พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    คราวนี้แม้ใครก็ไม่ได้ลอกหรอกครับ เพราะผมจะไม่ตอบแล้ว ผมกลัวตอบแล้วผิดน่ะ มันเสียฟอร์มเหมือนกันนะ อะอะอะ:z3
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2008
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    <TABLE class=tborder id=post1417175 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"><!-- status icon and date -->[​IMG] เมื่อวานนี้, 08:38 AM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#19771 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>nanodent<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1417175", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งล่าสุด: เมื่อวานนี้ 05:57 PM
    วันที่สมัคร: Jun 2008
    ข้อความ: 128
    ได้ให้อนุโมทนา: 166
    ได้รับอนุโมทนา 732 ครั้ง ใน 117 โพส
    <IF condition="">
    </IF>พลังการให้คะแนน: 14 [​IMG]



    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1417175 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ขอแก้ตัวอีกครั้งครับปิดตาองค์ซ้าย(ขาว)ปลอมองค์ขวา(เหลือง)แท้ ส่วนพิมพ์พระคะแนนมีแท้องค์เดียวคือองค์แรก(สีแดง)ครับ...

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    มาเฉลยดีกว่า ...

    พระปิดตาปุ้มปุ้ย ๒ องค์นี้
    [​IMG][​IMG]
    องค์แท้คือองค์ขาวซ้ายมือ องค์เก๊คือองค์ขวาสีน้ำตาล ราคาองค์ละ ๓ บาท

    พระสมเด็จหลังเบี้ย ๓ องค์นี้

    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]

    องค์แรกรักแดงเก๊สนิทครับ ราคาองค์ละ ๓ บาท

    องค์ที่ ๒ รักดำแท้ครับ เป็นองค์เดียวกับที่นายทหารนอกราชการผู้หนึ่งที่อยู่ย่านพุทธมณฑลสาย ๕ ให้บูชาองค์ละ ๕,๐๐๐ บาท

    องค์ที่ ๓ รักน้ำเงินก็แท้ครับ

    เป็นยังไงครับ นี่ขนาดแฟนพระวังหน้า ยังทายไม่ถูกเลยครับ สลับกันไปหมดองค์ว่าไม่แท้ องค์ไม่แท้กลับว่าแท้ แบบนี้นับประสาอะไรกับคุณๆที่กล่าวว่าพระวังหน้าที่เห็นๆมา และเข้าใจว่าเป็นพระมือผีทั้งหมด ยังย้ำคำเดิมครับ หากสนใจจริงๆ ก็ต้องเร่งศึกษาให้รู้ความจริง อย่าให้เขาหลอกเราได้ ยังมีสิ่งที่คนเหล่านั้นยังไม่เคยรู้ ยังไม่เคยเห็นอีกมาย แล้วคิดว่าความรู้ของตัวเองนั้นบรรลุแล้ว มีหลายเรื่องน้ำท่วมปากจริงๆ ต้องยอมให้กล่าวหาทั้งๆที่ไม่มีมูลความจริง จะพาไปดูก็เกรงว่าจิตเขาผู้นั้นหากเกิดความโลภขึ้นมา ปากที่เคยพร่ำว่ามือผีๆๆ จะกลับคำพูดกันไปหมด ไปทุ่มเทเงินทองกว้านเก็บไปหมดทุกอย่าง แบบนี้พระท่านถึงบังตา บังใจ บังปากให้เห็นแท้เป็นเก๊ เห็นเก๊เป็นเก๊ไงละเพื่อนๆ ผู้ศรัทธา และผู้มีปัญญาพิจารณาจึงได้ของแท้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2008
  3. ตั้งจิต

    ตั้งจิต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,574
    ค่าพลัง:
    +5,485
    อื้อฮือ คุณเพชรครับอย่างที่คุณเพชรว่าเลยครับ ผมลองเดาในใจ กลับตาลปัตรหมดเลย ดีนะเนี่ย ที่สุขุมนุ่มลึก รักษาฟอร์มไว้ได้
     
  4. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ท่านใดไปหาพระวังหน้า แบบไม่มีความรู้ ประสบการณ์ ไม่มีครูบาอาจารย์ช่วยตรวจทั้งทางรูป และทางนามให้ ก็อย่าวางใจไปซื้อมาลองเอง แล้ว เที่ยวไปถามคนอื่นว่า แท้ไม่แท้ หากมั่นใจว่าแท้คือแท้ ไม่แท้คือไม่แท้ ไม่ใช่ไปถามเอาจากผู้ไม่นิยมพระวังหน้าให้เขาลองภูมิเล่นๆ ตอบไม่ได้อึ๊กอั่กๆๆให้น่ารำคาญใจอยู่นั่น รู้ให้จริงเถอะ อย่าด่วนไปส่อง ซื้อพระก่อนเลย มาเรียนรู้จากกระทู้ไปก่อน พระยังไม่ต้องไปทำบุญ หรือบูชามาด้วยซ้ำไป อ่านไปเรื่อยๆจนจบจะเข้าถึงเอง...
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    กว่าจะมาเจอกับครูบาอาจารย์ที่รู้จริงๆ
    กว่าจะรู้ในองค์ความรู้ต่างๆมาถึงวันนี้ ก็หลายปี
    กว่าจะรู้เรื่องต่างๆก็เสียเงินเป็นหลักแสนบาท

