ไปไหนดี?

ในห้อง 'กฎแห่งกรรม - ภพภูมิ' ตั้งกระทู้โดย HONGTAY, 5 มีนาคม 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,895
    [FONT=&quot] เราเข้าใจว่า การทำบุญก็คือการให้ทานเพียงอย่างเดียวความจริงแล้ว [/FONT][FONT=&quot]การทำบุญมีถึง ๑๐ ประการ[/FONT][FONT=&quot] เรียกว่า[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]“บุญกิริยาวัตถุ[/FONT][FONT=&quot]”[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] แปลความว่า[/FONT][FONT=&quot] ความดีที่ควรกระทำ เพราะเป็นเหตุเป็นที่ตั้งแห่งผลดีที่เกิดขึ้น[/FONT][FONT=&quot] คือ เป็นสิ่งที่ให้สำเร็จเป็นบุญเป็นกุศล พร้อมทั้งอานิสงส์ ที่ผู้กระทำพึงได้รับ ตามสมควรแก่โอกาส[/FONT][FONT=&quot]มี ๑๐ ประการ คือ [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๑.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ทาน [/FONT][FONT=&quot] คือ การให้สิ่งของของตน โดยการบูชาหรืออนุเคราะห์แก่ชนเหล่าอื่น และสัตว์ทั้งหลาย[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๒.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ศีล[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]คือ[/FONT][FONT=&quot] การรักษากาย วาจา ให้ตั้งอยู่ในศีล เช่น โยมทั้งหลายอยู่บ้าน เรียกว่า เป็นฆราวาส ก็รักษาศีล ๕ หรือ รักษาศีล ๘ พระภิกษุรักษาศีล ๒๒๗ สามเณรรักษาศีล ๑๐[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๓.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] ภาวนา[/FONT][FONT=&quot] คือ การเจริญสมถะ และวิปัสสนา การเจริญสมถะ มีถึง ๔๐ วิธี เช่น เรานั่งสมาธิกำหนดลมหายใจ เข้า-ออก ภาษาพระเรียกว่า อานาปานัสสติ เป็นต้น การเจริญวิปัสสนา เช่นเรากำหนดอิริยาบถ ๔ คือ ยืน เดิน นั่ง นอน ตามความเป็นจริงว่าเป็นรูปยืน รูปเดิน รูปนั่ง รูปนอน เป็นต้น แม้การที่เราตั้งใจศึกษาเล่าเรียนวิชาต่าง ๆ ที่ไม่มีโทษเป็นประโยชน์แก่ตนเอง และแก่ผู้อื่น ก็สำเร็จเป็นบุญประการที่ ๓ คือ ภาวนา ในข้อนี้ด้วยเหมือนกัน[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๔.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อปจายนะ[/FONT][FONT=&quot] คือ[/FONT][FONT=&quot] การทำความนับถือ อ่อนน้อมลุกขึ้นต้อนรับแก่ท่านผู้เจริญด้วยชาติวุฒิ วัยวุฒิ และคุณวุฒิด้วยใจที่ไม่เศร้าหมอง ซึ่งเว้นจากความหวังตอบแทนในปัจจัย ๔ มีเครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น ผู้เจริญด้วย[/FONT][FONT=&quot]ชาติวุฒิ[/FONT][FONT=&quot] เช่น พระมหากษัตริย์[/FONT][FONT=&quot] พระบรมวงศานุวงศ์ , ผู้เจริญด้วย[/FONT][FONT=&quot]วัยวุฒิ[/FONT][FONT=&quot] คือ ผู้ที่มีอายุมากกว่าเรา เช่น มารดา บิดา ลุง ป้า น้า อา [/FONT][FONT=&quot], ผู้เจริญด้วย[/FONT][FONT=&quot]คุณวุฒิ[/FONT][FONT=&quot] คือ ผู้ที่มีคุณธรรมมากกว่าเรา เช่น พระภิกษุ สามเณร แม่ชี บางทีท่านอายุน้อยกว่าเรา รุ่นลูกรุ่นหลานแต่เราก็อ่อนน้อมต่อท่าน เพราะถือว่าท่านมีศีลมากกว่าเรา เป็นต้น รวมไปถึงผู้บังคับบัญชา ผู้ปกครอง เจ้านาย ผู้จัดการ บางทีอายุน้อยกว่าเรา แต่เราก็อ่อนน้อมต่อเขา อันนี้เรียกว่า เราประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม เป็นบุญประการที่ ๔[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๕.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เวยยาวัจจะ[/FONT][FONT=&quot] คือ การช่วยเหลือการงานของผู้อื่น เช่น ช่วยยกของ ช่วยคนเจ็บไข้ได้ป่วย จูงคนแก่ข้ามถนน เวลามีงานบุญก็ช่วยจัดของ จัดสถานที่ ขับรถไปรับพระมางาน ช่วยคุณพ่อคุณแม่ทำงานบ้าน เป็นต้น[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๖.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ปัตติทานะ[/FONT][FONT=&quot] คือ การให้ส่วนบุญกุศลที่ตนเองกระทำแล้วแก่ผู้อื่น ถ้าผู้อื่นมีชีวิตอยู่ เราให้ส่วนบุญได้เลย เช่น พูดว่า วันนี้ไปถวายสังฆทานมา เอาบุญมาฝาก เรียกว่า แผ่บุญกุศลให้ ถ้าเขารับ เขาก็พูดว่า ขออนุโมทนาบุญด้วยแต่ถ้าผู้อื่นเสียชีวิตแล้ว เราก็กรวดน้ำไปให้ เราทำเช่นนี้ก็สำเร็จเป็นบุญประการที่ ๖[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๗.