พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  2. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    ;k03 สุดยอดอีกแล้วครับท่าน
     
  3. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    ใช่ที่พี่พูดถึงเมื่อวานหรือเปล่าครับพี่ครับ
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไม่ใช่ครับ

    สำหรับสององค์นี้ เป็นปางเปิดโลกและปางอุ้มบาตรครับ
     
  5. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    มองดูงดงามทุกครั้งเลยครับ หุ หุ
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    หลังจากไปโชว์ที่ชมรมมาแล้ว ก็นำมาลงที่นี่ด้วย

    ขอโชว์บ้างครับ

    พระบูชา (วังหน้า)

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ake7440 [​IMG]
    ใช่ที่พี่พูดถึงเมื่อวานหรือเปล่าครับพี่ครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    อ่า ต้องนี่ครับ

    [​IMG]

    องค์นี้ หน้าตัก 9 นิ้ว สร้างช่วงปลายสมัยอู่ทอง และอยู่กับพี่ท่านนึงครับ
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    หลังจากไปโชว์ที่ชมรมมาแล้ว ก็นำมาลงที่นี่ด้วย

    ขอโชว์บ้างครับ

    พระบูชา (วังหน้า)

    [​IMG]

    [​IMG]


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]

    เห็นด้วยอย่างยิ่งยวดครับ
     
  8. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    มีกั๊กไว้บ้าง เดี๋ยวพรุ่งนี้ตาลุงจาฝากมาโชว์ให้ ได้ อึ้ง ทึ่ง เสียว แน่ครับ หุ หุ
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  10. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    เปลี่ยนเป็นน้ำมะนาวดีกว่าครับ จะ ได้จิ๊ด จาด สะใจครับ หุ หุ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    10 วิธี การทำร้าย กระดูกสันหลัง

    http://hilight.kapook.com/view/29654

    [​IMG]

    กระดูกสันหลัง มีความสำคัญต่อบุคลิกภาพ วันนี้เดลินิวส์ออนไลน์ จึงนำวิธีการที่ทำร้ายกระดูกสันหลังมาบอกกัน...


    [​IMG]1. การนั่งไขว่ห้าง จะทำให้น้ำหนักตัวลงที่ก้นข้างใดข้างหนึ่ง เป็นผลให้กระดูกคด​

    [​IMG]2. การนั่งกอดอก ทำให้หลังช่วงบน สะบัก และหัวไหล่ ถูกยืดยาวออก หลังช่วงบนค่อมและงุ้มไปด้านหน้า ทำให้กระดูกคอยื่นไปด้านหน้า มีผลต่อเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงแขน อาจทำให้มืออ่อนแรง หรือชาได้​

    [​IMG]3. การนั่งหลังงอ หลังค่อม เช่น การอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ติดต่อกันนานๆ เป็นชั่วโมง จะทำให้กล้ามเนื้อเกร็งค้าง เกิดการคั่งของกรดแลกติค มีอาการเมื่อยล้า ปวด และมีปัญหาเรื่องกระดูกผิดรูปตามมา​

    [​IMG]4. การนั่งเบาะเก้าอี้ไม่เต็มก้น ทำให้กล้ามเนื้อหลังต้องทำงานหนัก เพราะฐานในการรับน้ำหนักตัว​

    [​IMG]5. การยืนพักขาลงน้ำหนักด้วยขาข้างเดียว การยืนที่ถูกต้องควรลงน้ำหนักที่ขาทั้ง 2 ข้างเท่า ๆ กัน โดยยืนให้ขากว้างเท่าสะโพกจะทำให้เกิดความสมดุลของโครงสร้างร่างกาย​

    [​IMG]6. การยืนแอ่นพุง/หลังค่อม ควรยืนหลังตรง แขม่วท้องเล็กน้อย เพื่อเป็นการรักษาแนวกระดูกช่วงล่างไม่ให้แอ่นและทำให้ไม่ปวดหลัง​

    [​IMG]7. การใส่ส้นสูงเกิน 1 นิ้วครึ่ง จะทำให้แนวกระดูกสันหลังช่วงล่างแอ่นมากกว่าปกติ ซึ่งจะนำมาสู่อาการปวดหลัง​

    [​IMG]8. การสะพายกระเป๋าหนักข้างเดียว ไม่ควรสะพายกระเป๋าข้างใดข้างหนึ่งต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ควรเปลี่ยนเป็นการถือกระเป๋า โดยใช้ร่างกายทั้ง 2 ข้างให้เท่าๆ กัน อย่าใช้แค่ข้างใดข้างหนึ่งตลอด เพราะจะทำให้ต้องทำงานหนักอยู่เพียงซีกเดียว ส่งผลให้กระดูกสันหลังคดได้​

    [​IMG]9. การหิ้วของหนักด้วยนิ้วบ่อยๆ จะมีผลทำให้มีพังผืดยึดตามข้อนิ้วมือ​

    [​IMG]10. การนอนขดตัว/นอนตัวเอียง ท่านอนหงายเป็นท่านอนที่ถูกต้องที่สุด ควรนอนให้ศีรษะอยู่ในแนวระนาบ หมอนหนุนศีรษะต้องไม่แข็งหรือนิ่มเกินไป ควรมีหมอนรองใต้เข่าเพื่อลดความแอ่นของกระดูกสันหลังช่วงล่าง หากจำเป็นต้องนอนตะแคง ให้หาหมอนข้างก่าย เพื่อรักษาแนวกระดูกให้อยู่ในแนวตรง​

    อ่านแล้วก็มาปฏิบัติตามกันให้ถูกวิธี จะได้มีบุคลิกที่ดีกัน



    ขอขอบคุณข้อมูลจาก เดลินิวส์
    [​IMG]
    ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต ​
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ความคลางแคลง ปลายแผ่นดิน "พระเจ้ากรุงธนบุรี"

    โดย วิภา จิรภาไพศาล wipha_chi@yahoo.com

    http://www.matichon.co.th/matichon/view_news.php?newsid=01pra01071051&sectionid=0131&day=2008-10-07

    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    พระบรมสาทิสลักษณ์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตามจินตนาการของช่างเขียนรูป