    .
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948

    อ้าว งั้นก็แย่สิ
    คิด(เข้าข้างตัวเอง)ว่าที่เห็นนั้นแท้หมด แต่ลืมนึกไปว่า มีของแท้ ก็ต้องมีของเทียมเลียนแบบ

    .
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ครั้งต่อไปหากยังมีรายการปรามาส ผมก็จะนำข้อความเดิมๆมา post ซ้ำอีก เพราะถือว่า รายการปรามาสนั้นก็แบบเดิมๆ ดังนั้นคำตอบก็แบบเดิมๆ ไม่ต้องไปรับข้อมูลใหม่หรอก แบบเดิมๆก็เพียงพอแล้วครับ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2008
  9. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    เครื่องเบญรงค์ โดย นายสินชัย กระบวนแสง

    เครื่องเบญจรงค์ เป็นเครื่องปั้นเคลือบที่เขียนลายโดยวิธีลงยา (enamel) เป็นงานที่เกิดขึ้นในประเทศจีน เมื่อปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ในรัชสมัยจักรพรรดิซวนเต๊อะ (Ha&uuml;an t&egrave; ครองราชย์ พ.ศ. ๑๙๖๙-๑๙๗๘) ราชวงศ์หมิง มีการผลิตครั้งแรกในแคว้นกังไซ มณฑลเจียงซี (ที่ไทยเรียกว่ากังไส) และพัฒนาต่อมาจนเป็นที่นิยมอย่างมากในรัชสมัยจักรพรรดิเฉิงฮั่ว (Ch&ecirc;ng Huaครองราชย์ พ.ศ. ๒๐๐๘-๒๐๓๐) การเขียนลายโดยวิธีลงยาดังกล่าว ใช้สีตั้งแต่ ๓ สีขึ้นไป มีชื่อเรียกในภาษาจีนต่างๆ กัน ส่วนที่เรียกว่า เบญจรงค์ เป็นการเรียกตามแบบไทย ในความหมายตามคำเรียกหมายถึง การเขียนลวดลายลงบนงานที่ผลิตด้วยสี ๕ สี โดยทั่วไปเป็นสีดำ สีขาว สีเหลือง สีแดง และสีเขียว (หรือสีคราม) ในรัชสมัยจักรพรรดิวั่นลี่ (Wan-li ครองราชย์ พ.ศ. ๒๑๑๖-๒๑๖๒) มีการผลิตเครื่องเคลือบแบบเบญจรงค์มากที่สุด การผลิตทำติดต่อมาถึงสมัยราชวงศ์ชิง(ปกครองประเทศจีนระหว่าง พ.ศ. ๒๑๘๗-๒๔๕๔)

    ความสวยงามของเครื่องเคลือบเบญจรงค์ทำให้เป็นที่ต้องการของคนไทย จึงมีผู้สั่งทำเครื่องเคลือบชนิดนี้จากจีน โดยกำหนดรูปภาชนะเป็นแบบไทย เขียนลายเป็นตัวอย่างลงบนภาชนะแบบต่างๆ ส่งเป็นตัวอย่างให้ช่างจีนเขียนลวดลายกำหนดสีตามความนิยมของคนไทยเครื่องเคลือบเบญจรงค์ที่ทำจากจีน จึงให้ความรู้สึกในความเป็นของไทย ยิ่งกว่าเครื่องเคลือบจีนชนิดอื่นๆ แต่ช่างจีนซึ่งไม่คุ้นเคยกับลวดลายแบบไทย การเขียนจึงไม่เป็นไปตามแบบที่ต้องการแม้กระนั้นก็ยังเป็นที่นิยมของคนไทยในสมัยนั้น

    เครื่องเบญจรงค์ชนิดที่มีความละเอียด มีความประณีตในการผลิต น่าจะสั่งเข้ามาเพื่อใช้ในราชสำนัก หรือเจ้านายข้าราชการชั้นสูง มักผลิตจากแหล่งจิ่งเต๋อเจิ้น ใกล้เมืองหลวงจีนเนื่องจากเป็นแหล่งผลิตที่มีชื่อเสียงและมีฝีมือดีส่วนชนิดที่รองลงมา มักสั่งทำจากแหล่งผลิตในมณฑลฝูเจี้ยนและมณฑลกวางตุ้ง

    เป็นที่คาดกันว่าในช่วงที่เครื่องเคลือบแบบเบญจรงค์ เป็นที่นิยมกันในสมัยอยุธยานั้น ไทยน่าจะสั่งเครื่องเคลือบ โดยให้เคลือบรองพื้นเป็นสีขาวสีเดียว เพื่อให้ช่างไทยเขียนลวดลายตามต้องการ แล้วส่งกลับไปให้ช่างจีนตกแต่งลงยาแล้วเผาอีกครั้งหนึ่ง วิธีนี้น่าจะทำเฉพาะงานที่ต้องใช้ในราชสำนักหรือเจ้านาย หรือผู้มีสถานภาพสูงทางสังคมเท่านั้น