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ปัตตานุโมทนา[/FONT][FONT=&quot] คือ การอนุโมทนาหรือการพลอยยินดีบุญที่ผู้อื่นให้แล้ว (แผ่บุญให้) หรือไม่ได้ให้ก็ตาม ด้วยจิตที่ปราศจากมลทินคือความตระหนี่ เช่น เราเห็นผู้อื่นทำบุญ ใส่บาตร ถวายสังฆทาน ถวายกฐิน ผ้าป่า บวชพระ บวชสามเณร หรือทำความดีต่าง ๆ เราก็อนุโมทนาด้วย มีใจชื่นชมยินดีในบุญที่เขากระทำ อันนี้ก็สำเร็จเป็นบุญประการที่ ๗[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๘.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ธรรมสวนะ[/FONT][FONT=&quot] คือ การฟังธรรม รวมถึงการรับฟังข้อแนะนำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูล เช่น เราฟังธรรมนี้อย่างนี้แล้ว ปฏิบัติตามนัยที่ท่านกล่าวแล้วในธรรมนั้น จักเป็นผู้มีส่วนแห่งคุณวิเศษ ทั้งที่เป็นโลกิยะและโลกุตระหรือว่าเราฟังธรรมมากแล้ว จักอนุเคราะห์แก่ผู้อื่น ด้วยกิจมีการแสดงธรรม เป็นต้น ทำเช่นนี้ก็สำเร็จเป็นบุญประการที่ ๘[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๙.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ธรรมเทศนา[/FONT][FONT=&quot] คือ การแสดงธรรม หรือการแนะนำสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูล โดยไม่มุ่งถึงอามิส มีลาภและสักการะเป็นต้น เช่น พระภิกษุ-สามเณร ตั้งใจแสดงธรรมให้ญาติโยมทั้งหลายได้รับฟัง หรือเราช่วยสอนหนังสือ ช่วยสอนวิชาชีพต่าง ๆ ช่วยให้ความรู้แก่ผู้อื่น อันนี้ก็สำเร็จเป็นบุญประการที่ ๙[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๑๐.[/FONT] [FONT=&quot]ทิฏฐุชุกรรม[/FONT][FONT=&quot] คือ การทำความเห็นให้ตรง ให้ถูกตามความเป็นจริง ซึ่งมี ๑๐ ประการตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น การทำความเห็น ความเข้าใจให้ถูกต้อง เช่นนี้ ก็สำเร็จ เป็นบุญแก่ผู้นั้นเป็นประการที่ ๑๐[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ เป็นกรรมดี ให้ผลทั้งในปัจจุบันชาติและให้ผลเกิดในสุคติทั้ง ๗ ภูมิ[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]“ [/FONT][FONT=&quot]ยศและลาภ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]หาบไป[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ไม่ได้แน่[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] เว้นเสียแต่ ต้นทุน บุญกุศล[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] ทิ้งสมบัติ ทั้งหลาย ให้ปวงชน[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] ร่างของตน เขายังเอา ไปเผาไฟ”[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] ต่อไปจะกล่าวถึง[/FONT][FONT=&quot]อีก ๒๐ ภูมิที่เหลือ[/FONT][FONT=&quot] แบ่งเป็น ๒ อย่าง[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๑.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]รูปภูมิ[/FONT][FONT=&quot] (เป็นภูมิของผู้ที่เจริญสมาธิจนได้ถึงขั้นรูปฌาน) มี ๑๖ ชั้น[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๒.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อรูปภูมิ[/FONT][FONT=&quot] (เป็นภูมิของผู้ที่เจริญสมาธิจนได้ถึงขั้นอรูปฌาน) มี ๔ ชั้น[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]รูปภูมิ ๑๖ ชั้น หรือ ๑๖ ภูมิ มีดังนี้ คือ [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]ผู้ที่ได้ปฐมฌาน (ฌานที่ ๑)[/FONT][FONT=&quot] จะเกิดใน ๓ ภูมินี้ คือ [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]พรหมปาริสัชชาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นที่อยู่ของพรหมชั้นบริษัท คือ พรหมทั่วไป[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๒)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]พรหมปุดรหิตาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นที่อยู่ของพรหมชั้นปุโรหิต คือ พรหมที่เป็นที่ปรึกษา[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๓)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]มหาพรหมาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นที่อยู่ของพรหมที่เป็นใหญ่เป็นหัวหน้า[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]ผู้ที่ได้ทุติยฌาน (ฌานที่ ๒) และตติยฌาน (ฌานที่ ๓) จะเกิดใน ๓ ภูมินี้ คือ[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๔)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ปริตตาภาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นที่อยู่ของพรหมชั้นบริษัท[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๕)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อัปปมาณาภาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นที่อยู่ของพรหมชั้นปุโรหิต[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๖)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อาภัสสราภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นที่อยู่ของมหาพรหม[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]ผู้ที่ได้จตุตถฌาน (ฌานที่ ๔) จะเกิดใน ๓ ภูมินี้ คือ[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๗)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ปริตตสุภาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นที่อยู่ของพรหมชั้นบริษัท[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๘)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อัปปมาณสุภาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เป็นที่อยู่ของพรหมชั้นปุโรหิต[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๙)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]สุภากิณหาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นที่อยู่ของมหาพรหม[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]ผู้ที่ได้ปัญจมฌาน (ฌานที่ ๕) จะเกิดใน ๗ ภูมินี้ คือ[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๐)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เวหัปผลาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของผู้ที่ได้ปัญจมาฌาน[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๑)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อสัญญสัตตภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของผู้ที่ได้ปัญจมฌานที่เจริญสัญญาวิราคภาวนาต่อ[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๒)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อวิหาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของพระอนาคามีที่มีศรัทธามาก[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๓)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อตัปปาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของพระอนาคามีที่มีวิริยะมาก[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๔)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]สุทัสสาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของพระอนาคามีที่มีสติมาก[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๕)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]สุทัสสีภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของพระอนาคามีที่มีสมาธิมาก[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๖)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อกนิฏฐาภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของพระอนาคามีที่มีปัญญามาก[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]อรูปภูมิ ๔ ชั้น หรือ ๔ ภูมิ มีดังนี้ คือ[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๗)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อากาสานัญจยตนภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของผู้ที่ได้อากาสานัญจายตนฌาน[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๘)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]วิญญาณัญจายตนภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของผู้ที่ได้วิญญาณัญจายตนฌาน[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๑๙)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อากิญจัญญายตนภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของผู้ที่ได้อากิญจัญญายตนฌาน[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot](๒๐)[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ[/FONT][FONT=&quot] เป็นภูมิของผู้ที่ได้เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]ถามว่า[/FONT][FONT=&quot] ทำกรรมอะไรจึงไปเกิดใน ๒๐ ภูมินี้ ตอบว่าทำกุศลประเภท[/FONT][FONT=&quot]ภาวนา[/FONT][FONT=&quot] คือ เป็น[/FONT][FONT=&quot]ผู้ที่เจริญภาวนาจนได้ฌาน[/FONT][FONT=&quot]อย่างต่ำที่สุดปฐมฌาน ก่อนตาย ถ้าฌานไม่เสื่อม ก็จะเกิดในพรหมโลกทั้ง ๒๐ ภูมินี้ ท่านเหล่านี้ละนิวรณ์ ๕ ได้ ด้วยการข่มไว้ด้วยอำนาจของฌาน ไม่ยินดีเรื่องของการคุณ ๕ ยินดีในฌานซึ่งเป็นสุขที่ประณีตกว่า นี้เป็นการกล่าวอย่างกว้าง ๆ ถามว่า [/FONT][FONT=&quot]นิวรณ์ ๕[/FONT][FONT=&quot] (คือ ธรรมชาติที่กางกั้นกุศลจิตที่จะเกิดขึ้นด้วยอำนาจฌานเป็นต้น ไม่ให้เกิดขึ้น) ที่ท่านเหล่านั้นละได้มีอะไรบ้าง ตอบว่า มี ๕ ประการ ดังนี้ คือ[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๑.