ประกาศข่าวแผ่นดินไหว(&การคาดการณ์)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กันยายน 2006.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table bgcolor="#ffffff" border="1" cellpadding="2" cellspacing="0"><tbody><tr align="center"><td colspan="9" align="center"> Number of Earthquakes Worldwide for 2000 - 2007
    Located by the US Geological Survey National Earthquake Information Center


    </td> </tr> <tr align="right"> <th> Magnitude </th> <th>2000</th><th>2001</th><th>2002</th><th>2003</th><th>2004</th><th>2005</th><th>2006</th> <th>2007</th> </tr> <tr bgcolor="#cccccc"><td colspan="9">
    </td></tr> <tr align="right"> <td>8.0 to 9.9</td><td>1</td><td>1</td><td>0</td><td>1</td> <td> 2 </td> <td> 1 </td> <td> 2 </td> <td> 4 </td> </tr> <tr align="right"> <td>7.0 to 7.9</td><td>14</td><td>15</td><td>13</td><td>14</td> <td> 14 </td> <td> 10 </td> <td> 9 </td> <td> 13 </td> </tr> <tr align="right"> <td>6.0 to 6.9</td><td>158</td><td>126</td><td>130</td><td>140</td> <td> 141 </td> <td> 140 </td> <td> 142 </td> <td> 166 </td> </tr> <tr align="right"> <td>5.0 to 5.9</td><td>1345</td><td>1243</td><td>1218</td><td>1203</td> <td> 1515 </td> <td> 1693 </td> <td> 1712 </td> <td> 1702 </td> </tr> <tr align="right"> <td>4.0 to 4.9</td><td>8045</td><td>8084</td><td>8584</td><td>8462</td> <td> 10888 </td> <td> 13917 </td> <td> 12838 </td> <td> 11541 </td> </tr> <tr align="right"> <td>3.0 to 3.9</td><td>4784</td><td>6151</td><td>7005</td><td>7624</td> <td> 7932 </td> <td> 9191 </td> <td> 9990 </td> <td> 8918 </td> </tr> <tr align="right"> <td>2.0 to 2.9</td><td>3758</td><td>4162</td><td>6419</td><td>7727</td> <td> 6316 </td> <td> 4636 </td> <td> 4027 </td> <td> 3322 </td> </tr> <tr align="right"> <td>1.0 to 1.9</td><td>1026</td><td>944</td><td>1137</td><td>2506</td> <td> 1344 </td> <td> 26 </td> <td> 18 </td> <td> 38 </td> </tr> <tr align="right"> <td>0.1 to 0.9</td><td>5</td><td>1</td><td>10</td><td>134</td> <td> 103 </td> <td> 0 </td> <td> 2 </td> <td> 1 </td> </tr> <tr align="right"> <td>No Magnitude</td><td>3120</td><td>2938</td><td>2937</td><td>3608</td> <td> 2939 </td> <td> 864 </td> <td> 828 </td> <td> 1687 </td> </tr> <tr bgcolor="#cccccc"><td colspan="9">
    </td></tr> <tr align="right"> <td>Total</td><td> 22256</td><td>23665</td><td>27453</td><td>31419</td> <td> 31194 </td> <td> * 30478 </td> <td> * 29568 </td> <td> * 27392 </td> </tr> <tr bgcolor="#cccccc"><td colspan="9">
    </td></tr> <tr align="right"> <td>Estimated
    Deaths</td><td>231</td><td>21357</td><td>1685</td> <td> 33819 </td> <td> 228802 </td> <td> 82364 </td> <td> 6605 </td> <td> 709</td></tr></tbody></table>

    ถ้าดูตามสถิตินะ แผ่นดินไม่ได้ไหวมากขึ้นหรอก แต่ไหวแรงขึ้น
     
  2. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    ก็แรงนั่นละคะ ที่หวาดเสียว....แทนคนใกล้ทะเล
    ไม่แรงจะไปวิตกทำไม
     
  3. boko0121

    boko0121 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +7,736
  4. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    2008-01-01 01:01:19.8 - 4.8 27.78 N 140.06 E ----- Bonin Islands, Japan Region

    2007-12-31 22:00:32.7 - 4.8 13.68 N 90.73 W ----- Near Coast of Guatemala

    2007-12-31 19:26:28.0 - 4.6 41.30 N 71.93 E ----- Kyrgyzstan

    2007-12-31 18:23:38.7 - 5.0 41.08 N 72.01 E ----- Kyrgyzstan

    2007-12-31 17:07:15.0 - 4.5 24.27 S 179.95 W ----- South of Fiji Islands

    2007-12-31 16:05:55.4 - 4.3 44.11 N 18.34 E ----- NW Balkan Region

    2007-12-31 14:59:31.5 - 4.5 18.76 N 145.71 E ----- Mariana Islands

    2007-12-31 14:40:00.3 - 5.0 27.38 N 140.36 E ----- Bonin Islands, Japan Region

    2007-12-31 12:41:54.2 - 4.5 12.48 N 88.87 W ----- Off Coast of Central America

    2007-12-31 10:55:02.8 - 3.8 37.07 N 29.20 E ----- Turkey

    2007-12-31 10:40:10.5 - 4.0 38.39 N 26.00 E ----- Aegean Sea

    2007-12-31 10:39:44.2 - 5.1 14.80 S 75.44 W ----- Near Coast of Peru

    2007-12-31 10:04:59.8 - 3.7 44.60 N 10.27 E ----- Northern Italy

    2007-12-31 09:36:08.8 - 4.8 9.20 S 114.23 E ----- South of Bali, Indonesia

    2007-12-31 06:30:53.2 - 4.7 46.71 N 152.65 E ----- Kuril Islands

    เวลาเป็น UTC ,ประเทศไทย UTC+7 ...ไหวถี่ นิ...
     