    </TD></TR></TBODY></TABLE>1.สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองประเทศอยู่เพียง 14-15 ปี หากคำถามเกี่ยวกับแผ่นดินของพระองค์กลับมีไม่น้อย ขณะที่คำตอบกลับมีไม่มาก และไม่ชัดเจนพอที่จะทำให้สิ้นสงสัย

    คำตอบที่บอกว่า "สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงถูกสำเร็จโทษ เนื่องจากมีพระสติฟั่นเฟือน" กลับกลายเป็นคำถาม เพราะผู้รับฟังจะพูดต่อประโยคข้างต้นว่า "จริงหรือ?" แล้วคำตอบที่คลุมเครือจึงสร้าง "ความคลางแคลง" ให้เกิดขึ้นในที่สุด

    ซึ่งในทุกวงสนทนาเรื่องกึ่งปิด-กึ่งเปิด กึ่งจริง-กึ่งเท็จ นั้นเหมือนของหวานที่เชื้อเชิญให้ผู้คนมาลิ้มลอง

    หากความคลางแคลงปลายแผ่นดินสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีที่ได้รับความสนใจอย่างยิ่งคงไม่พ้นเรื่องการเสด็จสวรรคตของพระองค์ เป็นการเสด็จสวรรคตที่สร้างความฉงนสงสัยให้ประวัติศาสตร์ของชาติได้ไม่น้อย

    และทำให้เกิดประวัติภาคประชาชน เกิดพงศาวดารกระซิบ ต่อยอดความสงสัยให้ยาวไกลออกไปอีก

    ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงแก้ปัญหา "เงินกู้" จากราชสำนักจีนมาสร้างกรุงธนบุรีที่กลายเป็น NPL (Non Profit Loan) ด้วยการสละแผ่นดินให้เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก โดยพระองค์ทรงหลบหนีไปอยู่เมืองนครศรีธรรมราช หรือที่ว่าสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงทำศึกสงครามมากจนพระสติวิปลาสในปลายรัชกาล ฯลฯ

    2.นิตยสาร "ศิลปวัฒนธรรม" ตามติดกับเรื่องสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีอย่างต่อเนื่อง โดยมีการนำเสนอเป็นระยะ และในฉบับเดือนตุลาคมนี้ นำเสนอบทความเกี่ยวกับพระองค์ท่านถึง 3 เรื่องด้วยกัน คือ <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=right border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    (บน) พระบรมรูปจำลองของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่ถ้ำเขาขุนพนม อ.พรหมคีรี จ.นครศรีธรรมราช (ล่าง) จิตรกรรมฝาผนังภาพพระราชวังกรุงธนบุรี (พระราชวังเดิม) และป้อมวิชัยประสิทธิ์ ที่วัดอัมพวันเจติยาราม จ.สมุทรสงคราม


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    "สมเด็จพระเจ้าตากสิน ผู้ดีกรุงเก่า ลูกเจ้า หรือลูกจีน?" โดย ปเรตร์ อรรถวิภัชน์ ""พระเจ้าตากสินล่องหน หลบท่อนจันทร์" ประวัติศาสตร์ชาวบ้าน ประวัติศาสตร์แห่งจินตนิยาย" โดย รังสรรค์ นิลฉ่ำ และ "พระเจ้าตากกับพระเจ้าแผ่นดินกรุงเทพฯ ตอนต้น" โดย ปรามินทร์ เครือทอง

    หากมุมมองในการนำเสนอครั้งนี้ของผู้เขียนทั้ง 3 คน ชวนให้ขบคิดอย่างยิ่ง

    ปเรตร์ หยิบหนังสืออภินิหารบรรพบุรุษ ของ ก.ศ.ร.กุหลาบ จดหมายเหตุประถมวงศกุลบุนนาค และพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) มาอธิบายถึงพระชาติกำเนิดของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ว่ามีการนำเสนอแตกต่างกันระหว่างความเป็นลูกผู้ดีกรุงเก่า อดีตขุนนางแห่งกรุงศรีอยุธยา กับชาวบ้านธรรมดา ไปจนถึงความเป็นลูกจีนแต้จิ๋ว ฯลฯ ทั้งหมดเพื่อให้เรื่องของพระองค์สอดคล้องกับเป้าหมายทางการเมืองในแต่ละช่วงเวลา

    รังสรรค์ วิเคราะห์ หนังสือชุด "บันทึกแผ่นดิน" ของโรม บุนนาค ที่กล่าวว่า "พระเจ้าตากสินล่องหน หลบท่อนจันทน์" โดยพระองค์ทรงหลบมาจำศีลที่วัดเขาขุนพรหม อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

    ซึ่งข้อมูลส่วนใหญ่เป็นคำบอกเล่าของสมจิตร ทองสมัคร-ผู้ดูแลพระตำหนักสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สรุปได้ว่าสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีมีพระราชประสงค์มอบราชสมบัติให้เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก และทรงแสร้งเป็นคนวิกลจริตเพื่อหลีกเลี่ยงภาระหนี้สินที่ทรงกู้ยืมจากเมืองจีน <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    (ซ้าย) ศิลปวัฒนธรรมฉบับเดือนตุลาคม 2551 (กลาง) แอนนา เลียวโนเวนส์ (ขวา) ภาพเขียนลงรักปิดทอง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงปราบดาภิเษก ที่วัดอินทารามวรวิหาร กรุงเทพฯ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ก่อนจะทิ้งท้ายคำถามว่า หากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรู้กับเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกจริง เหตุใดพระองค์ต้องทรงลงทุนด้วยชีวิตลูกหลานถึง 4 พระองค์ (กรมขุนอินทรพิทักษ์ สมเด็จเจ้าฟ้าน้อย กรมขุนอนุรักษ์สงคราม และกรมขุนรามภูเบศร์)

    ส่วน ปรามินทร์ กล่าวถึง หนังสือสังคีติยวงศ์ ของ สมเด็จพระวันรัต วัดพระเชตุพน พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เทศนาจุลยุทธการวงศ์ จดหมายความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ในรัชกาลที่ 4 และพงศาวดารสยามอย่างย่อ (Brief History of Siam) ที่มีการตีพิมพ์ 2 ครั้ง คือ ครั้งแรกใน The Chinese Repository และตีพิมพ์ซ้ำใน The Kingdom and People of Siam