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]กามฉันทนิวรณ์[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]คือ ความกำหนัด[/FONT][FONT=&quot] พอใจในการคุณ ๕[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๒.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]พยาบาทนิวรณ์[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]คือ[/FONT][FONT=&quot] ความอาฆาต ความโกรธ ผู้โกรธผู้อื่น เป็นต้นว่า “บุคคลนี้ได้ทำความเสียหายแก่เรา แก่คนที่เรารัก เช่น มารดา บิดา คู่รัก บุตรธิดา หรือบุคคลนี้ได้ทำดีกับคนที่เราโกรธ เราก็พลอยโกรธเขาไปด้วย” รวมทั้งความโกรธที่ไม่น่าจะโกรธ เช่นเราเดินไปชนโต๊ะก็โกรธ ว่าใครเอาโต๊ะมาตั้งตรงนี้ ความจริงโต๊ะเขาตั้งอยู่ประจำอยู่แล้วแต่เราเดินไปชนเอง เป็นต้น[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๓.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]ถีนมิทธนิวรณ์[/FONT][FONT=&quot] คือ ความหดหู่ ท้อแท้ ง่วงเหงาหาวนอน ต่อการเจริญฌาน[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๔.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์[/FONT][FONT=&quot] คือ ความฟุ้งซ่านและรำคาญใจ เมื่อเกิดขึ้นย่อมทำให้จิตใจฟุ้งซ่าน ไม่สงบ จึงขัดขวางไม่ให้ฌานเกิดขึ้น[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]๕.[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]วิจิกิจฉานิวรณ์[/FONT][FONT=&quot] คือ ความลังเลสงสัย ทำให้การเพ่งอารมณ์กรรมฐานต้องเสียไป ไม่สามารถเข้าฌานได้[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ แสดงให้เห็นถึงการที่เราต้องเวียนว่ายตายเกิด อยู่ใน ๓๑ ภูมิ นี้ไม่เกินจากนี้ ท่านเรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]สังสารวัฏ[/FONT][FONT=&quot] คือ การเวียนว่ายตายเกิดของคน และสัตว์ทั้งหลายในภพภูมิต่าง ๆ นั่นเอง ไม่มีที่สิ้นสุด ถ้าเราไม่ต้องการเวียนว่ายตายเกิดในภูมิต่าง ๆ อีก มีทางเดียว คือ เจริญมรรค ๘ ซึ่งมี[/FONT][FONT=&quot] สติปัฏฐาน ๔[/FONT][FONT=&quot] (ที่ตั้งแห่งสติ ๔ อย่าง คือ[/FONT][FONT=&quot] กาย เวทนา จิต ธรรม) เป็นข้อปฏิบัติเบื้องต้น จึงจะสามารถละกิเลสได้หมดสิ้น บรรลุเป็นพระอรหันต์ ไม่ต้องมาเกิดแก่เจ็บตายอีกต่อไป ถ้ายังไม่สามารถเจริญสติปัฏฐานได้เวลาทำกุศลอื่น ๆ ควรตั้งความปรารถนาให้ถึงพระนิพพานเพื่อเป็นปัจจัยส่วนหนึ่ง และยังทำให้เราเกิดในสุคติภูมิต่อ ๆ ไปด้วย[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]“ จากเมื่อตาย [/FONT][FONT=&quot]ใครเล่า[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot] จะเฝ้าเห็น[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]จากเมื่อเป็น[/FONT][FONT=&quot] ยังมาพบ ประสบศรี [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]มามือเปล่า ทรัพย์สมบัติ ที่ไหนมี[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] แม้ร่างกาย กายี ต้องสิ้นไป[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]บุญและบาป ที่เราทำ นำสนอง[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] นำเที่ยวท่อง หันเห ฉเลไหล[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]บุญให้สุข[/FONT][FONT=&quot] ทุกข์เพราะบาป ขนาบไป[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] กว่าจะได้ มรรคผล ดลนิพพาน ” [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot] [/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]คัดจากหนังสือ[/FONT][FONT=&quot] ตายแล้วไปไหน ?[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]เรียบเรียงโดย[/FONT][FONT=&quot] พระมหาสุสวัสดิ์ จนฺทปญฺโญ ป.ธ.๙[/FONT]<o:p></o:p>
    [FONT=&quot]พิมพ์โดย[/FONT][FONT=&quot] สุวิภา กลิ่นสุวรรณ์[/FONT]<o:p></o:p>
     