  5. boko0121

    boko0121 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +7,736
  6. golf208

    golf208 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    466
    ค่าพลัง:
    +5,454
    คุณ boko0121 อยู่ทั้งคืนเลยหรือครับ เห็นกำลังใจท่านสูงดีนะ โมทนาสาธุด้วยครับ

    ตัวผมเองก็ยังไม่ได้นอนเหมือนกันครับ คอยดูอยู่เงียบๆครับ
     
  7. boko0121

    boko0121 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +7,736
    ก็นิดหน่อยครับ เพราะช่วงนี้ว่างครับ
    แต่ถ้าช่วงไม่ว่างละก็หายเงียบเลยครับผ ม!

    (good)
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    ใช่แล้วครับพี่อ๋อ ทราบมาว่ามีปริมาณของลาวามหาศาลใต้พื้นดิน และมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของธรณีวิทยาของเปลือกโลกด้วย
    น่าจับตามองทีเดียว ถ้าเกิดภูเขาไฟระเบิดเกิดระเบิดขึ้นมา ลาวาและเถ้าถ่านมหาศาลจะพวยพุ่งขึ้นไปสู่ชั้นบรรยากาศสูงจากพื้นดินเกือบพันกิโลเมตรเลยครับ
    ยุคน้ำแข็งมีสิทธิ์เกิดครับ(tm-love)

     
  9. boko0121

    boko0121 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +7,736
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ไหวฉลองปีใหม่ ที่พม่า 4.1 ริกเตอร์

    <TABLE cellSpacing=0 align=center border=1><TBODY><TR><TH width=85>วันที่</TH><TH width=45>เวลา</TH><TH width=55>latitude</TH><TH width=55>longitude</TH><TH width=45>ขนาด</TH><TH width=125>บริเวณที่เกิด</TH><TH width=175>ข้อมูลอื่น ๆ</TH></TR><TR><TD align=middle>01-01-2551</TD><TD align=middle>15:06</TD><TD align=middle>21.475</TD><TD align=middle>100.016</TD><TD align=middle>4.1</TD><TD align=left>ประเทศพม่า</TD><TD align=left>- ห่างจาก อ.แม่สาย จ.เชียงราย ไปทางทิศเหนือ 117 กม.</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. ยาล้างตา

    ยาล้างตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กันยายน 2007
    โพสต์:
    494
    ค่าพลัง:
    +3,539
    Earthquake Details

    <!-- DetailsMiscTop %DetailsMiscTop% --><TABLE id=parameters cellSpacing=1 minmax_bound="true"><TBODY minmax_bound="true"><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Magnitude</TH><TD minmax_bound="true">5.2</TD></TR><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Date-Time</TH><TD minmax_bound="true">
    • <LI minmax_bound="true">Wednesday, January 02, 2008 at 08:42:29 UTC
    • Wednesday, January 02, 2008 at 05:42:29 AM at epicenter
    </TD></TR><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Location</TH><TD minmax_bound="true">23.002°S, 70.388°W</TD></TR><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Depth</TH><TD minmax_bound="true">24.8 km (15.4 miles) set by location program</TD></TR><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Region</TH><TD minmax_bound="true">OFFSHORE ANTOFAGASTA, CHILE</TD></TR><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Distances</TH><TD minmax_bound="true">
    • <LI minmax_bound="true">74 km (46 miles) N (360°) from Antofagasta, Chile <LI minmax_bound="true">161 km (100 miles) WSW (249°) from Calama, Chile <LI minmax_bound="true">307 km (191 miles) S (185°) from Iquique, Chile
    • 1168 km (726 miles) N (1°) from SANTIAGO, Chile
    </TD></TR><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Location Uncertainty</TH><TD minmax_bound="true">horizontal +/- 12.6 km (7.8 miles); depth fixed by location program</TD></TR><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Parameters</TH><TD minmax_bound="true">Nst= 53, Nph= 53, Dmin=157.5 km, Rmss=1 sec, Gp=158°,
    M-type=body magnitude (Mb), Version=7 </TD></TR><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Source</TH><TD minmax_bound="true"></TD></TR><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true">Event ID</TH><TD minmax_bound="true">us2008lsaj</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. ยาล้างตา

    ยาล้างตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กันยายน 2007
    โพสต์:
    494
    ค่าพลัง:
    +3,539
    [​IMG]
     
  13. boko0121

    boko0121 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +7,736
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    พงศาวดารไทยระบุ แผ่นดินไหวพ.ศ.690 โยนกนครจมบาดาล ในพื้นที่จ.เชียงราย

    นายอดิศร ฟุ้งขจร รักษาการหัวหน้าสถานีตรวจวัดแผ่นไหวเชียงใหม่ เปิดเผยว่า จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในประเทศไทย พบว่าเกิดมานานแล้ว

    แต่ที่มีการบันทึกไว้ในพงศาวดารของทางราชการที่ได้รับผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหว คือ ประมาณปี พ.ศ. 690 ซึ่งตรงกับวันอังคาร เดือน 8 ขึ้น 14 ค่ำ ที่ละติจูด 20.25 องศาเหนือ ลองจิจูด 100.08 องศาตะวันออก ทำให้เมืองโยนกนครล่มสลาย ซึ่งปัจจุบันอยู่ในพื้นที่อำเภอเชียงแสน จ.เชียงราย โดยมีการบันทึกเหตุการณ์ไว้ในพงศาวดารว่า "สุริยอาทิตย์ ก็ตกไปแล้วก็ได้ยินเสียง เหมือนดั่งแผ่นดินดังลั่นสนั่นหวั่นไหว ประดุจว่าเวียงโยนกนครที่นี้จักเคลื่อนจักพังไปนั้น แล้วก็ยุบจมลงหายไป กลายเป็นหนองน้ำทั้งคนและเมืองวินาศฉิบหายไปสิ้น" จึงสันนิษฐานว่า ปัจจุบันเมืองโยนกนคร หรือเวียงหนองหล่ม