    3.แม้เอกสารที่อ้างอิงจะมีหลายแหล่งที่มา หากทางของข้อมูลกลับเป็นไปในทางเดียวกัน คือ ปลายแผ่นดินสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีนั้น เป็นช่วงวิกฤตของบ้านเมือง พระเจ้าแผ่นดินทรงเสียพระจริต สติฟั่นเฟือน มหาชนโกรธแค้น ข้าราชการหมดสิ้นศรัทธา และโอนเอียงไปข้างเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ฯลฯ

    พร้อมตั้งข้อสังเกตว่า เอกสารที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ปลายแผ่นดินกรุงธนบุรีนั้น มีวัตถุประสงค์ที่จะชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างๆ ระหว่าง "ชิงราชบัลลังก์" กับ "ปราบยุคเข็ญ"

    และเอกสารชิ้นสุดท้ายที่กล่าวถึง คือ หนังสือ The English Governess at the Siamese Court ของ แอนนา เลียวโนเวนส์-อดีตครูฝรั่งในราชสำนักสยามสมัยรัชกาลที่ 4 กล่าวถึงเหตุการณ์ปลายแผ่นดินสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีไว้อย่างน่าตกใจด้วยคำว่า "วางยา" และ "ผู้ทรยศ"

    โดยที่มาของข้อมูลนั้นมาจากหนังสือเล่มเรื่องกรุงสยาม หรือ Description du Royaume Thai ou Saim โดยสังฆราชปาลเลกัวซ์-พระสหายคนหนึ่งของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    เอกสารที่ผู้เขียนทั้ง 3 คนอ้างอิง เป็นถึงสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีนั้น ส่วนหนึ่งเป็นเอกสารเก่าที่นำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ในมิติใหม่เป็นระยะๆ ขณะที่อีกจำนวนหนึ่งเป็นเอกสารเก่าที่เพิ่งมีการนำเสนอในสถานะของ "ข้อมูลใหม่" เอกสารที่เกี่ยวกับพระองค์และเหตุการณ์ในช่วงปลายแผ่นดินกรุงธนบุรีมีมากเพียงใด ทั้งเอกสารที่มีอยู่แล้วหากยังไม่ได้กล่าวถึง เอกสารที่กำลังผลิตขึ้นใหม่ ทว่านั้นยังไม่น่าสนใจเท่ากับว่ามีทำไมจึงต้องมีเอกสารเหล่านั้นขึ้นมา?

    นั้นคงเป็นเพราะว่าคำตอบที่แจ้งต่อสาธารณะมากว่า 200 ปี ยังคงมีความสงสัยพ่วงท้าย

    เช่นนี้เรื่องราวปลายแผ่นดินสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงไม่เคยถึงตอนจบ เพราะคำถามและคำตอบยังทับซ้อนกันอยู่บนพื้นที่เดียวกัน

    พื้นที่ของความคลางแคลง ซึ่งรอให้เวลาช่วยคลี่คลาย
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    หลังจากไปโชว์ที่ชมรมมาแล้ว ก็นำมาลงที่นี่ด้วย

    ขอโชว์บ้างครับ

    พระบูชา (วังหน้า)

    [​IMG]

    [​IMG]



    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    [​IMG]

    เห็นด้วยอย่างยิ่งยวดครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    สำหรับคุณnongnooo ได้เลยครับ จัดให้

    น้ำมะนาว เปรี้ยวจี๊ด [​IMG]

    แต่ผมว่า จัดให้เป็นพิเศษดีกว่า

    น้ำส้มสายชู เปรี้ยวจี๊ดจ๊าด สะใจกว่า
    [​IMG]
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เลือกกิน (สารเคมี) อย่างปลอดภัย
    ที่มา: สมใจ วิชัยดิษฐ์ รศ.ดร.,ศูนย์วิจัย รพ.รามาธิบดี
    วิทยาศาสตร์สำหรับประชาชน, วารสารวิทยาศาสตร์
    พฤศจิกายน-ธันวาคม 2540, หน้า 381-383

    <HR>สารเคมีในโลกนี้มีมากมายหลายชนิด บางชนิดเป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่สารเคมีบางอย่างก็จำเป็นต่อร่างกายและทุกคนต้องกินทุกวัน สารเคมีที่กล่าวนี้จะมีอยู่ในอาหารชนิดต่าง ๆ ตามธรรมชาติ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน เกลือแร่ และน้ำ โดยทั่วไปเราจะได้สารเคมีทั้ง 6 ชนิดที่กล่าวมาแล้วจากอาหารซึ่งเรียกว่า สารอาหาร อย่างไรก็ตามผู้บริโภคบางคนจะได้รับสารดังกล่าวจากอาหาร แต่บางครั้งก็อาจกินในรูปของสารเคมีที่ได้จากการสังเคราะห์อาจอยู่ในรูปของเม็ดยา เช่น วิตามิน หรือเกลือแร่ แม้ว่าสารเคมี (สารอาหาร) ทั้ง 6 ชนิด มีประโยชน์ต่อร่างกายแต่หากเลือกกินไม่ถูกต้องก็จะเป็นโทษต่อร่างกาย ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างสารเคมีบางชนิดที่ผู้บริโภคบางคนยังขาดความเข้าใจในการเลือกกินซึ่งทำให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา

    คาร์โบไฮเดรต
    คาร์โบไฮเดรตเป็นสารเคมีที่มีคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ คาร์โบไฮเดรตอาจแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ คาร์โบไฮเดรตที่โมเลกุลไม่ซับซ้อน (เช่น น้ำตาล กลูโคส ฟรุคโตส มอลโตส น้ำตาลทราย เป็นต้น) และคาร์โบไฮเดรตที่โมเลกุลมีความซับซ้อนหรือคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน (เช่น ข้าว แป้ง ใยอาหาร เป็นต้น) คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารหลักที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย การกินคาร์โบไฮเดรตไม่เพียงพอจะทำให้การเผาผลาญหรือการย่อยสลายไขมันไม่สมบูรณ์ ระดับคีโตนในเลือดจะสูงกว่าปกติ ทำให้ร่างกายมีภาวะเป็นกรดมากขึ้นและอาจเป็นอันตรายได้ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคเบาหวานที่อดข้าว
    การเลือกกินคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน (เช่น ข้าวซ้อมมือ ขนมปังที่ทำจากแป้งที่ผ่านการขัดสีน้อยที่สุด) จะได้ประโยชน์มากกว่าการกินคาร์โบไฮเดรตที่โมเลกุลไม่ซับซ้อน (เช่น น้ำตาล) เพราะนอกเหนือจากน้ำตาลที่จะได้การย่อยข้าวหรือขนมปังแล้วเราจะได้สารอาหารอื่น ๆ เช่น ใยอาหาร วิตามิน เกลือแร่ รวมทั้งโปรตีนด้วย การกินของหวานหรือน้ำตาลมากเกินไปเป็นประจำทุกวันจะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง (ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน) และน้ำตาลบางส่วนจะถูกเปลี่ยนเป็นไขมันและสะสมไว้ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
    นอกจากนี้การกินคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนจะได้ใยอาหารซึ่งใยอาหารชนิดที่ละลายน้ำได้จะมีความสามารถอุ้มได้ เมื่ออุ้มน้ำแล้วก็จะเปลี่ยนเป็นสารละลายที่มีความหนืด ทำให้การดูดซึมสารอาหารช้าลงเป็นประโยชน์ต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ช่วยให้ขับถ่ายได้สะดวกขึ้น เชื้อโรคไม่หมักหมมในลำไส้เป็นการช่วยป้องกันมะเร็งลำไส้ใหญ่ โรคริดสีดวงทวาร โรคลำไส้โป่งพอง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด ฯลฯ
    ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่ควรได้รับแต่ละวันควรเป็นประมาณร้อยละ 55-60 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับใน 1 วัน

    ไขมัน
    ไขมันโดยทั่วไปจะอยู่ในรูปของไตรกลีเซอไรด์ ซึ่งเกิดจากโมเลกุลของกรดไขมัน 3 โมเลกุลจับกับโมเลกุลของกลีเซอรอล ไขมันนี้อาจเป็นของแข็งหรือของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ขึ้นอยู่กับชนิดของกรดไขมันที่จับกลีเซอรอล หากเป็นกรดไขมันอิ่มตัวมากจะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง แต่ถ้ามีกรดไขมันไม่อิ่มตัวมากก็จะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง กรดไขมันไม่อิ่มตัวส่วนใหญ่จะพบในอาหารที่มาจากพืชโดยเฉพาะถั่วเหลือง ดอกทานตะวัน ข้าวโพด ซึ่งจะมีกรดไขมันจำเป็นอยู่ด้วย กรดไขมันจำเป็น (essential fatty acid) เป็นกรดไขมันที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ได้ จำเป็นต้องได้จากอาหารเท่านั้น คือ กรดไลโนเลอิกและกรดแอลฟ่า ไลโนเลนิก (มีในน้ำมันถั่วเหลือง) กรดไขมันที่จำเป็นนี้มีคุณสมบัติช่วยลดคอลเลสเตอรอล ผู้บริโภคบางคนจะไม่กินกะทิหรือไขมันสัตว์ชนิดใดเลยเนื่องจากกลัวว่าคอลเลสเตอรอลในเลือดสูง ความจริงท่านสามารถกินไขมันเหล่านี้ได้แม้ว่าไขมันดังกล่าวจะมีกรดไขมันอิ่มตัวมากก็ตามทั้งนี้เพราะร่างกายของคนเราต้องการทั้งกรดไขมันอิ่มตัวและไขมันไม่อิ่มตัวในปริมาณที่เท่า ๆ กัน คือ อย่างละประมาณร้อยละ 10 โดยที่ปริมาณไขมันทั้งหมดที่ได้รับในแต่ละวันไม่ควรเกินร้อยละ 30
    การเลือกกินไขมันไม่ถูกต้อง เช่น การกินไขมันมากเกินไปหรือกินอาหารที่มีคอเลสเตอรอลมากเกินไปอาจทำให้ไขมันหรือคอลเลสเตอรอลสะสมอยู่ในเลือดปริมาณสูง ซึ่งจะเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ เช่น โรคอ้วน โรคหัวใจ เป็นต้น

    โปรตีน
    โปรตีนเป็นสารเคมีที่มีกรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบ (กรดอะมิโนมีประมาณ 20 กว่าชนิด) และกรดอะมิโนจะต่อกันด้วยพันธะเปปไทด์ กรดอะมิโนอาจแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กรดอะมิโนที่จำเป็น (Essential amino acid) (ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ได้ จำเป็นต้องได้รับจากอาหารเท่านั้น) และ กรดอะมิโนที่ไม่จำเป็น (ร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้จากปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ ในร่างกาย) จัดเป็นอาหารที่มีโปรตีนที่สมบูรณ์หรือคุณภาพดี ส่วนอาหารที่มีกรดอะมิโนที่จำเป็นไม่ครบถ้วนหรือไม่เพียงพอ (เช่น พืชผักต่าง ๆ) จัดเป็นอาหารที่มีโปรตีนไม่สมบูรณ์
    คนไม่กินอาหารจากสัตว์เลยก็จะได้โปรตีนที่ไม่สมบูรณ์ การทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายจะไม่ดีเท่าที่ควรโดยเฉพาะเด็กในวัยที่กำลังเจริญเติบโต ร่างกายต้องการโปรตีนที่สมบูรณ์หากขาดโปรตีนในช่วงนี้การเจริญเติบโตอาจชะงักได้ ดังนั้นจึงไม่ควรให้เด็กเล็กกินอาหารแบบมังสวิรัต สำหรับผู้ใหญ่ที่กินอาหารแบบมังสวิรัตสามารถผสมผสานอาหารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปเพื่อให้ได้โปรตีนที่สมบูรณ์ได้ เช่นการกินธัญญพืชร่วมกับถั่วเมล็ดแห้งชนิดต่าง ๆ ทั้งนี้เพราะกรดอะมิโนที่มีจำกัดในถั่วเมล็ดแห้งก็จะมีในธัญญพืชเมื่อกินอาหารทั้ง 2 ชนิดรวมกันก็จะได้โปรตีนที่สมบูรณ์
    การกินอาหารที่มีโปรตีนไม่เพียงพอหรือกินอาหารที่มีโปรตีนมากเกินไปจะเกิดโทษต่อร่างกาย ในแต่ละวันร่างกายควรได้รับโปรตีนประมาณร้อยละ 12-15 ของพลังงานทั้งหมดที่ได้รับใน 1 วัน

