แจกธรรมทานหนังสือประสบการณ์จากสมาธิ-วิญญาณ1

ในห้อง 'สมเด็จโต พรหมรังสี' ตั้งกระทู้โดย มุ่งเต็มใจ, 13 มีนาคม 2007.

  1. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467
    [​IMG]

    http://www.geocities.com/book_2547/
    เป็นคำสอนแนวสมเด็จโตอีกเรื่องครับ
     
  2. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=650 border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22>
    </TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]ใบขออนุญาติจากท่านอาจารย์ยุทธพงษ์ แสงอรุณกุศล[/SIZE]</TD><TD colSpan=4 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]จำนวนครั้งที่พิมพ์[/SIZE]</TD><TD colSpan=2 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=627 colSpan=20>[SIZE=+1]คำนำ (ในการจัดพิมพ์ครั้งที่ 2)[/SIZE]</TD><TD colSpan=8 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=602 colSpan=9>[SIZE=+1]ภาพสแกนในหนังสือ[/SIZE]</TD><TD colSpan=19 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=618 colSpan=15>[SIZE=+1]เราสู้[/SIZE]</TD><TD colSpan=13 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=607 colSpan=11>[SIZE=+1]ทรงพระเจริญ[/SIZE]</TD><TD colSpan=17 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=597 colSpan=7>[SIZE=+1]สมเด็จโต[/SIZE]</TD><TD colSpan=21 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=615 colSpan=14>[SIZE=+1]วาทแห่งวาสน์[/SIZE]</TD><TD colSpan=14 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=622 colSpan=18>[SIZE=+1]ถวายหนังสือ[/SIZE]</TD><TD colSpan=11 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=622 colSpan=18>[SIZE=+1]คำอนุโมทนา[/SIZE]</TD><TD colSpan=10 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=587 colSpan=6>[SIZE=+1]บทนำ[/SIZE]</TD><TD colSpan=22 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=566 colSpan=4>[SIZE=+1]จดหมาย[/SIZE]</TD><TD colSpan=23 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=629 colSpan=22>[SIZE=+1]-1. พระบรมราโชวาท วิธีการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ[/SIZE]</TD><TD colSpan=7 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=633 colSpan=26>[SIZE=+1]-2. แนวคำสอนสมเด็จพระสังฆราชฯ " ศีลนำสุขมาให้ "[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=5></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]-3. ด้วยสำนึกหน้าที่แห่งการเป็นชาวไทยอยู่เสมอ[/SIZE]</TD><TD colSpan=4 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=604 colSpan=10>[SIZE=+1]-4. จิตมนุษย์เปรียบดังนํ้าคลองที่ขุ่นมัว[/SIZE]</TD><TD colSpan=18 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]-5. ฝึกสมาธิแล้วจะไม่บ้า[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=633 colSpan=26>[SIZE=+1]-6. การหายใจที่ถูกวิธี (เบื้องต้นของการฝึกลมปราณ)[/SIZE]</TD><TD colSpan=2 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=5></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]-7. ฝึกจิตมองกึ่งกลางระหว่างคิ้วสงบเร็ว[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]เริ่มต้นฝึกสมาธิตามลำดับดังนี้[/SIZE]</TD><TD colSpan=2 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=629 colSpan=22>[SIZE=+1]1. วิธีนั่งสมาธิ[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]2. วิธีปรับลมหายใจ[/SIZE]</TD><TD colSpan=4 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=629 colSpan=22>[SIZE=+1]3. วิธีมองกึ่งกลางระหว่างคิ้ว[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]4. ประโยชน์จากการมองกึ่งกลางระหว่างคิ้ว[/SIZE]</TD><TD colSpan=4 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=5></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]5. วิธีกล่อมจิตให้สงบในเบื้องต้น[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]6. วิธีพัฒนาจิตให้ได้นิมิต[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]7. การสร้างนิมิตวงกลม[/SIZE]</TD><TD colSpan=4 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]8. เหตุที่ใช้วงกลมเป็นนิมิต[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=601 colSpan=8>[SIZE=+1]9. เหตุที่เกิดของวิธีมองกึ่งกลางระหว่างคิ้ว[/SIZE]</TD><TD colSpan=20 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD height=22></TD><TD width=611 colSpan=15>[SIZE=+1]10. เหตุที่ต้องสร้างรูปนิมิตขึ้นมาเพื่อยึดเหนี่ยว[/SIZE]</TD><TD colSpan=15 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=608 colSpan=12>[SIZE=+1]-8. ประสบการณ์ของผู้ฝึกสมาธิใหม่[/SIZE]</TD><TD colSpan=16 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]รายแรก เณรน้อยเห็นโยมพ่อที่เสียไป[/SIZE]</TD><TD colSpan=4 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=627 colSpan=20>[SIZE=+1]รายที่สอง สุขใจสงบกายที่ไม่เคยพบ[/SIZE]</TD><TD colSpan=8 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD height=22></TD><TD width=634 colSpan=27>[SIZE=+1]-9. ประโยชน์และโทษในการเพ่งกสิณไฟ[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]-10. เตโชกสิณ วิธีเพ่งกสิณไฟ[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=628 colSpan=21>[SIZE=+1]-11. เทียนแตก[/SIZE]</TD><TD colSpan=7 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]-12. อาโปกสิณ การเพ่งนํ้่า[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]-13. การเพ่งดวงอาทิตย์เสริมธาตุไฟ[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=627 colSpan=20>[SIZE=+1]-14. ตัวอย่างที่ได้รับโทษจากกสิณดวงอาทิตย์[/SIZE]</TD><TD colSpan=8 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=23></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]-15. ตัวยาสมุนไพรที่นำมารักษาโรคตาเจ็บ ต้อเนื้อ[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=23></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=629 colSpan=22>[SIZE=+1]-16. ประโยชน์ของนิมิตจากสมาธิ[/SIZE]</TD><TD colSpan=6 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]-17. ความหมายของนิมิตจากสมาธิ[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]-18. ภาวะวิญญาณผ่านร่างทรง[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=633 colSpan=26>[SIZE=+1]1.