    เครื่องเบญจรงค์อีกชนิดหนึ่งคือ เบญจรงค์พื้นดำ เริ่มทำขึ้นครั้งแรกในประเทศจีนในรัชสมัยจักรพรรดิคังซี (K'ang Hsi ครองราชย์ พ.ศ. ๒๒๐๕-๒๒๖๕) ราชวงศ์ชิง เครื่องเบญจรงค์พื้นดำ ไทยสั่งทำตามรูปแบบและลวดลายที่เคยผลิตแต่เดิมจากจีนเช่นเดียวกัน และได้รับความนิยมแพร่หลายมาก รวมทั้งเครื่องเบญจรงค์พื้นสีนวลคล้ายสีครีม ซึ่งเริ่มทำครั้งแรก ในรัชสมัยจักรพรรดิยงเจิ้ง (Yung Cheng ครองราชย์ พ.ศ. ๒๒๖๖-๒๒๗๘) ก็ได้รับความนิยม และสั่งให้ผลิตตามแบบและลวดลายไทยเข้ามาใช้ด้วย
    http://guru.sanook.com/search/เครื่องเบญรงค์

    http://www.wangdermpalace.com/exhibition/bencharong/index_thai.html<TABLE class=brown_text_normal cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=265><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top align=left width=385> เบญจรงค์

    เบญจรงค์ เป็นชื่อเรียกเครื่องถ้วยชนิดหนึ่งที่มีใช้ในประเทศไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์ประมาณรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เบญจรงค์เป็นเครื่องถ้วยที่สั่งทำเป็นพิเศษจาก ประเทศจีน โดยช่างไทย เป็นผู้ออกแบบให้ลาย ให้สี ตามรูปแบบของศิลปะไทย ส่งไปให้ช่างจีนผลิตใน ประเทศจีนและช่างไทย ตามไปควบคุมการผลิตด้วยจึงเป็นถ้วยชามที่มีรูปลักษณะแบบไทยโดยเฉพาะลวดลายสีสันแสดงเอกลักษณ์ของไทยอย่างชัดเจน

    "เบญจรงค์" แปลว่า ห้าสี ชามเบญจรงค์จึงหมายถึง ชามที่เขียนสีห้าสี แต่ที่ปรากฎใช้สอย มีสีตั้งแต่ 3 สี ขึ้นไปจนถึง 8 สี สีหลักได้แก่ แดง เหลือง ขาว ดำ เขียว หรือน้ำเงิน และสีอื่นๆ ได้แก่ ม่วง แสด น้ำตาล ฯลฯ


    </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=193 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top align=left>ลายน้ำทอง

    "ลายน้ำทอง" จัดเป็นเครื่องถ้วยประเภทเดียวกับเครื่องถ้วยเบญจรงค์ แต่มีการเพิ่มสีทอง หรือแต้มสีทอง ระหว่างสีเบญจรงค์ หรือเขียนเส้นตัดสีทอง เริ่มมีใช้มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 แต่ได้รับความนิยมมากในสมัยรัชกาลที่ 2

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.wangdermpalace.com/exhibition/bencharong/index_thai.html


    <TABLE class=brown_text_normal cellSpacing=0 cellPadding=0 width=570 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=240><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=159 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top align=left>สมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2210 - 2310)
    ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ลวดลายของเครื่องถ้วยเบญจรงค์ที่เป็นที่นิยม กัน ได้แก่ ลายเทพนม-นรสิงห์ หรือเทพนม-ครุฑ เขียนบนพื้นดำ แทรก ด้วยลายกนกเปลว ลวดลายอื่นที่พบได้แก่ ราชสีห์ กินรี ฯลฯ ด้านในของ เครื่องถ้วยเคลือบสีเขียว ส่วนรูปแบบได้แก่ จาน ชามฝา และโถทรงสูง เป็นต้น
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=brown_text_normal cellSpacing=0 cellPadding=0 width=570 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=242><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=149 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD vAlign=top align=left width=377>สมัยธนบุรี (พ.ศ. 2310 - 2325)

    ในสมัยนี้ได้มีการสั่งผลิตเครื่องถ้วยเบญจรงค์จากประเทศจีน โดยใช้ ของสมัยอยุธยาเป็นต้นแบบ เครื่องถ้วยสมัยธนบุรี จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "เครื่องถ้วยเลียนแบบสมัยอยุธยา" แต่ในการผลิตไม่มีช่างของไทยไปควบคุม เนื่องจากบ้านเมือง อยู่ในภาวะสงครามเกือบตลอดเวลา รูปแบบและลวดลาย จึงดูค่อนไปทางแบบจีน และการเคลือบด้านในเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีขาว

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE class=normaltext cellSpacing=0 cellPadding=0 width=630 border=0><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2>สมัยรัตนโกสินทร์

    รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) พ.ศ. 2325 - 2352

    เครื่องถ้วยในสมัยนี้ มีลวดลายหลากหลายและมีสีสันสวยงามกว่าสมัยอยุธยา ลวดลายที่พบได้แก่ลายดอกไม้ ก้านต่อดอก และพุ่มข้าวบิณฑ์ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีการเพิ่มสีทองในการตกแต่งลวดลาย สำหรับลวดลายที่เป็นที่นิยมกันในสมัยอยุธยา ซึ่งได้แก่ เทพนม-นรสิงห์ เทพนม-ครุฑ ไม่เป็นที่นิยมในสมัยนี้