    น้ำส้มสายชู

    น้ำส้มสายชูเป็นสารเคมีประเภทกรดอินทรีย์ ได้แก่ กรดน้ำส้มหรือกรดอะซิติก ตามพระราชบัญญัติอาหาร น้ำส้มสายชูแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ

    1. [*]น้ำส้มสายชูหมัก
      ได้แก่ น้ำส้มสายชูที่ได้จากการหมักธัญญพืช ผลไม้ หรือน้ำตาลกับส่าเหล้า น้ำส้มสายชูหมักอาจมีสีจากการแต่งสีน้ำตาลไหม้ได้ และอาจมีตะกอนได้บ้างตามธรรมชาติ ไม่มีหนอนน้ำส้ม มีปริมาณกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่าร้อยละ 4
      [*]น้ำส้มสายชูกลั่น
      ได้แก่ น้ำส้มสายชูที่ได้จากการหมักแอลกอฮอล์กับเชื้อน้ำส้มสายชู แล้วนำมากลั่นอีก หรืออาจได้จากการนำน้ำส้มสายชูหมักมากลั่น น้ำส้มสายชูกลั่นควรมีลักษณะใส ไม่มีตะกอน ไม่มีสี มีปริมาณกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่าร้อยละ 4
      [*]น้ำส้มสายชูเทียม
      ได้แก่ น้ำส้มสายชูที่ได้จากการนำกรดน้ำส้มเข้มข้นมาเจือจาง น้ำส้มสายชูเทียมต้องไม่มีการเจือสีใด ๆ มีลักษณะใส มีปริมาณกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 และไม่เกินร้อยละ 7
    ในการเลือกซื้อน้ำส้มสายชูทั้ง 3 ชนิดควรอ่านฉลากโดยดูชื่ออาหารว่าเป็นชนิดใด มีเครื่องหมายทะเบียนอาหารและยาหรือไม่ ชื่อ/ที่อยู่ของผู้ผลิต ปริมาตรสุทธิของอาหาร และวันเดือนปีที่ผลิต นอกจากนี้อาจทดสอบน้ำส้มตัวอย่างด้วยการใส่ผักชีหรือพริกลงไป ถ้าผักชีหรือพริกเหี่ยวภายในเวลา 3-5 นาที แสดงว่าน้ำส้มสายชูนั้นทำด้วยกรดกำมะถันซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค (และไม่ควรเรียกตัวอย่างนี้ว่า
     
  15. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    55555อย่างนี้เค้าเรียกเปรี้ยว กัดกระเพาะครับ หุ หุ
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ผมมอบให้คุณnongnooo เพิ่มเติมครับ

    ---------------------------------

    <CENTER>ใครอยากรู้จักน้ำส้มสายชูบ้าง..ชูมือขึ้นแล้วใช้นิ้วคลิ๊กเข้ามาดูได้เลย</CENTER>
    http://www.pantown.com/board.php?id=15220&name=board1&topic=1&action=view

    โดย: Mr.Answer (เจ้าบ้าน [​IMG]) [15 พ.ย. 48 15:43] ( IP A:203.151.140.113 X: )

    น้ำส้มสายชูจัดเป็นเครื่องปรุงรสอาหารชนิดหนึ่งที่เรารู้จักกันมานาน และใช้กันอย่างแพร่หลายในชีวิตประจำวันของครอบครัวไทย โดยนำมาประกอบอาหารที่ต้องการรสเปรี้ยว ใช้หมักดองถนอมอาหาร น้ำส้มสายชูจึงจัดเป็นเครื่องปรุงรสที่มีอยู่ประจำบ้าน ร้านค้า และร้านอาหาร ที่ขาดไม่ได้เลยทีเดียว แต่ในปัจจุบันมีการนำน้ำส้มสายชูปลอมมาจำหน่ายเนื่องจากมีราคาถูกมากเมื่อเทียบกับน้ำส้มสายชูที่เป็นอาหารได้ โดยนำกรดน้ำส้มชนิดเข้มข้นมาจำหน่ายในชื่อว่า "หัวน้ำส้ม" หัวน้ำส้มนี้ คือ "กรดน้ำส้มอย่างแรง" (Glacial acetic acid) มักพบว่าหัวน้ำส้มชนิดนี้ใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง สิ่งพิมพ์ สิ่งทอ น้ำส้มดังกล่าวแม้ว่าจะเป็นกรดน้ำส้มแต่ไม่มีความบริสุทธิ์เพียงพอที่จะนำมาบริโภคได้ เนื่องจากมีโลหะหนัก หรือวัตถุเจือปนอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างกรรมวิธีการผลิตปนเปื้อนอยู่ ทำให้เกิดพิษสะสมจากโลหะหนัก และสิ่งปนเปื้อนดังกล่าว

    นอกจากนี้ยังพบปัญหาการผสมไม่ถูกส่วน หากปริมาณกรดน้ำส้มสูงเกินไปก็จะเกิดอันตรายต่อผู้บริโภค คือ อาจทำให้เกิดอาการท้องร่วงอย่างรุนแรงเนื่องจากผนังลำไส้ไม่ดูดซึมอาหาร รวมทั้งได้มีการนำเอากรดแร่อิสระบางอย่าง เช่น กรดกำมะถัน หรือ กรดซัลฟุริก(Sulphuric acid) ซึ่งเป็นกรดแก่มาเจือจางด้วยน้ำมาก ๆ แล้วบรรจุขวดขาย นับว่าเป็นอันตรายอย่างยิ่งเพราะกรดกำมะถันเป็นกรดที่มีสรรพคุณกัดกร่อนรุนแรงมาก จะทำให้เกิดอันตรายต่อระบบทางเดินอาหารและตับ น้ำส้มสายชูเหล่านี้จึงไม่ปลอดภัยที่จะนำมาบริโภค ดังนั้น ก่อนจะบริโภคน้ำส้มสายชูเราควรจะทำความรู้จักเสียก่อนว่าน้ำส้มสายชูที่ดีเป็นอย่างไร