สภาวะของวิญญาณ[/SIZE]</TD><TD colSpan=2 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=628 colSpan=21>[SIZE=+1]2. สัตว์โลกมีหลายระดับ[/SIZE]</TD><TD colSpan=6 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=620 colSpan=16>[SIZE=+1]3. วิญญาณมีหลายระดับ[/SIZE]</TD><TD colSpan=12 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]4. โลกวิญญาณ[/SIZE]</TD><TD colSpan=2 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]5. วิญญาณในโลกมนุษย์[/SIZE]</TD><TD colSpan=4 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]6. การติดต่อกับโลกวิญญาณ[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=6></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=629 colSpan=22>[SIZE=+1]7. การเข้าทรง 10 ลักษณะ[/SIZE]</TD><TD colSpan=6 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=633 colSpan=26>[SIZE=+1]8. การเข้าทรงไม่จำเป็นต้องสั่นสะเทือนเสมอไป[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]9. จะเชื่ออย่างไรว่าวิญญาณองค์นั้นมาจริง[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=5></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]10. การเข้าทรงไม่ใช่ของสนุก[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]11. ข้อควรระวังผลเสียในการเชิญวิญญาณ[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=5></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=628 colSpan=21>[SIZE=+1]12. อย่าหลงยึดมั่นในวิญญาณ[/SIZE]</TD><TD colSpan=7 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=628 colSpan=21>[SIZE=+1]-19. วิธีช่วยคนทรงทั่วไปไม่ให้เสียสุขภาพ[/SIZE]</TD><TD colSpan=7 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=633 colSpan=26>[SIZE=+1]-20. พระเปรียญเล่าวัตรป่า[/SIZE]</TD><TD colSpan=2 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=628 colSpan=21>[SIZE=+1]วัยเด็กที่คึกคนอง[/SIZE]</TD><TD colSpan=6 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]-21. เหตุที่อยากจะบำเพ็ญยกระดับจิต[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=628 colSpan=21>[SIZE=+1]-22. เริ่มพบเห็นทางสว่าง สงบ สันโดษ[/SIZE]</TD><TD colSpan=6 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]-23. บวชเณรภาคฤดูร้อน[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]-24. ฝึกถอดจิตหวังหลุดพ้น[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=5></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=633 colSpan=26>[SIZE=+1]-25. วิธีถอดจิตออกอย่างสมบูรณ์[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=633 colSpan=26>[SIZE=+1]-26. ภาพที่เห็นในภาวะการณ์ที่ถอดจิต[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=2 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]ความแตกต่างของการถอดจิตสองแบบ[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]-27. ถอดจิตคุยกับผีตายทั้งกลม[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]-28. อโลกกสิณ การเพ่งแสงสว่างเป็นนิมิต[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=3></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=632 colSpan=25>[SIZE=+1]-29. ตาทิพย์จากการเพ่งแสงสว่าง[/SIZE]</TD><TD colSpan=2 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]ก้าวไปสู่ถนนนักบวชอย่างมั่นคง[/SIZE]</TD><TD colSpan=4 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=629 colSpan=22>[SIZE=+1]-30. สภาพวัดป่าดอยอินทร์ที่เชียงใหม่[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=5></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=4 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]ทุกชีวิตเกิดมาต้องสู้[/SIZE]</TD><TD colSpan=3 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=4></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=631 colSpan=24>[SIZE=+1]จดหมาย[/SIZE]</TD><TD colSpan=4 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=5></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=3 height=22></TD><TD width=630 colSpan=23>[SIZE=+1]ประกาศสงวนลิขสิทธิ์[/SIZE]</TD><TD colSpan=5 height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=2></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=5 height=22></TD><TD width=633 colSpan=25>[SIZE=+1]ชมรมธรรมไมตรี[/SIZE]</TD><TD height=22></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=31 height=8></TD></TR><TR vAlign=top><TD colSpan=5 height=22></TD><TD width=627 colSpan=20>[SIZE=+1]หนังสือที่พิมพ์จำหน่ายแล้ว[/SIZE]</TD><TD colSpan=6 height=22></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- text below generated by server. PLEASE REMOVE --></OBJECT></LAYER>

