‘หลวงตามหาบัว’ อริยะสงฆ์ผู้มอบธรรมและประโยชน์แก่แผ่นดิน

ในห้อง 'ข่าวพุทธศาสนา' ตั้งกระทู้โดย สังขารไม่เที่ยง, 1 กุมภาพันธ์ 2011.

  1. สังขารไม่เที่ยง

    สังขารไม่เที่ยง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    5,943
    ค่าพลัง:
    +24,697
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>‘หลวงตามหาบัว’ อริยะสงฆ์ผู้มอบธรรมและประโยชน์แก่แผ่นดิน</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการรายวัน</TD><TD class=date vAlign=center align=left>31 มกราคม 2554 18:12 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; HEIGHT: 35px; OVERFLOW: hidden; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9540000013357&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD><TD><TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=1 vAlign=top width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=12 vAlign=bottom align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=center width=165 align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=/images/linedot_vert3.gif width=4>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=7 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>หลังจากอาพาธมาระยะหนึ่ง ในที่สุด พระธรรมวิสุทธิมงคล หรือ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน เจ้าอาวาสวัดป่าบ้านตาด หรือวัดเกสรศีลคุณ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ก็ได้ละสังขารเมื่อเวลา 03.53 น. รวมสิริอายุ 97 ปี 5 เดือน 18 วัน

    หลวงตามหาบัว กำเนิดในครอบครัวชาวนาผู้มีอันจะกิน เมื่อ 12 สิงหาคม 2456 ขึ้น 11 ค่ำเดือน 9 ปีฉลู ณ บ้านตาด อำเภอหมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี บิดาชื่อ นายทองดี โลหิตดี มารดาชื่อ นางแพงศรี โลหิตดี มีพี่น้องทั้งหมด 16 คน

    จากคำร้องขอและน้ำตาของพ่อแม่ทำให้นายบัวตัดสินใจบวชในวันที่ 12 พฤษภาคม 2477 ณ วัดโยธานิมิตร อุดรธานี ได้ฉายานามว่า ‘ญาณสมฺปนฺโน’ แปลว่า ‘ถึงพร้อมแล้วด้วยการหยั่งรู้’ มีท่าน เจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ (จูม พันธุโล) วัดโพธิสมภรณ เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้ศึกษาทั้งภาษาบาลี พระปริยัติธรรม กรรมฐาน จนกระทั่งได้พบกับ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต พระอริยสงฆ์แห่งแผ่นดินอีสาน ผู้เชี่ยวชาญกรรมฐาน และได้ฝากตัวเป็นศิษย์นับแต่นั้นมา แม้เบื้องแรกจะตัดสินใจบวชไม่นาน แต่ท้ายสุด ด้วยแรงศรัทธาในพุทธศาสนาจึงทำให้หลวงตาบัวตัดสินใจบวชตลอดชีวิต

    ที่สำคัญหลวงตามหาบัวหาได้มีบทบาททางด้านการเผยแผ่พุทธศาสนาและการปฏิบัติกรรมฐานสายหลวงปู่มั่นเท่านั้น แต่ยังมีบทบาททางสังคมที่โดดเด่นยิ่งรูปหนึ่งแห่งวงการสงฆ์ โดยเฉพาะเมื่อวิกฤตเศรษฐกิจปี 40 ที่ท่านเป็นทัพหน้าระดมเงินทองเพื่อช่วยชาติ

    และนี่คือคุณูปการที่ท่านได้ทิ้งไว้ให้แก่แผ่นดินผ่านมุมมองของบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

    ขอคารวะอริยสงฆ์แห่งแผ่นดิน

    สยาม ราชวัตร อาจารย์ประจำภาควิชาศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และผู้เชี่ยวชาญด้านพุทธศาสนากับสังคม

