดต่อกันมา

    หลวงปู่สมภาร เริ่มมีชื่อเสียงอยู่ในศรัทธาของญาติโยมชาว จ.บึงกาฬ และพื้นที่ใกล้เคียงอย่างรวดเร็ว ในแต่ละวันมีญาติโยมจากทั่วสารทิศเดินทางมากราบนมัสการรับฟังธรรมจากหลวงปู่อย่างล้นหลาม ธรรมะที่ท่านสั่งสอนญาติโยมจะเน้นไม่ให้ตั้งอยู่ในความประมาท

    Dtbezn3nNUxytg04agFYZzU4os5zVLjZkm9GarsPEFzOjQ.jpg
    หลวงปู่สมภาร ท่านมีอุปนิสัยเยือกเย็นสุขุมรอบคอบ แม้ท่านจะมีอายุมากถึง 96 ปี แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติศาสนกิจ ท่านยังรับกิจนิมนต์ และนั่งสมาธิทุกวัน รวมทั้งคอยรับแขกญาติโยม แม้บางครั้งท่านจะไม่ค่อยสบาย แต่หาปริปากบ่นไม่ ยังคงรักษาศรัทธาของญาติโยมมิเสื่อมคลาย

    หลวงปู่สมภาร ท่านเริ่มมีชื่อเสียงอยู่ในศรัทธาของญาติโยมชาว จ.บึงกาฬ และพื้นที่ใกล้เคียงอย่างรวดเร็ว ธรรมะที่ท่านสั่งสอนญาติโยม จะเน้นไม่ให้ตั้งอยู่ในความประมาท ท่านมีอุปนิสัยเยือกเย็นสุขุมรอบคอบ แม้ท่านจะมีอายุมากถึง ๙๓ ปี แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติศาสนกิจ ท่านยังรับกิจนิมนต์ และนั่งสมาธิทุกวัน รวมทั้งคอยรับแขกญาติโยม แม้บางครั้งท่านจะไม่ค่อยสบาย แต่หาปริปากบ่นไม่ ยังคงรักษาศรัทธาของญาติโยมมิเสื่อมคลาย

    พ.ศ.๒๕๒๐ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นตรีที่ พระครูปัญญาวรากร
    พ.ศ.๒๕๒๕ ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นโท ในราชทิน นามเดิม
    พ.ศ.๒๕๔๔ ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นพิเศษ ในราชทินนามเดิม รวมทั้งได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอพรเจริญ
    วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๐ มาจำพรรษาที่ วัดฐิติธรรมาราม ต.โคกสี อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    หลวงปู่สมภาร ปัญญาวโร ท่านเป็นเพชรเม็ดงามของพุทธศาสนิกชนชาว จ.บึงกาฬ โดยแท้

    sam_8770-jpg.jpg sam_8771-jpg.jpg sam_8108-jpg.jpg
    130802-3-2-jpg-jpg-jpg.jpg
     

แชร์หน้านี้

Loading...