    </SPAN></STYLE></NOSCRIPT></TABLE></SCRIPT></APPLET><SCRIPT language=JavaScript src="http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/+sfgRmluamFuX1R5cGU9amF2YV9zY3JpcHQmRmluamFuX0xhbmc9SmF2YVNjcmlwdA==+/mc.js"></SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript src="http://geocities.com/js_source/+sfgRmluamFuX1R5cGU9amF2YV9zY3JpcHQmRmluamFuX0xhbmc9SmF2YVNjcmlwdA==+/geov2.js"></SCRIPT><SCRIPT language=javascript>geovisit();</SCRIPT>[​IMG] <NOSCRIPT>[​IMG]</NOSCRIPT>[​IMG]
     
  3. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467
    ได้จากลิงค์ครับ สั่งซื้อหนังสือได้ที่ อาจารย์ ยุทธพงษ์ แสงอรุณกุศล ที่ 59/303 บ้านชมรมธรรมไมตรี สุดซอย 15 หมู่บ้าน ป.ผาสุข ถนนบรมราชชนนี (ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี) บางระมาด ตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท์ 02-4483592 (ธนาณัติสั่งจ่าย ปณ.ตลิ่งชัน 10170 )
     
  4. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467
  5. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467
    ถวายหนังสือ<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    เมื่อวันศุกร์ที่27ธันวาคมพ.ศ. 2528 เวลา16.20 น.<o:p></o:p>
    คณะกรรมการชมรมธรรมไมตรีได้นำหนังสือประสบการณ์จากสมาธิ-วิญญาณ ตามแนวคำสอนสมเด็จโต สมาธิ ทางสงบ ถอดจิต จำนวน 100 เล่ม ทูลเกล้าถวายสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ณ ศาลา 100 ปี วัดราชบพพิธสถิตมหาสีมารามในโอกาสเดียวกันนี้ พระองค์ได้ประทานโอวาทตอนหนึ่ง
     
  6. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467
  7. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467
    บทนำ<O:p</O:p
    หนังสือแนวคำสอนสมเด็จโต สมาธิ ทางสงบ ถอดจิต ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติฝึกสมาธิอย่างละเอียดตลอดจนถึงการพิจารณาวิปัสสนาปลงอสุภะและถอดจิต จนได้รับการต้อนรับจากสาธุชน และกล่าวกันว่า เป็นหนังสืออ่านเข้าใจง่าย ปฏิบัติได้ผลดี<O:p</O:p
    บัดนี้ ผลงานเล่มต่อมา คือ หนังสือประสบการณ์จากสมาธิ - วิญญาณ ที่ท่านถืออยู่นี้ได้บันทึกเรื่องผลจากการปฏิบัติตามแนวคำสอนสมเด็จโตฯ มาเพื่อเป็นตัวอย่างและเป็นข้อชี้แนะแก้ไขข้อสงสัยเพื่อในการประพฤติปฏิบัติธรรมและจะได้เห็นผลสำเร็จเร็วไวยิ่งขึ้น<O:p</O:p
    ตัวอย่างในหนังสือส่วนหน้านี้ได้บันทึกอย่างละเอียดเป็นไปตามขั้นตอนจากเรื่องจริงของผู้ฝึกซึ่งได้ประสบมากับตนเอง ตั้งแต่ขั้นตอนการทำใจให้สงบในเบื้องต้นจนแน่วแน่ได้รูปฌาน อันเป็นการปูพื้นฐานให้จิตใจเข้มแข็งเกิดอำนาจพลังจิต สามารถสร้างเป็นทิพย์อำนาจให้เกิดตาทิพย์ ถอดจิต<O:p</O:p
    ตัวอย่างในส่วนหลังได้ชี้แนะวิธีการแห่งการปฏิบัติธรรมว่าจะต้องเป็นไปในลักษณะแน่วแน่ มั่นคง ศรัทธา เชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลและต่อเนื่องเป็นไปในลักษณะลดละปล่อยวางจากการยึดมั่นถือมั่นในสิ่งทั้งปวงจนมองเห็นความจริงว่า
     
  8. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467

    หน้า1
    พระบรมราโชวาท
    <O:p</O:pวิธีการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ<O:p</O:p

    วิทยาการทั้งหลายนั้น เมื่อนำไปใช้อาจจะมีผลในทางสร้างสรรค์หรือในทางเสื่อมก็ได้ จึงต้องใช้อย่างระมัดระวังเพื่อที่จะให้เกิดประโยชน์สร้างสรรค์แต่เพียงทางเดียวและการใช้วิชาการจะต้องอาศัยปัจจัยสำคัญ 2 ประการเป็นหลัก<O:p</O:p
    1. ได้แก่ความรู้ที่ถูกต้องทั่วถึง ประกอบด้วยความสามารถ ฉลาดในวิธีใช้วิชาการนั้นประการหนึ่ง<O:p</O:p
    2. ความมีเจตนาบริสุทธิ์ ประกอบด้วยการกระทำความประพฤติที่สุจริตและถูกต้องของผู้ใช้อีกประการหนึ่ง<O:p</O:p
    การทำงานให้สำเร็จผลแน่นอนและสมบูรณ์ตามเป้าหมายนั้น จะต้องใช้ความรู้ความสามารถพร้อมคุณสมบัติที่สำคัญๆ ในตัวบุคคลหลายประการ เช่น<O:p</O:p
    หน้า2<O:p</O:p
    ความตั้งใจมั่น<O:p</O:p