    </TD></TR><TR vAlign=top align=middle><TD><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=117 border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width=113>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 1
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์ลายประจำยาม

    </TD><TD><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=133 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 1
    เครื่องถ้วยลายน้ำทองลายก้านต่อดอก
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>

    รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) พ.ศ. 2352 - 2367

    สมัยนี้เป็นสมัยที่เครื่องถ้วยเฟื่องฟูที่สุด ทั้งเบญจรงค์และลายน้ำทอง เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระศรี สุริเยนทราบรมราชินี ทรงสนพระทัยในเครื่องถ้วย ได้ทรงคิดรูปแบบและลวดลายด้วยพระองค์เอง แล้วส่งไปผลิตในประเทศจีน พร้อมช่าง ศิลป์ไทย ลวดลายที่เป็นที่นิยมได้แก่ ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายนกไม้ ลายก้านแย่ง ลายก้านต่อดอก และลายกุหลาบน้ำทอง สำหรับลายครุฑยุดนาค ถือเป็นลายประจำพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย


    </TD></TR><TR vAlign=top align=middle><TD vAlign=top align=middle>
    <TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=160 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 2
    เครื่องถ้วยลายน้ำทองลายกุหลาบ
    </TD><TD vAlign=center>
    <TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=166 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 2
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์ลายก้านขด
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2>


    รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) พ.ศ. 2367 - 2394

    ในรัชกาลนี้ ยังมีการสั่งเครื่องเบญจรงค์และลายน้ำทองจากประเทศจีน เครื่องถ้วยบางชิ้น มีเครื่องหมายอยู่ที่ก้นชามทำให้ทราบว่าเป็น ของที่สั่งมาในสมัยรัชกาลที่ 3 ลวดลายที่นิยมกัน ก็คล้ายๆ กับในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย แต่ไม่งดงามเท่า เนื่องจาก แหล่งเตาเผาในประเทศจีนเสื่อมโทรม สำหรับสีพื้นของเครื่องถ้วยนิยมใช้เป็นสีขาว


    </TD></TR><TR vAlign=top align=middle><TD vAlign=top><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=107 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 3
    เครื่องถ้วยลายน้ำทองเขียนลายในช่องกระจก

    </TD><TD><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=166 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 3
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์เขียนลายครุฑบนพื้นขาว
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2>

    รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) พ.ศ. 2394 - 2411

    ในสมัยนี้เครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทอง ได้รับความนิยมน้อยลง เนื่องจากมีการนำเข้า เครื่องถ้วยและเครื่องแก้วจากประเทศทางยุโรป นอกจากนั้นยังนิยมสั่งเครื่องลายครามแบบจีน รวมทั้งเครื่องลายครามที่เขียนลายไทยจากประเทศจีนด้วย



    </TD></TR><TR vAlign=top align=middle><TD>
    <TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=168 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 4
    เครื่องถ้วยลายครามลายนกไม้นำเข้าจากประเทศจีน

    </TD><TD>
    <TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=163 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 4
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์ลายดอกไม้
    วาดลวดลายและเคลือบทับบนชามลายคราม
    ที่นำเข้าจากประเทศจีน
    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2>


    รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พ.ศ. 2411 - 2453

    เป็นยุคสุดท้ายของเครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทอง เป็นสมัยที่นิยมเครื่องถ้วยที่สั่งเข้าจากประเทศทางยุโรป จีน และญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังมีการสั่งชามขาวเข้ามาเขียนลายเอง โดยเผาที่เตาเผาของกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ส่วนลายที่นิยมเขียนมักเป็นเรื่องราวตามวรรณคดี ไทย พระอภัยมณี มัจฉาณุ อุณรุท เป็นต้น


    </TD></TR><TR vAlign=top align=middle><TD><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=165 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 5
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์ลายเทวดา
    ผลิตในประเทศญี่ปุ่น
    </TD><TD><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=163 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 5
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์ลายเทพนม-นรสิงห์
    ส่วนฝามีรูปกระต่าย ผลิตในประเทศจีน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    <TABLE class=normaltext cellSpacing=0 cellPadding=0 width=630 border=0><TBODY><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2>รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) พ.ศ. 2394 - 2411

    ในสมัยนี้เครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทอง ได้รับความนิยมน้อยลง เนื่องจากมีการนำเข้า เครื่องถ้วยและเครื่องแก้วจากประเทศทางยุโรป นอกจากนั้นยังนิยมสั่งเครื่องลายครามแบบจีน รวมทั้งเครื่องลายครามที่เขียนลายไทยจากประเทศจีนด้วย





    </TD></TR><TR vAlign=top align=middle><TD>
    <TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=168 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 4
    เครื่องถ้วยลายครามลายนกไม้นำเข้าจากประเทศจีน



    </TD><TD>
    <TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=163 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 4
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์ลายดอกไม้
    วาดลวดลายและเคลือบทับบนชามลายคราม
    ที่นำเข้าจากประเทศจีน