    ประเภทของน้ำส้มสายชู

    น้ำส้มสายชูเป็นเครื่องปรุงรสอาหาร มีทั้งเป็นผลิตผลที่ได้จากธรรมชาติ และจากการสังเคราะห์ทางเคมี มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ กรดน้ำส้ม (Acetic acid) มีคุณสมบัติที่ให้รสเปรี้ยว และเป็นกรดที่เหมาะสมในการรักษาคุณภาพอาหารยิ่งกว่ากรดชนิดใด ๆ เพราะไม่มีพิษต่อร่างกาย น้ำส้มสายชูจัดเป็นอาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 204) พ.ศ.2543 เรื่อง น้ำส้มสายชู ประเภทของน้ำส้มสายชูนั้นแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่

    1. น้ำส้มสายชูหมัก เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากธัญพืช ผลไม้ หรือน้ำตาลมาหมักกับส่าเหล้าแล้วหมักกับเชื้อ น้ำส้มสายชูตามกรรมวิธีธรรมชาติ การหมักจะเปลี่ยนน้ำตาลที่มีอยู่ในอาหารเหล่านี้ให้เป็นแอลกอฮอล์โดยอาศัยยีสต์ที่มีตามธรรมชาติ เพื่อให้น้ำส้มสายชูที่หมักมีกลิ่นหอมและรสชาติดี จากนั้นจะอาศัยบักเตรีตามธรรมชาติ หรือการเติมบักเตรี เพื่อเปลี่ยนแอลกอฮอล์ให้เป็นกรดน้ำส้ม น้ำส้มสายชูหมักจะมีสีเหลืองอ่อนตามธรรมชาติ มีรสหวานของน้ำตาลที่ตกค้างมีกลิ่นของวัตถุดิบที่ใช้ในการหมัก ความแตกต่างในด้านกลิ่นรส และความเข้มข้นขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ในการหมัก น้ำส้มสายชูหมักจะใส ไม่มีตะกอน ยกเว้นตะกอนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และมีปริมาณกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่า 4%

    2. น้ำส้มสายชูกลั่น เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำแอลกอฮอล์กลั่นเจือจาง (Dilute Distilled Alcohol) มาหมักกับเชื้อน้ำส้มสายชู หรือเมื่อหมักแล้วนำไปกลั่นอีก หรือได้จากการนำน้ำส้มสายชูหมักมากลั่น น้ำส้มสายชูกลั่นจะต้องมีลักษณะใส ไม่มีตะกอนและมีปริมาณกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่า 4%

    3. น้ำส้มสายชูเทียม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำเอากรดน้ำส้ม (Acetic acid) ซึ่งสังเคราะห์ขึ้นทางเคมี เป็นกรดอินทรีย์มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนมีความเข้มข้นประมาณ 95 % มาเจือจางจนได้ปริมาณกรด 4 - 7% ลักษณะใส ไม่มีสี กรดน้ำส้มที่นำมาเจือจางจะต้องมีความบริสุทธิ์สูงเหมาะสมที่จะนำมาเป็นอาหารได้และน้ำที่ใช้เจือจางต้องเหมาะสมที่จะใช้ดื่มได้

    การควบคุมคุณภาพหรือมาตรฐานน้ำส้มสายชู

    น้ำส้มสายชูหมักหรือน้ำส้มสายชูกลั่น
    ต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐาน ดังต่อไปนี้

    1. มีกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่า 4 กรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ที่ 27 องศาเซลเซียส
    2. ตรวจพบสารปนเปื้อนได้ไม่เกินปริมาณกำหนด ดังต่อไปนี้
    - สารหนู ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    - ตะกั่ว ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    - ทองแดงและสังกะสี ไม่เกิน 10 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    - เหล็ก ไม่เกิน 10 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    3. ไม่มีกรดน้ำส้มที่มิได้มาจากการผลิตน้ำส้มสายชูหมักหรือน้ำส้มสายชูกลั่น
    4. ไม่มีกรดกำมะถัน (Sulfuric acid) หรือกรดแร่อิสระอย่างอื่น
    5. ใสไม่มีตะกอน เว้นแต่น้ำส้มสายชูหมักตามธรรมชาติ
    6. ไม่มีหนอนน้ำส้ม (Vinegar Eel)
    7. ใช้น้ำสะอาดเป็นส่วนผสม
    8. ให้ใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additives) ได้ ดังต่อไปนี้
    - ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไม่เกิน 70 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    - กรดแอล-แอสคอร์บิก ไม่เกิน 400 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    9. มีแอลกอฮอล์ตกค้าง (Residual alcohol) ไม่เกิน 0.5 %
    10. การแต่งสี ให้ใช้น้ำตาลเคี่ยวไหม้หรือสีคาราเมล

    น้ำส้มสายชูเทียม ต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐาน ดังต่อไปนี้

    1. มีกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่า 4 กรัม และไม่เกิน 7 กรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ที่ 27 องศาเซลเซียส
    2. ตรวจพบสารปนเปื้อนได้ไม่เกินปริมาณที่กำหนด ดังต่อไปนี้
    - สารหนู ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    - ตะกั่ว ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    - ทองแดงและสังกะสี ไม่เกิน 10 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    - เหล็ก ไม่เกิน 10 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม
    3. ใสไม่มีตะกอน
    4. ไม่มีกรดกำมะถันหรือกรดแร่อิสระอย่างอื่น
    5. ไม่ใช้สี
    6. ไม่มีการแต่งกลิ่นหรือรส
    7. ใช้น้ำสะอาดเป็นส่วนผสม

    การเลือกซื้อน้ำส้มสายชู

    ในการเลือกซื้อน้ำส้มสายชูที่ปลอดภัยมาบริโภค ควรจะสังเกต ดังนี้

    1. ฉลากอาหาร ฉลากต้องมีข้อความภาษาไทยแต่จะมีภาษาต่างประเทศได้และจะต้องมี ข้อความแสดงรายละเอียด ดังต่อไปนี้
    1.1 ชื่ออาหาร เช่น น้ำส้มสายชูหมัก น้ำส้มสายชูเทียม น้ำส้มสายชูกลั่น
    1.2 แสดงข้อความ "มีปริมาณกรดน้ำส้ม...%"
    1.3 เลขสารบบอาหาร ในกรอบเครื่องหมาย อย (แต่ในน้ำส้มสายชูบางยี่ห้ออาจจะพบเครื่องหมาย อย.แบบเดิมที่มีตัวอักษร และตัวเลขปรากฎอยู่ แต่หลังจากวันที่ 24 กรกฎาคม 2546 ผลิตภัณฑ์น้ำส้มสายชูจะเปลี่ยนมาใช้เลขสารบบอาหารเหมือนกันหมด)
    1.4 ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต
    1.5 ปริมาตรสุทธิของอาหารเป็นระบบเมตริก เช่น ปริมาตรสุทธิ 750 หรือปริมาตรสุทธิ 1 ลิตรเป็นต้น
    1.6 แสดงวันเดือนปีที่ผลิต หรือวันเดือนปีที่หมดอายุ หรือควรบริโภคก่อนโดยมีคำว่า "ผลิต" "หมดอายุ" หรือ "ควรบริโภคก่อน" กำกับแล้วแต่กรณี