    ความคิดสร้างสรรค์<O:p</O:p
    ความอุตสาหะพยายาม<O:p</O:p

    ความรับผิดชอบ<O:p</O:p
    ความรอบคอบระมัดระวัง<O:p</O:p
    ตลอดจนความสุจริตเป็นธรรมนำมาปฏิบัติงานโดยพร้อมสรรพ และโดยเต็มกำลังอย่างสมํ่าเสมอ การปฏิบัติดังนี้ย่อมจะรู้สึกว่ายาก ว่าหนัก แต่ก็จะเป็นไปเพียงในระยะต้นๆ เมื่อได้พยายามปฏิบัติให้เคยชินจนเป็นปกติแล้ว ก็จะเกิดความคล่องแคล่ว ความชำนาญ ทำงานได้สะดวกคล่องตัว ไม่รู้สึกว่าเป็นภาระหนักกายหนักใจประการใด งานที่เคยเห็นว่ายากหรือมากมายก็จะปฏิบัติได้โดยง่าย และรวดเร็วทุกอย่าง ทั้งได้รับผลสมบูรณ์ที่พึงประสงค์ด้วย<O:p</O:p
    แต่โดยทางตรงข้ามถ้าปฏิบัติงานอย่างหย่อนยานตามสบาย ผลร้ายก็จะเกิดขึ้นตามมา เพราะการประพฤติดังนั้นจะบั่นทอนความรู้ ความสามารถทุกอย่างให้ถดถอยลงเป็นลำดับ รวมทั้งความคิดอ่านก็จะสั้นตัวเสื่อมทรามลง<O:p</O:p
    หน้า3<O:p</O:p
    ด้วย งานที่ง่ายก็จะกลายเป็นยาก และที่ยากหน่อยก็จะทำไม่ไหว ลงท้ายก็จะทำไม่สำเร็จ ต้องเสียงาน และเสียคน ไปในที่สุด ดังนั้น จึงใคร่ขอให้แต่ละคนสังวรระวังให้มากในการที่จะออกไปปฏิบัติงาน สร้างความสำเร็จความเจริญมั่นคงของตนเองและบ้านเมืองต่อไป<O:p</O:p
    ขออวยพรให้บัณฑิตใหม่มีความเข้มแข็งสมบูรณ์พร้อมด้วยกำลังกาย กำลังใจ เพื่อสามารถทำการงานให้ประสบความสำเร็จและความรุ่งเรืองก้าวหน้าในชีวิตและขอทุกๆท่านที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้มีความผาสุกสวัสดีจงมีทั่วกัน<O:p</O:p
    พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานแด่บัณฑิตใหม่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ประจำปีการศึกษา 2527<O:p</O:p
    เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ. ศ. 2528<O:p</O:p
    <O:p</O:p
     
  9. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467
    หน้า5
    แนวคำสอนสมเด็จพระสังฆราชฯ<O:p</O:p

    ศีลนำสุขมาให้<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    เมื่อวันที่15 กันยายาน พ.ศ. 2527 ตรงกับวันเสาร์ แรม 6 คํ่า เดือน 10 ปี ชวด<O:p</O:p
    คณะกรรมการชมรมธรรมไมตรี ได้นำหนังสือแนวคำสอนสมเด็จโต เรื่องสมาธิ ทางสงบ ถอดจิต จำนวน100 เล่ม ขึ้นทูลถวายแด่สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก (วาสนมหาเถระ) ณ พระอุโบสถ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม <O:p</O:p
    ดังจดหมายที่นำขึ้นทูลเกล้าถวายมีใจความดังต่อไปนี้<O:p</O:p
    หน้า6<O:p</O:p

    15 กันยายน 2527<O:p</O:p
    เรื่อง ทูลถวายหนังสือธรรมะ<O:p</O:p
    กราบทูล สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก<O:p</O:p
    สิ่งที่ส่งมาด้วย หนังสือ
     
  10. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467

    หน้า36
    ศีลธรรมนำใจให้สร่างโศก
    ช่วยบรรเทาทุกข์โศกวิโยคหาย
    จำเริญจิตพาใจให้สบาย
    อีกร่างกายก็พลอยสุขสำราญเอย
    (สำนวนเก่า)
    หน้า37
    ด้วยสำนึกหน้าที่แห่งการเป็นชาวไทยอยู่เสมอ
    (พ.ต.ท.รุ่งโรจน์ เรืองฤทธิ์)
    ด้วยสำนึกหน้าที่แห่งการเป็นชาวไทยอยู่เสมอ เราก็ฉุกคิดด้วยพื้นฐานชีวิตดั้งเดิมของเรานั้น มิได้เลิศลอยมาจากไหน พ่อเป็นครูประชาบาลโซๆ แม่เป็นชาวสวนโทรมๆร่วมกันฟันฝ่าขวากหนามชีวิต เลี้ยงลูกสิบสามคนมาอย่างแร้นแค้นแสนเข็ญ
    หน้า38
    สิ่งนี้เป็นภาพชีวิตในอดีต ที่เราสำนึกเราให้สังวรระวังตนอย่าหลงตัวลืมตนเป็นคน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 มีนาคม 2007
  11. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467