    “ในความคิดของผม คุณูปะการหลักๆ ที่ท่านหลวงตามหาบัวสร้างเอาไว้ในช่วงที่ท่านมีชีวิตมีอยู่สองประเด็น ข้อแรกคือท่านเป็นผู้สืบต่อวัตรปฏิบัติของพุทธศาสนานิกายเถรวาท ในฝั่งของธรรมยุติกนิกาย ซึ่งท่านได้สืบต่อวิธีปฏิบัติสายวิปัสสนากรรมฐาน และอีกประการก็คือท่านมีบารมีในการดึงทั้งชนชั้นสูง และคนที่มีเกียรติในสังคมให้มาสนใจพระพุทธศาสนา”

    และนำความศรัทธาของญาติโยมที่มีฐานะทางเศรษฐกิจมาทำประโยชน์เพื่อสังคม เป็นการแปรศรัทธาให้เป็นรูปธรรมเพื่อสังคม มิใช่การสอนธรรมะเพื่อประโยชน์ของปัจเจกเพียงอย่างเดียว

    “ศรัทธาในพุทธศาสนาเน้นเรื่องของปัญญาด้วย พุทธศาสนาในบ้านเราได้รับการยอมรับว่ารักษาวิธีการแบบเถรวาทไว้อยู่ โดยเฉพาะหัวใจหลักอย่างการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน การเจริญสติปัญญาด้วยแนวทางสติปัฏฐาน 4 ซึ่งหลวงตามหาบัวคือพุทธสาวกที่รักษาคำสอนดั้งเดิมไว้ และท่านก็เป็นกำลังสำคัญของพระสายภาคอีสานซึ่งเริ่มต้นมาแต่หลวงปู่มั่น”

    และเมื่อถึงเวลาที่หลวงตามหาบัวละสังขารไป แม้ว่าท่านจะทิ้งทั้งหลักธรรมคำสอนที่มีค่าเอาไว้มากมาย แต่ก็มีสิ่งหนึ่งที่ยังน่าเป็นห่วงในสายตาของสยาม

    “เมื่อท่านจากไป จะมีใครมาเป็นตัวแทนของท่านหรือไม่ ท่านมีสังฆทายาทหรือไม่ ที่จะมาเป็นผู้ที่รวมศรัทธาของญาติโยมได้เหมือนก่อน”

    ม.ร.ว.ทองศิริ ทองแถม ผู้ดูแลการเงินโครงการช่วยชาติต่างๆ ของหลวงตามหาบัว และหนึ่งในกรรมการจัดการพิธีศพและทรัพย์สินที่หลวงตามหาบัวระบุไว้ในพินัยกรรม

    ‘…เวลามีชีวิตอยู่นี้ เราจะทำความดีให้โลกทั้งหลายได้เป็นคติตัวอย่างอันดีงาม และทำด้วยความเมตตาสงสาร เพราะหลังจากนี้แล้ว… เราตายแล้ว…เราจะไม่กลับมาเกิดในโลกนี้อีกต่อไป เป็นตลอดอนันตกาล…’

    จากปณิธานของหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ข้างต้น จึงก่อเกิดเป็นโครงการช่วยชาติสารพัดโครงการที่สร้างคุณูปการแก่ประเทศอย่างมหาศาล ม.ร.ว.ทองศิริ กล่าวถึงคุณูปการอันยิ่งใหญ่ที่หลวงตาได้กระทำครั้นยังมีชีวิต

    “เมื่อประมาณปี 2541 ทางหลวงตามหาบัวฯ เป็นผู้ริเริ่มโครงการช่วยชาติครับ ท่านรับเงินเป็นผ้าป่าเพื่อเข้าคลังหลวง ทองส่วนหนึ่ง เงินดอลลาร์ส่วนหนึ่ง และก็เอาไปบำรุงค่าใช้จ่ายเครื่องมือแพทย์ให้โรงพยาบาลต่างๆ ส่วนดอลลาร์ก็เอาเก็บเข้าคลังหลวง เข้าธนาคารชาติ

    แม้สิ้นหลวงตาบัว แต่ปณิธานการสงเคราะห์โลกของท่านก็ยังดำเนินการต่อไป โครงการในความอุปถัมภ์ยังถูกสานต่อเจตนารมณ์