    </TD></TR><TR vAlign=top align=left><TD colSpan=2>

    รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) พ.ศ. 2411 - 2453

    เป็นยุคสุดท้ายของเครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทอง เป็นสมัยที่นิยมเครื่องถ้วยที่สั่งเข้าจากประเทศทางยุโรป จีน และญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังมีการสั่งชามขาวเข้ามาเขียนลายเอง โดยเผาที่เตาเผาของกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ ส่วนลายที่นิยมเขียนมักเป็นเรื่องราวตามวรรณคดี ไทย พระอภัยมณี มัจฉาณุ อุณรุท เป็นต้น





    </TD></TR><TR vAlign=top align=middle><TD><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=165 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 5
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์ลายเทวดา
    ผลิตในประเทศญี่ปุ่น

    </TD><TD><TABLE borderColor=#660000 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=163 border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    สมัยรัชกาลที่ 5
    เครื่องถ้วยเบญจรงค์ลายเทพนม-นรสิงห์
    ส่วนฝามีรูปกระต่าย ผลิตในประเทศจีน

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    จากข้อมูลนี้ เราพอจะหาความนิยมของพระสมเด็จปัญจสิริได้บ้าง

    พระสมเด็จปัญจสิริ ที่สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๖ ไม่เป็นที่นิยม สังเกตุจากการที่พระพิมพ์มีเพียง ๓ สี คือสีชมพู ขาว น้ำเงิน เป็นสีธงชาติไทย และจากนโยบายชาตินิยมสมัยนั้น

    พระสมเด็จปัญจสิริ ที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ น่าจะต้องแบ่งเป็น ๓ ช่วง คือช่วงก่อนปี พ.ศ. ๒๔๑๕ ช่วงระหว่างปีพ.ศ. ๒๕๑๕(หลังจากสมเด็จโตสิ้นไปแล้ว)ถึงปีพ.ศ. ๒๔๒๘ และช่วงสุดท้ายคือช่วงปีพ.ศ. ๒๔๒๘(ภายหลังกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญทิวงคตแล้ว)ถึงปีพ.ศ. ๒๔๕๓

    สีของพระปัญจสิริยุคแรกธรรมชาติของสีจะไม่ชัดเจนแบ่งเป็นสีๆแถบใหญ่ๆให้เห็นชัดเจน คราบความเก่าต่างๆก็ฟ้อง

    หากมีโอกาสได้เห็นพระสมเด็จพระปัญจสิริยุคแรกๆ และได้ฟังคำชี้แนะเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์พระพิมพ์ของอาจารย์ปู่ประถม อาจสาครมาก่อน จุดนี้ถือเป็นศาสตร์ และศิลป์ในเวลาเดียวกัน เห็นองค์ยุคแรกของอาจารย์ปู่ประถมเพียงครั้งเดียวจะบอกความแตกต่างของพระปัญจสิริได้ และถือว่าเป็นสุดยอดของความรู้ในเรื่องศิลปการใช้พระเครื่องครับ ซึ่งความรู้ที่อาจารย์ปู่ได้เมตตาเล่าให้ฟังนั้นได้เคยบอกเล่าให้เพื่อนๆที่ติดตามกระทู้นี้มาไม่น้อยกว่า ๓ เที่ยวแล้วครับ หากสนใจก็ลองค้นหาเอานะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2008
  11. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    คนอื่นอาจจะไม่ได้คลั่งไคล้พระปัญจสิริแบบผม ซึ่งมองกันว่าเป็นพระลิเก พระสายรุ้ง พระเบญจรงค์ อันนี้ไม่ว่ากัน แล้วแต่ความชอบ และความเข้าใจ ศาสตร์ชั้นสูงแบบนี้คนไทยไม่รู้เรื่อง แต่คนต่างชาติกลับเข้าใจกันดี ใช้ประกอบกับความเข้าใจในศาสตร์การบำบัดเรียกว่า colour healing หนังสือ text book ที่มีจำหน่ายใน Asia Book หรือ Kinokuniya หากได้ศึกษาจึงจะเข้าใจในความลึกซึ้งของศาสตร์นี้ เพราะจะเชื่อมโยงไปในเรื่องของสีแห่งจักรา ๗ จุดในร่างกายเรานั่นเอง.....

    อีกทั้งนำมาผสมโหราศาสตร์ในเรื่องมหาทักษายุคศาสตร์ และความรู้ในเรื่องของธาตุซึ่งเป็นความรู้ของจีน ก็อาจจะไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับผู้ที่ไม่เข้าใจ ไม่แปลกครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010022.JPG
      P1010022.JPG
      ขนาดไฟล์:
      218.2 KB
      เปิดดู:
      43
    • P1010023.JPG
      P1010023.JPG
      ขนาดไฟล์:
      346.8 KB
      เปิดดู:
      55
    • P1010025.JPG
      P1010025.JPG
      ขนาดไฟล์:
      300.7 KB
      เปิดดู:
      49
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2008
  12. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    คลั่งไคล้เหมือนกันครับ แต่รุ่นแรกนี่หายากจริงๆครับ ....
     