    หน้า42
    วังวนนํ้าป่วนแล้ว มักเป็น ตมนา
    คนวุ่นชุลมุนเข็ญ ขุ่นข้อง
    ลมพัดจักยังเห็น แพ้พฤกษ์
    คนจึ่งควรจะต้อง มั่นไว้ในธรรม
    (จากสุภาษิตพระร่วง)
    หน้า43
    จิตมนุษย์
    เปรียบดังนํ้าคลองที่ขุ่นมัว
    จิตมนุษย์เปรียบดังนํ้าคลองที่ขุ่นมัว ภาวะการณ์เช่นนี้จึงทำให้มนุษย์ส่วนมากมองไม่เห็นสภาพความเป็นจริงของธรรมชาติในตนที่ถูกโคลนตมอันเปรียบดังกิเลสผสมอยู่ในนํ้าปิดบังปัญญาตน
    การฝึกสมาธิเป็นการฝึกจิตให้สงบ เปรียบดังการตักนํ้าคลองมาใส่โอ่ง จากนํ้าคลองที่กระแสลมพัดพากระแสคลื่นที่คอยกวัดแกว่ง โคลนตมจึงไม่สามารถตก
    หน้า44
    ตะกอน จิตมนุษย์โดยทั่วไปก็มีภาวะคล้ายเช่นนี้ที่จะหาความสงบได้ยาก
    แต่เมื่อนํ้าคลองถูกตักมาอยู่ในโอ่ง เป็นการจำกัดด้วยสถานที่ให้นิ่งสงบลงถูกกาลเวลากักอยู่ระยะหนึ่งเปรียบดังจิตที่ถูกอบรมบ่มนิสัยอยู่ระยะหนึ่ง จิตก็จะค่อยๆสงบลงเหมือนนํ้าในโอ่งก็จะค่อยๆตกตะกอนระยะเวลาแห่งการอบรมบ่มนิสัยยิ่งยาวนานและถูกวิธีแล้วนํ้าในโอ่งก็จะใสสะอาดเหมือนจิตนั้นที่อยู่ในภาวะที่ฝึกอบรมปฏิบัติถูกต้องดีแล้ว ก็จะสามารถ รักษาภาวะใสสะอาดจิตนิ่งอยู่ได้นานเท่าที่กำลังสมาธิรักษาอยู่ ยามใดที่จิตสงบนํ้าใสสะอาด ก็พอที่จะมองลงไปถึงก้นบึ้งของโอ่งนํ้าเหมือนมองเห็นกิเลสดังโคลนตมอยู่มากมาย
    แต่วันใดที่มีใครมากวนนํ้าอันใสสะอาด ตะกอนหรือกิเลสก็จะลอยขึ้นมาปนกับนํ้าสะอาดทำให้นํ้าที่เปรียบดังจิตใจนั้นขุ่นมัวขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง
    ตัวอย่างเช่น
    มีคนมายั่วให้เราเกิดโทสะ
    หน้า45
    โทสะเกิดขึ้นก็ทำให้อารมณ์เศร้าหมองขุ่นมัว
    ภาวะนี้จิตจึงไม่สงบ
    สรุป
    การฝึกสมาธิเป็นการฝึกจิตมีลักษณะคล้ายกับการกล่อมเกลาให้จิตสงบ แต่ยังไม่ได้ละลายกิเลสที่เหมือนโคลนตมนอนนิ่งอยู่ที่ก้นบึ้งของโอ่งหรือสันดานคน และใครที่มีความสามารถกล่อมเกลาอารมณ์ตนให้นิ่งอยู่ได้นานเท่าใด ที่ทนต่อการรบเร้าของอารมณ์ โลภ โกรธ หลง ที่ผ่านเข้ามาทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็ขึ้นอยู่กับความแข็งแกร่งของจิตที่ฝึกอบรมมา
    เหตุที่ภาวะฌานเสื่อม
    จิตที่ฝึกได้ฌานแล้วเป็นสภาพนํ้าที่ได้ตกตะกอนแล้ว จิตจะใสและสว่างมีกำลังสามารถมองเห็นของที่ละเอียดอ่อนที่ลอยผ่านนํ้าที่ใสสะอาดเช่นนั้น ก็เป็นภาวะที่จิตนั้นสามารถมองเห็นของทิพย์ที่มีรูปทิพย์ได้ซึ่งเรียกกันว่า ตาทิพย์
    แต่เมื่อจิตขุ่นมัวเศร้าหมองเพราะมีเรื่องต่างๆที่ทำให้ไม่พอใจขึ้นมา ก็เหมือนหนึ่งมีฝุ่นผงเข้าเคลือบดวงจิต
    หน้า46
    ที่แจ่มใสปนเข้าไปในนํ้าที่ใสสะอาด ทำให้นํ้านั้นขุ่นมัวและยังกลัดกลุ้มมากด้วยจิตพยายามปรุงแต่งแล้วจิตเราเองก็จะเป็นผู้ทำลายเราเอง กวนเอาตะกอนที่นอนก้นนั้นขึ้นมาผสมกับฝุ่นผงใหม่ จึงทำให้นํ้านั้นขุ่นข้นบังแสงบังจิตให้ตกอยู่ในสภาพมืดมนอีกครั้งหนึ่ง
    จิตที่มัวหมองย่อมไม่ทรงด้วยอำนาจฌาน ดังนั้นตาทิพย์จึงเสื่อมไม่สามารถที่จะมองเห็นของทิพย์อีก
    นอกเสียจากค่อยๆดัดจิตใจให้สงบอีกครั้งหนึ่งจนนํ้าที่มัวหมองนั้นตกตะกอนนอนก้นเหมือนเดิม ภาวะฌานก็จะทรงอำนาจกำลังเหมือนเดิมอีกครั้งหนึ่ง
    วิถีแห่งการเข้าสู่วิปัสสนากำจัดกิเลส
    ยามภาวะการณ์ที่กิเลสเปรียบดังโคลนตมได้ตกตะกอนแล้ว ก็ให้ค่อยๆตักออกหรือดูดออกด้วยการเข้าสู่การพิจารณาด้วยวิปัสสนาค้นหาสืบเสาะจากผลจนถึงเหตุ จากเหตุไปหามูล ทบทวนจนแจ้งแน่ชัดประจักษ์แก่ใจแล้ว ก็สามารถค่อยๆละลายกิเลสเหล่านี้ออกจากใจ
    หน้า47
    เหมือนดูดตะกอนในโอ่งออกไป กิเลสคนก็จะค่อยๆหมดไปด้วยเหตุฉะนี้
    จิตที่รู้แจ้งสมควรแก่เหตุแล้ว สุดท้ายก็จะเหมือนนํ้าอันสะอาดอยู่ในโอ่ง
    แต่การกระทำอันลึกซึ้งซับซ้อนละเอียดอ่อนเช่นนี้ต้องทำด้วยความเอาจริงเอาจังที่ประณีตผสมด้วยความอดทนอย่างยิ่งยวด และต้องให้เวลาอันยาวนานพอสมควรงานชำระล้างกิเลสดูดโคลนตมออกจากโอ่ง จึงจะสามารถสำเร็จลุล่วงได้ผลดีอย่างแน่นอน
    โดยหลักการของการพิจารณาวิปัสสนาแล้ว
    ถ้าเป็นวัตถุสิ่งของรวมทั้งร่างกายเรา
    ให้พิจารณาว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งหล่อหลอมจากธาตุทั้ง 4 คือ ดิน นํ้า ลม ไฟ ที่ก่อตัวมีลักษณะต่างๆให้เราหลงยึดมั่น
    ถ้าเป็นภาวะพฤติกรรมความรู้สึกความทรงจำภาวะจิตต่างๆ
    หน้า48