    “ท่านฯ บอกว่าเงินทองที่ได้เข้ามาใหม่เราก็จะเอาไปช่วยชาติเช่นเดิม เอาไปช่วยพวกโรงพยาบาล อุดหนุนเครื่องมือแพทย์ ช่วยสัตว์พิการ คนอนาถา เด็กพิการ ฯลฯ อย่างงานด้านมูลนิธิฯ เขาก็จะเข้ามาขอ แล้วทางเราก็ช่วยเป็นเงินไป เช่น มูลนิธิสัตว์พิการฯ เดือนหนึ่งก็ตกเป็นเงิน 220,000 บาท ส่วนด้านโรงพยาบาลก็เดือนหนึ่งเป็นล้านครับ เพราะว่าเครื่องมือแพทย์ครบกำหนดเขาก็มาเบิกครับเป็นรายจ่ายที่จ่ายประจำ”

    พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือ ว.วชิรเมธี พระนักเทศน์ นักเขียน และผู้ก่อตั้งสถาบันวิมุตตยาลัย

    “หลวงตามหาบัว ท่านเป็นบัวพ้นน้ำ ท่านเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวพุทธทั่วทุกภาค ทุกแห่ง ทั้งยังเป็นพระป่าที่มีความเมตตาต่อสังคมเมือง จะเห็นได้จากทุกครั้งที่บ้านเมืองมีวิกฤต ทั้งท่านยังกล้าเป็นแบบอย่างของพระสงฆ์ที่กล้าหาญทางจริยธรรม กล้าท้าทายอำนาจรัฐที่ไม่ชอบธรรม กล้าวิพากษ์วิจารณ์การเมืองน้ำเน่า กล้าเตือนสังคมไทยในประเด็นที่นอกลู่นอกทางอย่างตรงไปตรงมา ทั้งยังเป็นแรงบันดาลใจสำหรับภิกษุสามเณรที่ปรารถนาจะเป็นสมณะที่ดี

    “หลวงตามหาบัวท่านจึงเป็นเหมือนลมหายใจแห่งพระป่าสายหลวงปู่มั่นที่ยืนหยัดอย่างโดดเด่น และพร้อมรับการท้าทายของยุคสมัยให้ผู้คนร่วมยุคสมัยได้ศึกษา เรียนรู้ ได้เคารพศรัทธา และได้รู้ว่าพระที่แท้จริงนั้นควรมีปฏิปทาอย่างไร”

    พระอาจารย์นพดล วัดป่าดอยลับงา จังหวัดกำแพงเพชร ลูกศิษย์หลวงตามหาบัว

    “หลวงตาเป็นผู้ที่นำเอาหลักคำสอนทั้งหมดของพระอาจารย์มั่นมาถ่ายทอดได้อย่างครบถ้วนที่สุด สรุปง่ายๆ ว่าท่านสอนให้ลูกศิษย์ลูกหาทุกคนมีสติ ปัญญา ศรัทธา และความเพียร มุ่งสู่ความพ้นทุกข์”

    ปัจฉิมโอวาทของหลวงตามหาบัวก่อนละสังขาร พระอาจารย์นพดล บอกว่า

    “ท่านว่ามือของตัวท่านกับมือของลูกศิษย์ ญาติมิตร เพื่อนฝูง ล้วนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ใช้แทนกันได้”

    ดร.ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่งโลก

    บทบาทเด่นที่สุดของหลวงตามหาบัวคงหนีไม่พ้นเรื่อง 'ผ้าป่าช่วยชาติ' เพราะท่านสามารถระดมทอง เงิน และเงินตราต่างประเทศมากู้วิกฤตในยามที่บ้านเมืองประสบปัญหาเศรษฐกิจครั้งร้ายแรงมากที่สุด ในประวัติศาสตร์ไทย โดยเฉพาะช่วงปีพุทธศักราช 2540