  13. เชน

    เชน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    268
    ค่าพลัง:
    +1,037
    เบญจรงค์รุ่นแรกเป็นยังไงขอรับ ขอชมเพื่อเป็นบุญตาบ้างเผื่อเจอจะได้ดูออกครับ ชอบเหมือนกันครับ
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมมีอยู่ 2 องค์ครับ เป็นพระสมเด็จธรรมดา(สี่เหลี่ยม) 1 องค์ และพระสมเด็จคะแนน (ขอบด้านบนโค้ง) 1 องค์ครับ

    พยายามควานหาอยู่เหมือนกัน เผื่อฟลุ๊คเจอ แต่ควานเท่าไหร่ยังไม่เจออีกเลย ผู้ที่มีบางครั้งก็ไม่ทราบเหมือนกันว่า เป็นพระปัญจสิริรุ่นแรกครับ
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    จริงๆดูไม่ยาก สำหรับพระสมเด็จ เนื้อปัญจสิริ หากว่าได้เห็นองค์จริงๆ(ยิ่งถ้าผ่านตามาหลายองค์มากก็ยิ่งดี)แล้ว ของเทียมเลียนแบบยังทำได้ไม่ถึงฝีมือช่างหลวง
    แต่เรื่องการดูอย่างไร คงบอกไปไม่ได้ เนื่องจากเป็นดาบสองคม เกรงว่าข้อมูลที่ออกไป จะไปถึงกลุ่มคนที่ไม่หวังดีครับ

    .
     
  17. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    55555เหมือนรู้เลยครับ วันก่อนมีน้องท่านหนึ่งนำมาให้ชมผมบอก นี่มันรุ่นแรกนี่ เค้าก็บอกไม่ทราบครับ 5555ไม่น่าบอกเลยน่าจาบี้ไปเลยว่าองค์นี้พี่ขอ หุ หุ หุ
     
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    เรื่องสมเด็จปัญจสิริ รุ่นแรกๆ หายากมาก ของเก๊ทำไม่เหมือนครับ และอธิบายยาก ต่างจากที่เคยเห็นที่เขาเอามาวางขายกันเกร่ออย่างสิ้นเชิงเลยครับ ผมคิดว่าน่าจะอยู่เมืองนอกเยอะพอสมควร
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>กองทุนเปิด VS กองทุนปิด
    http://www.manager.co.th/MutualFund/ViewNews.aspx?NewsID=9510000094308
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>11 สิงหาคม 2551 10:05 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=250 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=250>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> “แล้วกองทุนเปิดกับกองทุนปิดมันแตกต่างกันยังไงครับ?”ลูกค้ารายใหม่ตั้งคำถาม หลังจากฟังต้นกล้าอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับกองทุนรวมไปบ้างแล้ว

    กองทุนปิดมักจะเป็นกองทุนรวมที่กำหนดอายุโครงการที่แน่นอนไว้ และจะเปิดเสนอขายหน่วยลงทุนเพียงครั้งเดียว โดยบริษัทจัดการจะไม่รับซื้อคืนหน่วยลงทุนจนกว่าจะครบอายุโครงการ...ซึ่งกองทุนปิดส่วนใหญ่ ผู้ลงทุนจะรู้ผลตอบแทนล่วงหน้าว่าหลังจากถือไปจบครบอายุแล้ว จะได้ผลตอบแทนเท่าไหร่ แต่ก็ต้องขึ้นอยู่กับนโยบายการลงทุนของกองทุนนั้นด้วยนะครับ เพราะตามหลักเกณฑ์กองทุนที่จะสามารถโฆษณาผลตอบแทนได้ จะต้องลงทุนในสินทรัพย์ที่ระบุผลตอบแทนชัดเจน เช่น กองทุนหนึ่งลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 ปี โดยพันธบัตรดังกล่าวระบุดอกเบี้ยหน้าตั๋วเอาไว้ที่ 3.5% ดังนั้น หลังจากหักค่าบริหารจัดการแล้ว บริษัทจัดการก็สามารถบอกผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนจะได้รับหลังจากครบอายุการลงทุนแล้ว”

    ต้นกล้าอธิบายต่อว่า “กองทุนปิดอีกประเภท หลังจากเปิดเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรกแล้ว บริษัทจัดการอาจแต่งตั้งบริษัทเสนอซื้อเสนอขายเพื่อทำหน้าที่เสนอซื้อเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนปิด หรืออาจนำหน่วยลงทุนไปจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้ผู้ถือหน่วยลงทุนสามารถทำการซื้อขายหน่วยลงทุนของกองทุนปิดในตลาดรองได้ โดยผ่านบริษัทนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ (Broker) ตามราคาตลาด ซึ่งอาจจะมีต่ำหรือสูงกว่ามูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนปิดนั้นก็ได้”

    “หมายความว่า...ถ้าผมเดือนร้อนต้องการใช้เงิน ก็สามารถขายหน่วยลงทุนได้ โดยไม่ต้องรอให้ครบอายุใช่ไหมครับ?”