    น่าจะจมหนองน้ำอยู่ในอำเภอเชียงแสน
    นายอดิศร ยังกล่าวถึงกว๊านพะเยา จ.พะเยา ว่า เกิดจากรอยต่อของรอยเลื่อนพะเยา และรอยเลื่อนปัว เขตจังหวัดน่าน มาชนกัน ทำให้เกิดหนองน้ำขนาดใหญ่ และการที่จังหวัดจะกู้วัดติโลการาม จมอยู่ใต้น้ำนั้น ไม่ได้มีสาเหตุมาจากแผ่นดินไหวที่ทำให้วัดจมอยู่ใต้น้ำ และไม่ได้มีการบันทึกไว้ในพงศาวดาร ซึ่งน่าจะเกิดจากการสร้างเขื่อน ทำให้น้ำท่วมในพื้นที่ลุ่มจนจมอยู่ใต้น้ำเหมือนกับการสร้างเขื่อนหลายแห่ง แต่ในส่วนของเมืองโยนก มีการบันทึกไว้ชัดเจน หากทางราชการจะขุดค้น ควรจะค้นหาเมืองโยนก มากกว่า

    และยังเชื่อว่าเหตุแผ่นดินไหวในอดีตมีผลกระทบกับประเทศไทย
    นายอดิศร กล่าวว่า ปัจจุบัน ประเทศไทยยังมีรอยเลื่อนอีกกว่า 10 แห่ง

    ที่ยังมีพลังงานอยู่ ล่าสุด เมื่อ 3วันก่อน เกิดแผ่นไหวบริเวณพรมแดนพม่าและลาว ขนาด 5.3ริกเตอร์ และมีอาฟเตอร์ช็อกอีกหลายครั้ง ทำให้รู้สึกได้ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และอีกหลายพื้นที่ภาคเหนือ แต่ไม่รายงานความเสียหายรุนแรง

    ด้าน นายพิจิตต รัตตกุล ผู้อำนวยการบริหารศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชีย(ADPC)อดีตผู้ว่ากทม.กล่าวถึงสถานการณ์ภาวะโลกร้อนว่า ปัจจุบันนี้ในสังคมหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยหันมาให้ความสนใจกับเรื่องนี้มากขึ้น และพยายามหาทางแก้ปัญหาด้วยการจัดประชุมและจัดกิจกรรม ทั้งนี้ มีการศึกษาพบว่าในพื้นที่ กทม. น่าเป็นห่วง เพราะปัจจุบันพื้นดินอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลางเพียง 45 เซนติเมตร แต่อุณหภูมิที่สูงขึ้นเพราะภาวะโลกร้อนจะทำให้อุณหภูมิสูง ลมแรง น้ำสูง ระดับน้ำจะค่อย ๆ สูงขึ้นเสมอพื้นดิน

    ในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้าเมื่อฝนตกเพียงเล็กน้อยจะทำให้น้ำท่วมพื้นที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาและคูคลองต่าง ๆ อย่างน้อยร้อยละ 50 ระดับอุทกภัย วาตภัยและภัยธรรมชาติรูปแบบต่าง ๆ จะรุนแรงขึ้น

    นายพิจิตต กล่าวอีกว่า ดังนั้น จะต้องคิดค้นวิธีป้องกันอุบัติภัยพร้อม ๆ กับเรื่องที่มนุษย์จะต้องเรียนวิธีปรับตัวอยู่กับธรรมชาติให้ได้ อย่างไรก็ตาม การหาวิธีแก้ปัญหาโลกร้อนของเมืองไทยนั้นจะต้องทำอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่พูดกันคนละทีสองที ที่สำคัญรัฐบาลจะต้องเป็นแกนนำวางยุทธศาสตร์ระยะยาวเพื่อวางทิศทางการศึกษาและทำงานเรื่องนี้อย่างจริงจัง

    วันที่ 11/6/2007




    http://www.dmr.go.th/news_dmr/data/2156.html
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table><tbody> <tr> <td>
    </td></tr> <tr> <td>นักธรณีวิทยาจุฬาชี้11 จุดเสี่ยงรอยเลื่อนแผ่นดินไหว รศ.ดร.ปัญญาจารุศิริ ภาควิชาธรณีวิทยาคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หนึ่งในคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติกล่าวถึงความคืบหน้าในการติดตามการเกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดียและรอยเลื่อนต่าง ๆ ในประเทศไทยว่า ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาสังเกตุได้ว่าเหตุการณ์แผ่นดินไหวเกิดขึ้นจากการเลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกอินเดียและยูเรเซียจนทำให้เกิดแผ่นดินไหวในประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาทิ ปากีสถาน อัฟกานิสถาน จีน และภาคเหนือของไทย

    " แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในช่วง 6 เดือนหนังนี้เกิดขึ้นเพราะการเลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกอินเดียและยูเรเซียซึ่งปลดปล่อยพลังงานออกมาอย่างมหาศาล จนเกิดการสั่นสะเทือนบนทวีปในประเทศปากีสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศจีนและตอนเหนือของประเทศไทย ซึ่งต้องคอยจับตามดูการเกิดแผ่นดินไหวที่เทือกเขาหิมาลัย ไล่ลงมาเรื่อยยังเกาะการากันยูมา และหมู่เกาะสุมาตราซึ่งอาจเกิดการสั่นสะเทือนที่รุนแรง " รศ.ดร.ปัญญา กล่าว