    2. ถ้ามีเครื่องหมายรับรองคุณภาพมาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรม (มอก.) ด้วยก็จะดี

    3. ภาชนะบรรจุ ต้องสะอาด มีฝาซึ่งปิดได้สนิทพบดีกับภาชนะบรรจุ ไม่มีโลหะหนักหรือสารอื่นออกมาปนเปื้อนกับอาหาร ในปริมาณที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ไม่มีสีออกมาปนเปื้อนกับอาหาร และภาชนะควรเป็นประเภทขวดแก้ว ไม่ควรใช้ภาชนะพลาสติก ซึ่งอาจถูกกัดกร่อนได้

    4. สภาพของอาหาร
    * น้ำส้มสายชูกลั่นและน้ำส้มสายชูเทียม ควรมีลักษณะใส ไม่มีตะกอน ส่วนน้ำส้มสายชูหมักอาจมีตะกอนได้บ้างตามธรรมชาติ แต่ต้องไม่มีหนอนน้ำส้ม
    * น้ำส้มสายชูเทียม จะต้องไม่มีการเจือสีใด ๆ ส่วนน้ำส้มสายชูหมักและน้ำส้มสายชูกลั่น การแต่งสีให้ใช้น้ำตาลเคี่ยวไหม้ได้
    * ปริมาณกรดน้ำส้ม ซึ่งสังเกตได้จากรายละเอียดบนฉลากสำหรับน้ำส้มสายชูหมักและน้ำส้มสายชูกลั่น มีปริมาณกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่า 4% ส่วนน้ำส้มสายชูเทียม มีปริมาณกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่า 4% และไม่มากกว่า 7%

    5. การจำหน่ายน้ำส้มสายชู หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นกรดน้ำส้ม ห้ามแสดงคำว่า "หัวน้ำส้ม" หรือข้อความที่มีความหมายในทำนองเดียวกัน

    6. ควรพิจารณาราคาเทียบกับปริมาณ เพื่อป้องกันการถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ผลิตด้วย

    วิธีทดสอบน้ำส้มสายชูปลอม

    เมื่อท่านเลือกซื้อน้ำส้มสายชูแล้วเกิดความไม่มั่นใจว่าน้ำส้มสายชูนั้นเป็นน้ำส้มสายชูแท้หรือไม่ท่านสามารถทดสอบดูว่าเป็นน้ำส้มสายชูปลอมหรือไม่ ดังนี้

    1. การดมกลิ่น ถ้าเป็นน้ำส้มสายชูปลอมจะไม่มีกลิ่นฉุนจมูกเหมือนน้ำส้มสายชูแท้ แม้กรดกำมะถันเจือจางจะมีรสเปรี้ยวจัด แต่ไม่มีกลิ่นฉุนที่คุ้นเคยของน้ำส้มสายชูเลย แต่ถ้าเป็นการปลอมโดยเอากรดกำมะถันมาผสมกับกรดน้ำส้ม เราไม่สามารถจะทดสอบด้วยวิธีนี้ได้

    2. ทดสอบโดยใช้ผักใบบาง เอาน้ำส้มสายชูที่สงสัยเทลงในภาชนะแบน ๆ แล้วนำผักใบบาง ๆ เช่น ผักชีสด ๆ แช่ลงไปแล้วจับเวลา ถ้าเป็นน้ำส้มสายชูแท้ ผักชีจะยังสดอยู่เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 1 ชั่วโมง แต่ถ้าเป็นกรดกำมะถันผสมอยู่ ใบผักชีจะตายนึ่ง (เป็นจุดสีน้ำตาลและลามเต็มใบ) ในเวลาไม่เกิน 45 นาที

    3. ทดสอบความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) โดยการใช้ยาสีม่วงสำหรับป้ายลิ้นเด็ก (Gentian violet) คือ ยาทาแผลที่เกิดจากเชื้อรา มีสีม่วง นำมาผสมน้ำให้เจือจางประมาณ 100 เท่า นำน้ำส้มที่สงสัยมาประมาณ 1 ช้อนชา แล้วหยดเจนเชียนไวโอเลตเจือจางไป 2 - 3 หยด สังเกตดูสีที่เกิดขึ้น ถ้าเป็นน้ำส้มสายชูแท้ จะเป็นสีม่วงดังเดิม แต่ถ้าเป็นน้ำส้มสายชูปลอมด้วยกรดแร่แล้วจะเป็นสีเขียวอ่อน ๆ หรือสีน้ำเงินอ่อน

    4. ทดสอบหากรดแร่อิสระ กรดกำมะถัน หรือกรดเกลือ โดยนำตัวอย่างน้ำส้มสายชู 5 มิลลิลิตร ทำให้เจือจางด้วยน้ำกลั่นประมาณ 1 เท่าตัว หรือ 5 - 10 มิลลิลิตร เขย่าให้เข้ากันดี แล้วเติมสารละลายเมทิลไวโอเลต (1:1000) ลงไป 4 - 5 หยด ถ้าเกิดสีน้ำเงินหรือเขียวตามลำดับแสดงว่าอาจมีกรดแร่อิสระ ซึ่งเป็นกรดแก่ผสมอยู่ให้นำไปตรวจสอบด้วยน้ำยาแบเรียมคลอไรด์ หรือซิลเวอร์ไนเตรด ถ้าได้ตะกอนขาวขุ่นมากแสดงว่ามีกรดกำมะถันหรือกรดเกลือผสมอยู่ ถ้าเมื่อใส่เมทิลไวโอเลตแล้วน้ำยาไม่เปลี่ยนสีมากอย่างเห็นได้ชัดแสดงว่าเป็นน้ำส้มสายชู