    “ถูกต้องครับ… แต่อย่างที่ผมพูดไปว่า มูลค่าที่เราขายตอนนั้นอาจจะสูงหรือต่ำกว่ามูลค่าที่เราซื้อมาครั้งแรกนะครับ อันนี้เราต้องรับความเสี่ยงได้ด้วย”“ครับผม...”

    “งั้นผมอธิบายต่อถึงกองทุนเปิดเลยนะครับ...สำหรับกองทุนเปิดมักจะเป็นกองทุนรวมที่ไม่กำหนดอายุโครงการไว้ แต่ก็มีระยะเวลาจำกัดในการเสนอขายครั้งแรกเช่นกัน และหลังจากนั้น บริษัทจัดการก็จะเปิดขายและรับซื้อคืนหน่วยลงทุนของกองทุนเปิดตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในโครงการ เช่น รับซื้อคืนหรือเปิดขายหน่วยทุกวันทำการ สัปดาห์ละครั้งหรือเดือนละครั้ง ขึ้นอยู่กับลักษณะของสินทรัพย์ที่กองทุนไปลงทุน อย่างเช่น กองทุนมันนี่มาร์เกต ที่ผมอธิบายไปก่อนหน้านี้
    ส่วนใหญ่จะเปิดให้ผู้ถือหน่วยสามารถซื้อขายได้ทุกวัน เพราะกองทุนประเภทนี้จะลงทุนในสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง...ซึ่งกองทุนเปิดเอง ก็ต้องรับความเสี่ยงในกรณีที่ผู้ถือหน่วยต้องการขายเช่นกัน เพราะมูลค่าในวันที่ขายอาจต่ำกว่ามูลค่าที่ซื้อมาครั้งแรกเช่นกัน”

    “แบบนี้...ก่อนลงทุนเราต้องทำความเข้าใจด้วยใช่ไหมครับว่า กองทุนที่เราซื้อไปนั้น เป็นกองทุนประเภทไหน?…จะได้ไม่มีข้อกังขาภายหลัง”

    “ถูกต้องครับ...” ต้นกล้าเสริม “อ้อ!!! ผมลืมบอกไปอีกข้อหนึ่งว่า กองทุนบางกองอาจจะไม่ใช่กองทุนปิด แต่ก็กำหนดเงื่อนไขเอาไว้ว่า ผู้ถือหน่วยจะสามารถขายหน่วยลงทุนนั้นได้ ก็ต่อเมื่อลงทุนไปถึงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น เช่น กองทุนที่มีเงื่อนไขทางภาษี ไม่ว่าจะเป็นกองทุนแอลทีเอฟ ที่กำหนดให้ผู้ลงทุนต้องถือหน่วยลงทุนให้ครบ 5 ปีปฏิทินจึงจะสามารถขายหน่วยลงทุนออกมาได้ หรือกองทุนอาร์เอ็มเอฟ ที่ผู้ลงทุนต้องถือไปจนกว่าจะอายุครบ 55 ปี บริบูรณ์”
    “ฟังแล้วยิ่งต้องคิดให้รอบคอบก่อนลงทุนนะครับ”

    “แน่นอนครับ เพราะถ้าไม่เข้าใจจริงๆ ก็จะเกิดคำถามอีกหลายต่อหลายคำถามตามมา โดยเฉพาะเมื่อกองทุนนั้นไม่เป็นไปอย่างที่ผู้ซื้อคาดหวังไว้”ต้นกล้าย้ำตามคำพูดของลูกค้า

    “กองทุนรวมนี่ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยนะครับ”

    “ใช่ครับ...แต่โอกาสก็มากับความยากนี่แหละครับ เพราะถ้าเรามัวแต่ฝากเงินออมทรัพย์ไว้แบบง่ายๆ เพียงอย่างเดียว เราก็จะสูญเสียโอกาสสร้างกำไรให้เงินไปอีกเยอะเลยละครับ”

    “อันนี้ผมเห็นด้วยครับ”

    ...การพูดคุยให้ข้อมูลกับลูกค้ารายใหม่รายนี้ กินเวลาไปนานพอสมควร เพราะกว่าที่จะเข้าใจตรงกันก็ล่วงเลยเวลาทำการแบงก์ไปแล้ว...แต่ต้นกล้าก็ไม่รู้สึกเหน็ดเหนื่อยแต่อย่างใด เพราะงานนี้เป็นงานที่เขารัก ที่สำคัญไปกว่านั้น...เขาอยากให้นักลงทุนทั่วไป เข้าใจการลงทุนในกองทุนรวมอย่างแท้จริง

    และระหว่างทางกลับบ้าน ต้นกล้าเตรียมแผนที่จะทำอะไรบางอย่างในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์นี้...เขาแวะซื้อพวงมาลัยดอกมะลิพวงใหญ่ ก่อนกลับบ้านด้วย...