    ให้พิจารณาว่าอารมณ์เหล่านี้เป็นเพียงพฤติกรรมที่หล่อหลอมมาจากจิตอุปาทานปรุงแต่งยึดมั่นถือมั่น จึงมีความรู้สึกเป็นไปตามลักษณะในเหตุการณ์นั้น
    ที่จริงแล้ว
    โดยสัจภาวะทั้งวัตถุสิ่งของร่างกายรวมทั้งพฤติกรรมความรู้สึก ความทรงจำ ภาวะจิตต่างๆเหล่านี้ต่างก็ไม่พ้นจากภาวะความจริงแห่งสัจธรรมว่า
    ทุกอย่างในโลกนี้ย่อมตกอยู่ในสามัญลักษณะ 3 ประการคือ
    อนิจจัง-ความไม่เที่ยงแท้ยั่งยืนจีรัง
    ทุกขัง-ความทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้
    อนัตตา-ความเป็นของไม่ใช่บุคคลตัวตนเราเขา
    ผู้ใดแจ้งแต่เหตุนี้แล้ว ย่อมบอกได้ว่า
    สัจธรรมเป็นธรรมอันประเสริฐ
    ผู้นั้นจึงสามารถลอยอยู่เหนือโลกธรรม 8 ประการได้อันมี
    หน้า49
    ได้ลาภ-เสื่อมลาภ ได้ยศ-เสื่อมยศ
    สรรเสริญ-นินทา สุข-ทุกข์
    ทั้งนี้การพิจารณาสัจภาวะย่อมขึ้นอยู่กับคน
    ซึ่งที่จริงแล้ว
    ช้างม้าวัวควายยังฝึกให้ดีได้
    แล้วไฉนคนที่ได้ชื่อว่าสัตว์ประเสริฐจะฝึกไม่ได้
    คนโง่ยังพอฝึกให้ดีได้
    คนเกียจคร้านไม่เอาไหนเลยซิฝึกได้ยาก
    <O:p</O:p

    <!-- text below generated by server. PLEASE REMOVE --></OBJECT></LAYER>
    </SPAN></STYLE></NOSCRIPT></TABLE></SCRIPT></APPLET><SCRIPT language=JavaScript src="http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/mc.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/mc1.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/mc2.js"></SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript src="http://geocities.com/js_source/geov2.js"></SCRIPT><SCRIPT language=javascript>geovisit();</SCRIPT>[​IMG] <NOSCRIPT>[​IMG]</NOSCRIPT>[​IMG]
     