    5. สังเกตลักษณะของพริกดองในน้ำส้มสายชู ถ้าเป็นน้ำส้มสายชูปลอมส่วนของน้ำส้มที่อยู่เหนือพริกจะขุ่น เนื้อพริกมีสีซีดขาว เปื่อยยุ่ย แสดงว่าน้ำส้มสายชูมีความเป็นกรดสูงเกินไป ไม่ปลอดภัยต่อการบริโภค

    อย่างไรก็ตาม แม้ว่าเรารู้วิธีในการเลือกซื้อและทดสอบน้ำส้มสายชูแท้ว่าเป็นอย่างไร เพื่อความปลอดภัยในการบริโภคแล้ว ยังมีสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงอีก เช่น ร้านอาหาร เจ้าของร้านบางคนที่นิยมนำน้ำส้มสายชูปลอมมาประกอบอาหารหรือให้ลูกค้าปรุงรส เพราะมีราคาถูกมาก ดังนั้นก่อนบริโภคต้องสังเกตว่าร้านอาหารนั้นใช้น้ำส้มสายชูประเภทใด ลักษณะของพริกดองเป็นอย่างไร ถ้าดูแล้วไม่ชอบมาพากลก็อย่าไปเติมน้ำส้มสายชูเลย รวมถึงอันตรายจากภาชนะที่ใช้ใส่หรือตักน้ำส้ม-สายชู ซึ่งมีข้อห้ามอย่างเด็ดขาดว่า "ไม่ควรใส่หรือตักน้ำส้มสายชูด้วยภาชนะพลาสติก" เพราะน้ำส้มสายชูอาจทำปฏิกิริยากับพลาสติกเป็นสารพิษที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้ ดังนั้นการบริโภคน้ำส้มสายชูให้ปลอดภัยก็ควรจะตรึกตรองให้ถ้วนถี่ หรือจะใช้วิธีหลีกเลี่ยงการบริโภคน้ำส้มสายชูที่ท่านไม่แน่ใจว่าจะแท้หรือไม่ได้โดยการใช้สิ่งอื่นที่ได้จากธรรมชาติที่ให้รสเปรี้ยวเหมือนกัน เช่น มะนาว มะม่วง และมะขาม เป็นต้น
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    หลังจากไปโชว์ที่ชมรมมาแล้ว ก็นำมาลงที่นี่ด้วย

    ขอโชว์บ้างครับ

    พระบูชา (วังหน้า)

    [​IMG]

    [​IMG]




    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    [​IMG]

    เห็นด้วยอย่างยิ่งยวดครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>







    สำหรับคุณnongnooo ได้เลยครับ จัดให้

    น้ำมะนาว เปรี้ยวจี๊ด [​IMG]

    แต่ผมว่า จัดให้เป็นพิเศษดีกว่า

    น้ำส้มสายชู เปรี้ยวจี๊ดจ๊าด สะใจกว่า
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ก็ผมเป็นห่วง [​IMG] เลยนำเรื่องการบริโภคมามอบให้ด้วยไงครับ คิคิคิ
    [​IMG]

    .
     
  18. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ไป่ฟาไป่จ้ง (百发百中) : ยิง 100 ครั้ง ตรงเป้าทั้ง 100
    http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9510000116426

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>7 ตุลาคม 2551 21:46 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=350>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>(bǎi) อ่านว่า ไป่ แปลว่า 100
    (fā) อ่านว่า ฟา แปลว่า ส่งออกไป (ในที่นี้หมายถึง ยิง)
    (zh&ograve;ng) อ่านว่า จ้ง แปลว่า ตรงพอดี ถูกพอดี

    หยั่งโหยวจี เป็นแม่ทัพที่โด่งดังแห่งรัฐฉู่ในสมัยชุนชิว ทั้งยังเป็นนักยิงธนูฝีมือฉกาจ จนมีนามกระเดื่องอยู่ในประวัติศาสตร์จีนผู้หนึ่ง

    ครั้งหนึ่งอ๋องฉู่กงแห่งรัฐฉู่ ถูกลูกธนูของแม่ทัพเว่ยฉีแห่งรัฐจิ้นยิงทำร้ายจนได้รับบาดเจ็บที่ดวงตา เกิดความเคียดแค้นเป็นอันมาก จึงได้มอบลูกธนูให้หยั่งโหยวจี 2 ดอกเพื่อนำไปใช้แก้แค้นให้ตนเอง ผลที่สุดหยั่งโหยวจีใช้ลูกธนูไปเพียงดอกเดียวก็สามารถสังหารแม่ทัพเว่ยฉีได้ และคืนลูกธนูที่เหลืออีก 1 ดอกให้กับอ๋องรัฐฉู่

    ทั้งนี้ ในรัชสมัยของอ๋องฉู่กง ยังมีนักแม่นธนูอีกผู้หนึ่ง นามว่า พานตั่ง ซึ่งสามารถยิงลูกธนูไปที่ใจกลางเป้าธนูมิเคยพลาด หยั่งโหยวจีกล่าวกับพานตั่งว่า "ฝีมือเช่นนี้ยังไม่นับเป็นอะไรได้ หากพอจะนับได้ว่ามีฝีมือ ท่านต้องอยู่ในระยะไกลกว่า 100 ก้าวแล้วสามารถยิงธนูทะลุใบหลิวอย่างแม่นยำไม่ผิดพลาด"

    พานตั่งไม่เชื่อว่าจะมีผู้ทำได้ จึงได้จัดการทดสอบขึ้น โดยเขียนตัวเลข 1,2, 3 กำกับไว้ที่ใบหลิว 3 ใบ แล้วให้หยั่งโหยวจียิงธนู ผลปรากฏว่าหยั่งโหยวจีใช้ธนู 3 ดอกยิงออกไป ดอกแรกยิงทะลุใบหลิวหมายเลข 1 ดอกที่ 2 ยิงทะลุใบหลิวหมายเลข 2 ดอกที่ 3 ยิงทะลุใบหลิวหมายเลข 3 อย่างแม่นยำ ดังนั้นผู้คนจึงใช้คำว่า
     
  20. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    ผมเชื่อว่ามาแน่ครับ จะรอดูอยู่ครับ;aa20
     

แชร์หน้านี้

Loading...