    สำหรับการสั่นไหวของรอยเลื่อนต่างๆ ในประเทศไทย รศ.ดร.ปัญญา บอกว่า ขณะนี้ยังไม่สามารถบอกได้ว่ารอยเลื่อนไหนที่เป็นจุดล่อแหลมต่อการเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง เนื่องจากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนในประเทศไทยอย่างจริงจัง เพราะขาดงบประมาณ รวมทั้งนักวิจัยไม่เพียงพอที่จะลงมาศึกษาด้านนี้ กระนั้นก็ดีจากการศึกษาในเบื้องต้นพบว่าประเทศไทยมีรอยเลื่อนที่ต้องศึกษาเพิ่มเติมอีก 11 รอยเลื่อนทั่วประเทศซึ่งคาดว่ายังคงพลัง โดยเฉพาะรอยเลื่อนแม่จันทร์ซึ่งคาดว่าอาจเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง เนื่องจากข้อมูลทางประวัติศาสตร์ระบุว่าบริเวณนี้เคยเป็นอาณาจักรโยนกนครแล้วเกิดแผ่นดินล่มสลายลง กระนั้นก็ดียังต้องศึกษาในเชิงลึกอีกต่อไป

    นอกจากนี้ยังมีรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ในจังหวักาณจนบุรีและรอยเลื่อมแม่ปิงในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงรายซึ่งคาดว่ายังมีพลังอยู่และเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง

    " เราไม่สามารถบอกได้ว่าแผ่นดินไหวมันจะเกิดขึ้นที่ไหนและเมื่อไหร่ ตอนนี้เรารู้แต่เพียงว่ารอยเลื่อนที่เราพบมันมีพลังและอาจเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง " รศ.ดร.ปัญญากล่าว

    เขากล่าวอีกว่าแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในจังหวัดเชียงรายในช่วงที่ผ่านมานั้น ถือว่าเป็นการเกิดขึ้นครั้งแรกในรอบ 40 ปีซึ่งที่ผ่านมานักวิชาการส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสนใจรอยเลื่อนบริเวณแถบนี้มากนัก เนื่องจากไม่คาดคิดว่าจะรอยเลื่อนในบริเวณจังหวัดเชียงรายจะยังคงมีพลัง อันเป็นผลมาจากการสั่นสะเทือนจากบริเวณแผ่นเปลือกโลกในมหาสมุทรอินเดีย

    " ผมยอมรับนะครับว่าที่ผ่านมาเราไม่ค่อยให้ความสำคัญต่อรอยเลื่อนในบริเวณภาคเหนือ เราชะล่าใจมาก เมื่อเกิดขึ้นแล้วเราถึงดูว่าเกิดอะไรขึ้น ดังนั้นเราควรหันมาศึกษารอยเลื่อนในประเทศอย่างจริงจัง แต่ก็ยังติดปัญหาเรื่องงบประมาณและจำนวนนักวิจัยเพราะทั้งประเทศมีแค่ 4 คนเท่านั้นเอง 2 คนอยู่ที่กรมทรัพยากรธรณีและอีก 2 คนอยู่ที่จุฬา ฯ " นักวิจัยด้านธรณีวิทยากล่าว

    กระนั้นก็ดีผลกระทบจากแผ่นดินไหวทำให้หลายฝ่ายเริ่มหันมาทบทวนถึงความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของตัวเองมากขึ้น โดยมีความพยายามออกกฎระเบียบมาควบคุมการก่อสร้างอาคารให้มีความปลอดภัยมากเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะตึกสูงจากแผ่นดินไหว แต่ดูเหมือนว่าความพยายามนี้ไม่คืบหน้าเท่าที่ควร หลังจากระยะเวลาผ่านไปหนึ่งปีนับจากเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิซัดถล่มชายฝั่งอันดามันและเหตุการณ์แผ่นดินไหวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย

    " เราพยายามผลักดันให้ร่างกฎระเบียบควบคุมการก่อสร้างอาคารและตึกสูงให้มีความปลอดภัยมากเพิ่มขึ้น โดยปรับปรุงโครงสร้างที่สามารถต้านแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ เราพยายามจะให้คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติเคาะโต๊ะผ่านร่างนี้ออกมาจะได้ประกาศเป็นกฎกระทรวง แต่เรื่องก็ยังติดอยู่ที่คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติซึ่งทางสภาวิศวกรรมแห่งประเทศไทยเองก็มีข้อมูลทางวิศวกรมายืนยันถึงความเสี่ยงอันเกิดจากแผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร แต่ก็ไม่ผ่านสักที " รศ.ดร.ปัญญากล่าวทิ้งท้าย




    http://www.myscientists.com/news_articles/index.php?id=215



    </td></tr></tbody></table>
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    พลิกทฤษฎีกรุงเทพฯยังอยู่ในเขตอันตราย
    โครงสร้างดินไม่รับแผ่นดินไหวระยะไกล
    Monday, September 22, 2003
    By MGR ONLINE

    ผู้จัดการรายวัน- ตัวเลขจากศูนย์ตรวจสอบแผ่นดินไหวโลก-อเมริกา
    ระบุระยะทางจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวที่พม่าห่างกรุงเทพฯถึง 855 ก.ม.
    ซึ่งตามทฤษฎีจะไม่กระทบถึงหมายถึงว่าโครงสร้างดินมีปัญหาแม้จะไม่อยู่ในเขตแต่ก็จะมีผลกระทบ
    ยังตรวจสอบไม่ได้ว่ารอบแรกเป็น เมนช็อค หรือไม่ มีความเป็นไปได้ที่จะมีการไหวระดับสูงกว่าหลังจากนี้


    U.S. Geological Survey Earthquake Hazards Program ศูนย์ข้อมูลแผ่นดินไหวนานาชาติ
    ซึ่งเป็นเครือข่ายรายงานแผ่นดินไหวทั่วโลก ได้รายงานผลการตรวจสอบแผ่นดินไหวที่ประเทศพม่า เมื่อคืนวันที่
    21 ก.ย. ที่ผ่านมาว่า มีระดับความรุนแรง 6.5 แมกนีจูด ตามมาตราริกเตอร์ ตรงกับเวลา 0:46:12 น. ของวันที่
    22 ก.ย. ตามเวลาท้องถิ่น พิกัด 19.909 องศาเหนือ , 95.718องศาตะวันออก
    ห่างจากเมืองตองยีทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 170 ก.ม. และห่างจากกรุงย่างกุ้งทางไปทางทิศเหนือ 350 ก.ม.