    "ผมว่าแม้หลวงตามหาบัวจะเป็นพระ แต่พอถึงช่วงที่บ้านเมืองเกิดวิกฤต ท่านก็มานำชาวบ้าน นำภาคประชาชน เข้าช่วยเหลือกอบกู้บ้านเมือง บทบาทของท่านจึงเปรียบได้กับชาวบ้านบางระจัน เพราะถ้าจำกันได้ ขณะนั้นฝ่ายรัฐอ่อนแอ หาความสามัคคีไม่ค่อยได้ แม้ต่อมาผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยจะบอกว่าตัวเลขแบบนี้เมื่อเปรียบเทียบกับเงินคงคลังหรืองบประมาณเป็นเพียงน้อยนิด แต่มันก็แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือร่วมใจที่หลวงตาซึ่งเป็นประชาชนธรรมดาคนหนึ่งที่จะรณรงค์ให้ภาคประชาชนมาช่วยเหลือภาครัฐได้"

    ซึ่งการที่หลวงตามหาบัวสามารถมีอิทธิพลในการกอบกู้วิกฤตครั้งนี้ได้ ไม่เพียงแต่ความรักและความปรารถนาที่มีต่อชาติเท่านั้น แต่ท่านยังเป็นผู้มองการณ์ไกล และเห็นอันตรายที่อาจจะเกิดกับประเทศไทยอีกด้วย

    "ผมคิดว่าท่านไม่เห็นด้วยกับภาครัฐที่ทุกสิ่งทุกอย่างจะพึ่งพาไอเอ็มเอฟ (กองทุนการเงินระหว่างประเทศ) อย่างเดียว แล้ววิกฤตเศรษฐกิจครั้งนั้น ก็เนื่องจากภาครัฐรวมทั้งนักการเมืองวิ่งตามบทบาทของบรรษัทข้ามชาติและกองทุนเฮดจ์ฟันด์ แล้วสุดท้ายก็ตามเกมของพวกนี้ไม่ทัน จนกระทั่งช่วงใกล้ๆ จะเกิดวิกฤตที่เจ้าหน้าที่ของธนาคารเริ่มรู้ว่านี่คือการโจมตีค่าเงิน ขณะที่นักการเมืองแทนที่จะกอบกู้วิกฤตแต่กลับสวมรอยเป็นหนึ่งในเฮดจ์ฟันด์โจมตีค่าเงินเสียเองเพื่อความมั่งคั่งส่วนตัว สิ่งเหล่านี้ผมคิดว่า หลวงตาท่านมองออก ซึ่งท่านอาจจะมีทีมวิเคราะห์ แล้วท่านจึงออกมา เพราะท่านรู้ว่า จะปล่อยให้ภาครัฐสู้เพียงลำพังไม่ได้ แต่ชาวบ้านต้องช่วยเท่าที่จะช่วยได้ ซึ่งท่านก็สู้สุดตัว แม้จะอายุเยอะแล้ว แถมป่วยอีกต่างหาก แต่ด้วยจิตใจที่รักชาติ ท่านก็ออกมารณรงค์ ใครที่สวมสร้อยทองสวมแหวน ถ้ามีความรักชาติก็ระดมมา จนกลายเป็นเงินก้อนโตมาก ในความรู้สึกของชาวบ้านธรรมดา"

    สิ่งทั้งหมดนี้ จึงอาจจะกล่าวได้ว่า หลวงตามหาบัวถือเป็นผู้ปลุกกระแสรักชาติให้เกิดขึ้นในภาคประชาชนที่สำคัญมากที่สุดคนหนึ่งของประเทศไทย

    **********

    เรื่อง: ทีมข่าว CLICK
    ภาพ: ทีมภาพเอเอสทีวีผู้จัดการรายวัน


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=10 vAlign=top align=right>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    Daily News - Manager Online - ���ǧ����Һ�ǒ �����ʧ������ͺ������л���ª�������蹴Թ
     

แชร์หน้านี้

Loading...