    ********************************

    วันนี้ต้นกล้าตื่นเช้าเป็นพิเศษ...หลังจากอาบน้ำอาบท่าเสร็จเรียบร้อยแล้ว เขาก็เดินลงมาข้างล่าง พร้อมกับซ่อนของบางอย่างเอาไว้ข้างหลัง...ต้นกล้าหันซ้ายหันขวา มองหาคุณนายสุขใจ แต่ก็ไม่เจอ ก่อนจะเดินตรงเข้าไปในครัว สวนหลังบ้าน...แต่ก็ไม่เจอเช่นกัน

    ต้นกล้าได้ยินเสียงข้าวต้มมัด สุนัขตัวโปรดของบ้านนี้ ส่งเสียงมาจากหน้าบ้าน เหมือนกันกำลังเล่นอยู่กับใคร เลยตัดสินใจออกไปดู

    “มาอยู่นี่เองคุณนายสุขใจ” ต้นกล้ารำพึงออกมา...เขายืนนิ่งอยู่หน้าประตูบ้านสักพัก สายตาของเขามองไปที่คุณนายสุขใจ ซึ่งกำลังนั่งไกวชิงช้าอย่างมีความสุข โดยมีพ่อนั่งอยู่ข้างๆ ทั้งสองท่านกำลังหยอกล้อกับเจ้าข้าวต้มมัดอยู่อย่างมีความสุข...

    “น่ารักจริงๆ พ่อกับแม่เรา” ต้นกล้านึกในใจ ก่อนจะเดินออกมา พร้อมๆ กับรอยยิ้มมุมปากที่ผุดขึ้นมาโดยไม่รู้ตัว

    “แม่ครับ…พ่อครับ”

    “อ้าวต้น...ตื่นเช้าจังเลยลูก” คุณนายสุขใจกล่าวทักทาย “เอ...วันนี้ต้องมีอะไรพิเศษแน่เลย ลูกชายเราถึงได้ตื่นเช้าแบบนี้...จริงไหมพ่อ?”

    “นั่นนะซิ…แล้วนั้นซ่อนอะไรไว้ข้างหลังเหรอลูก” พ่อถามพลางเอี้ยวตัวมองไปข้างหลังเพื่อหาคำตอบ...แต่ยังไม่ทันที่พ่อจะเห็นอะไร ต้นกล้าก็คุกเข่าลงต่อหน้าพ่อกับแม่ แล้วยื่นพวงมาลัยดอกมะลิที่ซ่อนเอาไว้ข้างหลังออกมา...

    เขาส่งมันให้แม่“แม่ครับ...ต้นรักแม่ครับ” พูดจบต้นกล้าก็ก้มกราบลงไปที่ตักคุณนายสุขใจ “สุขสันต์วันแม่ครับ”

    คุณนายสุขใจน้ำตาคลอเบ้าด้วยความปลื้มปีติ...เธอเอามือทั้งสองข้างขึ้นมาลูบที่หัวลูกชายสุดที่รักด้วยความถะนุถนอม ก่อนจะดึงตัวต้นกล้าเข้ามากอด “ขอบใจมากจ๊ะลูก...แม่ก็รักลูกจ๊ะ” ถึงตอนนี้น้ำตาแห่งความสุขพรั่งพรูออกมาจากตาทั้งสองข้าง ต้นกล้าเองก็น้ำตาคลอเช่นกัน...ส่วนพ่อที่นั่งดูอยู่ข้างๆ ก็เปี่ยมไปด้วยรอยยิ้มแห่งความปลื้มปีติเช่นกัน

    หลังจากสองแม่ลูกกอดกันกลมอยู่พักหนึ่ง ต้นกล้าก็ขยับตัวมาที่พ่อ แล้วก้มลงกราบที่ตักเช่นกัน “พ่อครับ...ต้นรักพ่อครับ” เขาเงยหน้าขึ้นมา ฉีกยิ้มแล้วพูดต่อว่า “แต่วันนี้ ขอยกให้แม่วันหนึ่งนะครับ”

    พ่อหัวเราะ...ก่อนจะพูดต่อว่า “ไม่เป็นไรลูก...พ่อก็รักลูกเหมือนกัน” ต้นกล้ากับพ่อกอดกันกลม ทั้งสองคนตบหลังกันและกันตามประสาผู้ชายที่แสดงความรักให้กัน...หลังจากนั้น ต้นกล้าก็ขยับตัวมานั่งแทรกกลางระหว่างพ่อกับแม่ โดยมีข้าวต้มมัดนั่งมองอยู่ใกล้ๆ...สงสัยข้าวต้มมัดจะอิจฉาอยู่ไม่น้อย

    ...อ่านต่อฉบับวันจันทร์หน้า

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า ที่คุณหนุ่มเปิดให้ทำบุญนี้ก็ใช่ว่าคนปัจจุบันจะสร้างได้เท่า หรือเข้าใจว่าเหตุใดจึงมีพระนามว่า พระประธาน อันนี้ความรู้ของอาจารย์ปู่เนื้อๆ พิมพ์นี้ผมรักมากเป็นพิเศษ จะบอกให้ว่า เอาไปลอกแบบได้ไม่เหมือนครับ เห็นองค์จริงกันแล้ว มาวิเคราะห์กันสิว่า ทำไมถึงได้จัดสร้างได้งดงามแบบนี้ ทั้งคราบความเก่า คราบรักในตำแหน่งต่างๆ พระเนตรที่โปนโต พระดอษฐ์ พระเนตร พระกรรณ สุดยอด...
     

แชร์หน้านี้

Loading...