    รายงานชุดเดียวกันนั้นระบุว่า ศูนย์กลางแผ่นดินไหวห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 855
    ก.ม.( 530ไมล์)

    ก่อนหน้านี้เคยมีการตั้งข้อสงสัยว่า แผ่นดินไหวที่เกาะสุมาตราเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2546
    ที่ผ่านมาซึ่งส่งให้คนกรุงเทพฯ รู้สึกได้อาจจะเป็นเพราะโครงสร้างดินของกรุงเทพฯ มีปัญหา
    ขณะที่ตามทฤษฎีแล้วขนาดของแผ่นดินไหวแต่ละระดับ จะมีระยะทางของแรงสั่นสะเทือนเป็นรัศมีไม่เท่ากัน

    เช่นขนาดแผ่นดินไหว 3-3.9 ริกเตอร์ จะมีรัศมีประมาณ 24 ก.ม. , 4-4.9 ริกเตอร์ ระยะทาง 48 ก.ม. ,
    5-5.9 ริกเตอร์ 112 ก.ม.6-6.9 ริกเตอร์ รัศมีอยู่ที่ 200 ก.ม. และ 7-7.9 ริกเตอร์ อยู่ที่ 400 ก.ม.

    การที่แผ่นดินไหวระดับ 6.5-6.7 ริกเตอร์ในรอบนี้สามารถรู้สึกได้ที่เชียงใหม่
    ถือเป็นเรื่องปกติตามทฤษฎี แต่สำหรับกรุงเทพฯ ซึ่งห่างออกไปถึง 855 ก.ม.
    กลับมีผลกระทบถึงระดับที่ทำให้ตึกร้าวนั้น จะต้องมีปัจจัยพิเศษมาช่วย

    ในทางทฤษฎีระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว มีความสัมพันธ์กับอัตราเร่งของพื้นดิน
    ซึ่งค่าอัตราเร่งจากตารางนี้จะแตกต่างกัน ตามสภาพทางธรณีวิทยาในแต่ละท้องถิ่น เช่น
    บริเวณดินอ่อนจะมีค่าอัตราเร่งของพื้นดินสูงกว่าบริเวณดินแข็ง แต่วิธีที่ดีที่สุดในการหาอัตราเร่งคือ
    ค่าที่ได้จากเครื่อง SMA เพื่อจะคำนวณการก่อสร้างอาคาร ณ จุดใดจุดหนึ่ง

    การศึกษาของ ผศ.ดร. ปัญญา จารุศิริ จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง
    "แผ่นดินไหวในประเทศไทยและผืนแผ่นดิน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้"
    โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ได้ทำการศึกษาประวัติการเกิดแผ่นดินไหวในภูมิภาคนี้
    จากอดีตถึงปัจจุบัน และพบหลักฐานที่สำคัญว่า ครั้งหนึ่งประเทศไทยเคยเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่
    ที่อาจเป็นคำตอบของการล่มสลายของอาณาจักรโยนกนคร ในปี พ.ศ.1003รวมถึงแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่นครเชียงใหม่
    ในปี พ.ศ.2088 จนยอดเจดีย์หลวงสูง 86 เมตร พังลงมา คงเหลือยอดที่สูงเพียง 60 เมตร
    รวมถึงค้นพบแผ่นดินไหวในภูมิภาคนี้อีกหลายครั้ง

    ดร.ปัญญาได้สรุปข้อปัญหาของกรุงเทพฯ จากการศึกษาครั้งนี้ว่า กรุงเทพฯ
    แม้จะอยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อแผ่นดินไหวต่ำ แม้จะไม่เคยมีปรากฎการณ์แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในช่วง 200
    กว่าปีที่ผ่านมาก็ตาม แต่ก็ใช่ว่าจะไม่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว
    อีกทั้งโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล ที่ประกอบด้วยตึกสูงเป็นจำนวนมาก

    ดร.ปัญญาตั้งข้อสังเกตว่า เพราะชั้นดินอ่อนของกรุงเทพและปริมณฑลนั้น
    สามารถขยายการสั่นไหวจากแผ่นดินไหวได้ 3-4 เท่า ซึ่งเห็นได้จากแผ่นดินไหวที่เกาะสุมาตรา
    ผู้ที่อยู่บนตึกสูงในกรุงเทพฯ ซึ่งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางนับพันกิโลเมตร
    ยังสามารถรับรู้ถึงความรุนแรงของพิบัติภัยครั้งนี้ได้

    เพราะฉะนั้น หากเกิดแผ่นดินไหวในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพฯ
    หรือรอยเลื่อนในบริเวณใกล้เคียงในความรุนแรงที่มากพอ ตึกสูงทั้งหลายที่สร้างขึ้น
    โดยไม่ได้คำนวณความเสี่ยงจากแผ่นดินไหวไว้ อาจพังลงมาเนื่องจากตัวเสาคอนกรีต
    (โดยเฉพาะเหล็กเส้นที่รับน้ำหนักตึก) ไม่สามารถทนแรงสั้นสะเทือนได้
    ตึกทั้งหลังอาจถล่มลงมาทำความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวง

    โดยมองว่าปกติแล้ว ในการก่อสร้างอาคารโดยทั่วไป
    เสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่ใช้เป็นตัวรับน้ำหนักของทั้งตึก
    จะประกอบไปด้วยเหล็กเส้นที่ก่อขึ้นเป็นตัวโครงของเสา อันมีเหล็กยืนที่จะตั้งตรงขนานกับเสา
    และเหล็กปลอกที่จะเป็นการดัดเหล็ก เป็นทรงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผูกโอบเหล็กยืนเป็นช่วง ๆ ซึ่งในประเทศไทย
    ปลายด้านทั้งสองของเหล็กปลอก ที่ดัดเข้ามาบรรจบกันที่มุมหนึ่ง จะถูกดัดเป็นมุม90 องศา
    ขนานกับไปกับทรงของเหล็กปลอกนั้น ทำให้หากมีแรงกดมาจากด้านบนหรือด้านข้าง เช่น การเกิดแผ่นดินไหว
    โอกาสที่เหล็กปลอกจะอ้าหรือบิดตัวเป็นไปได้ง่าย เสาคอนกรีตต้นนั้นก็ไม่สามารถรับน้ำหนักอาคารได้
    และอาจเกิดการพังทะลายของอาคารหลังนั้น

    เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเดือนก.ค. และล่าสุดเมื่อคืนเช้ามืดของวันที่ 22 ก.ย. นั้นบอกได้ว่า
    กรุงเทพฯ มีความอ่อนไหวต่อการเกิดแผ่นดินไหวจากระยะไกล ทั้งๆ ที่ไม่ได้อยู่ในเขตรัศมี
    หรือในเขตรอยเลื่อนสำคัญ โดยอาจจะมีปัญหาจากโครงสร้างของดินที่อ่อนกว่าพื้นที่อื่น ๆ
    จึงทำให้รับความรู้สึกได้แม้จะห่างจากศูนย์กลางถึง 855 ก.ม. ก็ตาม

    ไม่แน่ว่าเป็นเมนช็อคหรือไม่ ?

    แหล่งข่าวผู้ศึกษาเรื่องแผ่นดินไหวในประเทศไทย
    ซึ่งได้ตั้งข้อสังเกตเรื่องการรับแรงสะเทือนของกรุงเทพฯ ขัดกับทฤษฎีรัศมีผลกระทบแผ่นดินไหว
    สอดคล้องกับข้อสังเกตของดร.ปัญญา จารุศิริ ระบุว่า ขณะนี้คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ
    ซึ่งมีอธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยาเป็นรองประธานฯ ได้รับรายงานข้อมูลทุกอย่างครบแล้ว เหลือเพียงแต่ว่า
    ยังสามารถจะบอกได้ว่า เหตุแผ่นดินไหวที่พม่ากลางดึกคืนวันที่ 21 ก.ย. นั้นเป็น เมนช็อค หรือ โฟร์ช็อค
    (ไหวก่อนการเกิดแผ่นดินไหวหลัก) เพราะจะต้องรอสังเกตจากปรากฏการณ์จริง

    หากว่า มีการไหวซ้ำในจุดเดียวกันมีระดับน้อยกว่าครั้งแรก เรียกว่า อาฟเตอร์ช็อค
    แต่หากมีการไหวในจุดเดียวกันและมีขนาดใหญ่กว่า แสดงว่า การไหวครั้งแรกเป็นแค่ โฟร์ช็อค และครั้งหลังเป็น
    เมนช็อค ซึ่งอาจจะมีอาฟเตอร์ช็อคตามมาอีกก็ได้ ในทางทฤษฎี อาฟเตอร์ช็อคจะไม่ได้เกิดขึ้นเสมอไป
    โดยอาจจะเกิดหรือไม่เกิดก็ได้ แต่หากครั้งแรก 6.7 ริกเตอร์ที่วัดได้เป็นแค่โฟร์ช็อคก็เท่ากับว่า
    การไหวรอบต่อไปจะมีความรุนแรงมากขึ้นด้วย

    วงวิชาการซุ่มรับมือแผ่นดินไหว

    ในวงวิชาการ ได้เริ่มมีการเตรียมการ เพื่อรับมือกับแผ่นดินไหวในประเทศไทยมานานพอสมควร
    เพราะได้เริ่มมีเหตุแผ่นดินไหวขนาดใหญ่เพียงพอ
    ที่สามารถรับความรู้สึกได้ทั้งในประเทศและเพื่อนบ้านหลายครั้ง เช่น14 พ.ย. 2541 เกิดที่ จ.ลำพูน วัดได้
    3 ริกเตอร์, 23 พ.ค. 2541 ที่ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน 4.8 ริกเตอร์ กระทบถึง จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย, 14
    ก.พ. 2541 ที่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 2.5 ริกเตอร์ ยอดฉัตรพระธาตุดอยสุเทพร้าว 15-16 ส.ค. 2542 เกิด 2
    ครั้ง จุดศูนย์กลาง อยู่ในตอนใต้ของพม่า วัดได้ 5.6 ริกเตอร์ กระทบถึง จ.เชียงใหม่
    ดินภูเขาถล่มลงมาปิดถนนที่ อ.เชียงดาว

    นอกจากภาคเหนือยังมีในแถบ ภาคตะวันตก และ ภาคใต้ อย่างเช่นในเดือน ส.ค. 2542 เกิดที่ เกาะภูเก็ต
    3 ครั้ง คือวันที่ 18 ส.ค. ไหว 3 รอบติดต่อกัน วัดได้ 2.1 ริกเตอร์, 25 ส.ค. วัดได้ 2.0 ริกเตอร์ และ 29
    ส.ค. วัดได้ 2.1 ริกเตอร์ จุดศูนย์กลางอยู่ในทะเลอันดามัน ห่างจากเกาะภูเก็ตเพียง 10 กิโลเมตร เป็นต้น