  12. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467

    หน้า50
    การฝึกตน
    สำรวมอินทรีย์พิจารณาอารมณ์
    ระวังกิเลสนอกกายจะเข้ามาปรุงแต่ง
    ระวังกิเลสในกายอย่าให้กำเริบ
    หน้า51
    ฝึกสมาธิแล้วจะไม่บ้า
     
  13. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,467

    หน้า62
    ปัญญาย่อมเกิดเพราะ ประกอบ<O:p></O:p>
    แม้หมั่นจึงจะรู้ มากได้<O:p></O:p>
    ยิ่งเรียนยิ่งรอบรู้ แหลมหลัก<O:p></O:p>
    เหมือนมีดหมั่นลับไว้ จึ่งใช้สมจินต์<O:p></O:p>
    (พระราชนิพนธ์ภาษิต พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว)<O:p></O:p>
    หน้า63<O:p></O:p>
    การหายใจที่ถูกวิธี<O:p></O:p>
    (เบื้องต้นของการฝึกลมปราณ)<O:p></O:p>
    การหายใจที่ถูกวิธีเป็นเรื่องสำคัญ แต่คนส่วนมากมองข้ามไป และไม่ทราบด้วยว่าการหายใจของตนนั้นถูกต้องหรือไม่<O:p></O:p>
    ท่านเคยสังเกตการหายใจของทารกบ้างหรือไม่ หากใช้ความสังเกตการหายใจของทารก จะพบว่าเวลาหายใจ บริเวณหน้าอกจะขยายขึ้น แล้วก็แฟบลงทุกครั้งที่หายใจเข้า-ออก หากสังเกตให้ดีๆ จะเห็นว่าส่วนที่ขยายนั้นไม่ใช่หน้าอก แต่เป็นช่องท้อง หรือจะพูดให้ถูกก็คือกะบังลมกล้ามเนื้อบริเวณหน้าอกและช่องท้อง<O:p></O:p>
    หากท่านจะเปรียบเทียบกับการหายใจของท่าน ก็จะพบว่ามีความแตกต่างกัน ถ้าท่านเป็นคนหนึ่งที่หายใจเหมือนกับคนส่วนใหญ่ ที่หายใจไม่ถูกวิธี ก็จะพบว่า<O:p></O:p>
    หน้า64<O:p></O:p>
    หน้าอกส่วนบนจะขยายขึ้นเวลาหายใจเข้า และแฟบลงเวลาหายใจออก คนเราเมื่อโตขึ้นมาก็มักจะถูกสอนให้เก็บท้องหรือไม่ให้ท้องยื่น การหายใจก็ชักจะเปลี่ยนไปในทางตรงกันข้าม คือหน้าอกแฟบลงเวลาหายใจเข้าและขยายขึ้นเวลาหายใจออก<O:p></O:p>
    การหายใจเหล่านี้นับเป็นการหายใจที่ผิด ผู้เชี่ยวชาญในด้านการหายใจกล่าวว่า ไม่ใช่เป็นการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ เมื่อคนเราโตขึ้น แต่เป็นอุปนิสัยที่ไม่ดีต่างหากและเชื่อว่าจะเปลี่ยนได้ไม่ยาก การหันไปหายใจแบบทารกจะเป็นการช่วยสุขภาพได้มาก เช่น อาจขจัดอาการปวดศีรษะเรื้อรัง และอ่อนเพลียได้ รวมทั้งความเครียด ความดันสูง ช่วยให้หัวใจแข็งแรง และรักษาโรคอื่นๆได้อีกมาก<O:p></O:p>
    แพทย์และนักจิตวิทยา ต่างลงความเห็นพ้องต้องกันว่าโรคที่เกี่ยวกับความเครียดทั้งทางร่างกายและสมองหรือจิตใจนั้น มีสาเหตุมาจากการหายใจไม่ถูกวิธี<O:p></O:p>
    หน้า65<O:p></O:p>
    ในการบริหารร่างกาย บางคนใช้วิธีหายใจที่ไม่ถูกต้องก็ทำให้ปวดศีรษะ เจ็บหน้าอกและบริเวณไหล่ได้ แพทย์แนะนำว่า ในการบริหารร่างกายทุกท่าที่ยืดตัวทำให้หายใจเข้า ถ้าหดหรือผ่อนให้หายใจออก<O:p></O:p>
    การกลั้นหายใจ ในขณะที่หายใจออก ไม่ควรทำเช่นเดียวกับในเวลาพูด ควรเว้นระยะหายใจในระหว่างการพูด แพทย์พบว่าคนที่กลั้นหายใจขณะพูดจะทำให้ความดันสูงได้<O:p></O:p>
    คนเรามักจะลืมว่า การหมุนเวียนของโลหิตในร่างกายเรานั้น เป็นการนำอ๊อกซิเจนไปเลี้ยงสมองและอวัยวะสำคัญอื่นๆ หากร่างกายไม่ได้รับอ๊อกซิเจนพอจากการหายใจ การหมุนเวียนของโลหิตก็จะต้องเร็วขึ้น เพราะโลหิตจำต้องหมุนเวียนเร็วขึ้น เพื่อนำอ๊อกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายให้เพียงพอ จึงทำให้เกิดแรงดันของโลหิตสูงขึ้น<O:p></O:p>
    หน้า66<O:p></O:p>
    โลหิตได้รับอ๊อกซิเจนจากปอดเมื่อหายใจเข้า และปอดก็รับคาร์บอนไดอ๊อกไซค์แล้วกำจัดออกมาเมื่อหายใจออก หากเราหายใจทางอก โลหิตที่อยู่ส่วนล่างของปอดจะไม่ได้รับการถ่ายเทอ๊อกซิเจน และคาร์บอนไดอ๊อกไซค์ได้ดีพอ<O:p></O:p>
    แพทย์ได้ศึกษาพบว่า คนที่หายใจโดยทางหน้าอก (chest breathing) มักเป็นโรคหัวใจได้ง่าย เพราะคนเหล่านั้นมักตกอยู่ในอาการเครียด<O:p></O:p>
    ส่วนการหายใจช้าๆและลึกๆ โดยทางกะบังลม(Diaphram breathing) จะเป็นการผ่อนคลายความเครียดได้มาก การหายใจทางกะบังลมทำให้ร่างกายผลิตเอนดอร์ฟินได้มากขึ้น เอนดอร์ฟินคือสารที่มีคุณสมบัติคล้ายมอร์ฟีน คือ ช่วยบรรเทาความเจ็บปวด ฉะนั้นหมอหลายคนจึงมักสอนคนไข้ ให้หายใจทางกะบังลมซึ่งจะช่วยให้คนไข้บรรเทาอาการเจ็บปวดลงได้ ภายในไม่กี่นาที ทำให้ความดันโลหิตลดลง การเต้นของหัวใจช้าลงและทำให้ใจสงบลงได้<O:p></O:p>
    หน้า67<O:p></O:p>