  2. หาธรรม

    หาธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,163
    ค่าพลัง:
    +3,739
    สวรรค์มี 6 ชั้น

    พรหมมี 20 แถมแยกย่อยเป็นนั่นเป็นนี่อีก เป็นบริษัท เป็นปุโรหิต เป็นมหาพรหม เห็นแล้วก็เบื่อ เป็นต่างกัน ก็มีลักษณะต่างกัน สมมุติก็ต่างกัน

    เป็นมนุษย์ก็เป็นตำแหน่งนั้นตำแหน่งนี้

    มนุษย์ก็วุ่นวาย ส่วนเทวดาก็เป็นนั่นเป็นนี่ พรหมก็นึกว่าจะนิ่ง ๆ เฉย ๆ ก็ยังมีพวกนั้นพวกนี้อีก แสดงว่ายังมีสมมุติอยู่ เมื่อนั้นวุ้นวายก็ยังไม่จบสิ้น

    ไม่อยากจะเป็นไรแล้วทั้งนั้น น่าเบื่อ เป็นศูนย์ "เลข 0" ดังในสมุโตทัยที่ท่านอาจารย์มั่นเทศ น่าจะดีที่สุด

    แวบมาครั้งหนึ่งเหมือนเราอยู่ในโถแก้วหรือขวดภาชนะแคบ ๆ แล้วไอ้การเป็นนั่นเป็นนี่ทั้ง มนุษย์ เทวดา พรหม มันเหมือนลูกโปงทีพองลมอยู่ในขวดเหมือนกันมันพองขึ้น ๆ จนเบียดเรา บีบคั้นเราจนอึดอัดรู้สึกว่าหายใจไม่ออกปางตาย เลยอยากจะหาทางออก
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 มีนาคม 2007

แชร์หน้านี้

Loading...