    เมื่อกลางปี 2545 ที่ผ่านมาสกว.ได้ให้ทุนวิจัยในเรื่อง
    "โครงการลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ระยะที่ 1) " ขึ้นโดยมี รศ.ดร.เป็นหนึ่ง
    วานิชชัย จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย(AIT) เป็นหัวหน้าคณะ โดยมีงานวิจัยครอบคลุมในประเด็นต่างๆคือ

    1.การสำรวจรอยเลื่อนที่มีพลัง(Active Fault) ในเขตพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี และลำปาง-แพร่
    เน้นการศึกษาเจาะลึกในรายละเอียด เฉพาะกลุ่มรอยเลื่อนเถิน-แพร่ในภาคเหนือ และรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์
    รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ในภาคตะวันตกของประเทศไทย เพื่อประเมินการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในอดีต
    และอัตราการเคลื่อนตัวของรอยเลื่อน

    2.การสร้างฐานข้อมูลการเกิดแผ่นดินไหว ที่บันทึกได้ด้วยเครือข่ายสถานีวัด
    ด้วยการวิเคราะห์สัญญาณคลื่นการสั่นสะเทือน ที่เกิดจากแผ่นดินไหวทุกเหตุการณ์ พร้อมนำผลการวิเคราะห์
    มาประมวลร่วมกับข้อมูลแผ่นดินไหวของพื้นที่เดียวกัน ที่ได้จากเครือข่ายสถานีวัดอื่นๆ
    และจัดทำศูนย์ข้อมูลแผ่นดินไหวของประเทศไทย

    3.การตรวจวัดและศึกษาคุณสมบัติเชิงพลศาสตร์ ของอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร
    เป็นการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของอาคารที่อยู่ตลอดเวลาในธรรมชาติ ด้วยอุปกรณ์วัดที่มีความไวสูง
    โดยตรวจวัดอาคารสูงในเขตกรุงเทพฯที่มีรูปทรง ขนาด ลักษณะโครงสร้างและลักษณะการใช้สอยที่แตกต่างกัน
    นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยเทคนิคที่เหมาะสมเพื่อหาความถี่ธรรมชาติ รูปแบบของการสั่นสะเทือน
    เพื่อหาวิธีประเมินคุณสมบัติเชิงพลศาสตร์ของอาคารที่ถูกต้อง
    โดยการวิเคราะห์แบบจำลองคอมพิวเตอร์ของอาคาร

    4.การประเมินระดับความต้านทานแผ่นดินไหว ของอาคารในกรุงเทพมหานคร
    และศึกษาหาวิธีปรับปรุงอาคารวิธีปรับปรุงอาคารที่อ่อนแอ ให้มีความต้านทานแผ่นดินไหวในระดับที่เหมาะ

    5.การศึกษาถึงการเพิ่มความรุนแรงของแผ่นดินไหว เนื่องมาจากสภาพดินในบริเวณกรุงเทพมหานคร
    และจังหวัดเชียงราย เป็นการวิเคราะห์ความสามารถของชั้นดินตะกอน ในการขยายคลื่นแผ่นดินไหว

    หนุนกฎหมายควบคุมอาคารรับแผ่นดินไหว

    ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย แห่งสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียและอนุกรรมการ
    ในคณะอนุกรรมการสาขาผลกระทบจากแผ่นดินไหวและลม สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
    ได้เสนอในบทความเรื่อง ประเทศไทยปลอดภัยจากแผ่นดินไหวจริงหรือ? ตั้งแต่ 2538
    ว่าประเทศไทยมิได้ปลอดภัยจากแผ่นดินไหว อย่างที่ประชาชนส่วนใหญ่เชื่อกัน

    ปัญหาสำคัญ คือ ในปัจจุบันประเทศไทยเรายังไม่มีกฎหมาย
    หรือข้อกำหนดให้มีการออกแบบอาคารต้านแรงแผ่นดินไหว อาคารส่วนใหญ่ในประเทศ จึงได้รับการออกแบบก่อสร้าง
    โดยมิได้คำนึงถึงผลกระทบของแผ่นดินไหว อาคารส่วนใหญ่จึงมีลักษณะที่อ่อนแอ
    ไม่สมารถทนการรับแรงโยกไปมาของแผ่นดินไหวได้มากนัก หากเกิดมีแผ่นดินไหวขนาดกลาง ๆ
    เกิดขึ้นใต้เมืองหรือใกล้ ๆ เมืองมาก ก็เป็นไปได้ว่าจะมีโครงสร้างอาคารจำนวนมากแตกร้าว เสียหายรุนแรง
    จนอาจถึงขั้นถล่มทลายลงมาได้

    เหตุลักษณะเดียวกันเคยเกิดมาแล้วในต่างประเทศ เช่น ดังที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในหลาย ๆ ประเทศ
    ตัวเมืองอากาเดอร์ ในประเทศมอรอคโค ซึ่งเคยเชื่อกันว่าอยู่ในบริเวณที่ปราศจากแผ่นดินไหว และไม่มีอาคารใด
    ในเมืองนี้ที่ได้รับการออกแบบให้ต้านทานแรงแผ่นดินไหว ดังนั้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 ริคเตอร์
    ขึ้นในปี พ.ศ. 2503 โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ใต้เมืองเพียง 3 กม. ได้ส่งผลให้เมืองถูกทำลาย
    และชาวเมืองประมาณ12,000 ต้องเสียชีวิต

    การป้องกันภัยพิบัติดังกล่าวในภาพรวม สามารถกระทำได้โดยการออกกฎกระทรวง
    ภายใต้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร โดยกำหนดให้ อาคารต้องมีการออกแบบให้รับแรงแผ่นดินไหวอย่างเหมาะสม
    กับสภาพความเสี่ยงระดับปานกลาง อาคารที่ได้จากการออกแบบ ในลักษณะนี้จะมีรูปทรงที่สมมาตร
    มีสัดส่วนโครงสร้างที่แข็งแรง มีความยืดหยุ่นและความเหนียวที่ดีสามารถโยกไหวได้
    โดยไม่แตกร้าวที่รุนแรงจนสูญเสียกำลังรับน้ำหนักบรรทุก และที่สำคัญคือ จากการศึกษาพบว่า อาคาร
    ซึ่งได้รับการออกแบบให้สามารถต้านแรงแผ่นดินไหวนี้ จะมีราคาสูงกว่าอาคารธรรมดาเพียง 2% ถึง 4% เท่านั้น
    ราคามิได้เพิ่มขึ้นเป็นหลายเท่าตัวเหมือนที่หลายๆ คนเชื่อกัน บทเรียนอันมีค่าจากแผ่นดินไหวที่โกเบนี้
    คงได้มีส่วนให้ผู้รับผิดชอบ

    ทุกฝ่ายในการออกแบบ และควบคุมการก่อสร้างอาคารในประเทศไทย ได้ตระหนักถึงภัยอันตรายจากแผ่นดินไหว
    เราคงไม่ต้องรอให้เกิดมีตึกรามบ้านช่องต้องถูกทำลาย หรือผู้คนต้องเสียชีวิตก่อน จึงจะสามารถออกกฎหมาย
    เพื่อป้องกันภัยได้

    อย่างไรก็ตามในปี 2540 ได้มีการออกกฎกระทรวงฉบับที่ 47 ตามความในพ.ร.บ.ควบคุมอาคาร 2522
    กำหนดเรื่องความปลอดภัย ในการก่อสร้างอาคารหลายประเด็นด้วยกัน
    แต่ไม่มีความที่เกี่ยวเนื่องกับการรับผลกระทบเรื่องแผ่นดินไหวโดยตรง มีเพียงประเด็นเกี่ยวข้องเช่น
    การป้องกันอัคคีภัย เป็นต้น

    ล่าสุดเป็นเรื่องสอดคล้องโดยบังเอิญ ที่ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหว
    และการสั่นสะเทือนภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกำหนดให้มีการอบรมเรื่อง
    "การออกแบบโครงสร้างต้านทานแผ่นดินไหว"ขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 6 ถึง วันศุกร์ที่ 7
    พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวิทยากรคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปณิธาน
    ลักคุณะประสิทธิ์ และผู้ทรงคุณวุฒิจากหลายสถาบัน หัวข้อในการอบรมจะครอบคลุมถึงความรู้พื้นฐาน
    เกี่ยวกับแผ่นดินไหวในประเทศไทย,พลศาสตร์ของโครงสร้างเบื้องต้น
    และหลักการพื้นฐานของการออกแบบต้านทานแผ่นดินไหว แม้จะเป็นการกำหนดการล่วงหน้า
    แต่ก็สอดคล้องกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในรอบนี้ในทันที
     
  19. boko0121

    boko0121 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +7,736
    แผ่นดินไหวแรงๆ อาคารไหนสร้างไม่ดีคงไปหมด
     
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Update time = Mon Jan 7 8:07:16 UTC 2008

    <table minmax_bound="true" border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"> <tbody minmax_bound="true"> <tr minmax_bound="true"> <th minmax_bound="true"> </th> <th minmax_bound="true" align="center">MAG </th> <th minmax_bound="true" align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th minmax_bound="true" align="center">LAT
    deg
    </th> <th minmax_bound="true" align="center">LON
    deg
    </th> <th minmax_bound="true" align="center">DEPTH
    km
    </th> <th minmax_bound="true"> Region</th></tr> <tr minmax_bound="true"> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">MAP</td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap"> 5.4 </td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">2008/01/07 07:46:32 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> 12.368 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> 125.402 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap">73.3 </td> <td minmax_bound="true"> SAMAR, PHILIPPINES</td></tr> <tr minmax_bound="true"> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">MAP</td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap"> 4.6 </td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">2008/01/07 07:15:09 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> 53.447 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> 158.929 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap">104.5 </td> <td minmax_bound="true"> NEAR THE EAST COAST OF KAMCHATKA, RUSSIA</td></tr> <tr minmax_bound="true"> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">MAP</td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap"> 2.8 </td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">2008/01/07 05:53:22 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> 59.919 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> -152.658 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap">99.4 </td> <td minmax_bound="true"> SOUTHERN ALASKA</td></tr> <tr minmax_bound="true"> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">MAP</td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap"> 4.2 </td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">2008/01/07 05:51:50 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> 15.599 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> -88.910 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap">10.0 </td> <td minmax_bound="true"> GUATEMALA</td></tr> <tr minmax_bound="true"> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">MAP</td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap"> 2.6 </td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">2008/01/07 04:53:00 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> 53.328 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> -167.065 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap">36.8 </td> <td minmax_bound="true"> FOX ISLANDS, ALEUTIAN ISLANDS, ALASKA</td></tr> <tr minmax_bound="true"> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">MAP</td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap"> 5.8 </td> <td minmax_bound="true" align="center" nowrap="nowrap">2008/01/07 03:12:27 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> -0.760 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap"> 134.061 </td> <td minmax_bound="true" align="right" nowrap="nowrap">10.0 </td> <td minmax_bound="true"> NEAR THE NORTH COAST OF PAPUA, INDONESIA</td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...