    แพทย์บางคนสอนให้คนไข้ที่จะเข้าทำการผ่าตัดให้หายใจโดยทางกะบังลม ซึ่งจะทำให้คนไข้มีอาการปวดน้อยลงหลังผ่าตัด ไม่ต้องใช้ยามาก<O:p></O:p>
    การหายใจทางปากเป็นวิธีที่ไม่ถูกต้อง การหายใจทางจมูกนั้น อากาศได้ถูกกลั่นกรองเชื้อโรค และสิ่งสกปรกอื่นๆ โดยขนจมูก และเครื่องช่วยอื่นๆยังทำให้อากาศผ่านการทำให้บริสุทธิ์ด้วย คนที่หายใจทางปาก ลิ้นจะไม่อยู่ในท่าปกติ ซึ่งจะทำให้มีปัญหาเรื่องฟันตามมา เวลานอนก็จะกรนมาก ทำให้เป็นโรคความดันโลหิตสูงได้มากกว่าคนปกติ วิธีแก้ไข คือหัดหายใจทางกะบังลมและทางจมูก ซึ่งจะทำได้ไม่ยาก คือ โดยการหุบปากแล้วหายใจช้าๆทางจมูก<O:p></O:p>
    การหายใจทางกะบังลมทำได้โดยไม่ยาก คือ หายใจเข้าทำให้ท้องขยาย หุบปากให้ลิ้นอยู่บนเพดานปากอย่ากัดกราม แล้วหายใจออกช้าๆ การฝึกจะง่ายเข้า ถ้าอยู่ในท่านอนหรือท่านั่ง ควรทำวันละ 1-2 ครั้ง<O:p></O:p>
    หน้า68<O:p></O:p>
    จะให้ดีควรเอาฝ่ามือทาบไว้หน้าท้อง จะได้รู้ว่าทำถูกหรือไม่การฝึกจะใช้เวลาไม่นาน หากตั้งใจทำไม่ช้าก็จะเป็นไปเองโดยไม่รู้สึก<O:p></O:p>
    (เรียบเรียงจาก Prevention December 82)<O:p></O:p>
    วิรดา ดิษยมณฑล อนุกรรมการเผยแพร่ให้ความรู้แก่ผู้บริโภค ในคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค<O:p></O:p>
    หมายเหตุ บทความนี้ได้รับการอนุเคราะห์จากคุณศิริพร ทองคำวงศ์ ผู้จัดการรายการเพื่อนหญิง สถานีวิทยุแห่งประเทศไทย<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>

    <!-- text below generated by server. PLEASE REMOVE --></OBJECT></LAYER>
    </SPAN></STYLE></NOSCRIPT></TABLE></SCRIPT></APPLET><SCRIPT language=JavaScript src="http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/+sfgRmluamFuX1R5cGU9amF2YV9zY3JpcHQmRmluamFuX0xhbmc9SmF2YVNjcmlwdA==+/mc.js"></SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript src="http://geocities.com/js_source/+sfgRmluamFuX1R5cGU9amF2YV9zY3JpcHQmRmluamFuX0xhbmc9SmF2YVNjcmlwdA==+/geov2.js"></SCRIPT><SCRIPT language=javascript>geovisit();</SCRIPT>[​IMG] <NOSCRIPT>[​IMG]</NOSCRIPT>[​IMG]
     
  14. พิศวัสต์

    พิศวัสต์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2007
    โพสต์:
    142
    ค่าพลัง:
    +431
    จาสั่งซื้อยังไงหรอครับ

    ผมจาให้ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ไปนะครับ (087-2066295)
     
  15. boyalive

    boyalive Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2008
    โพสต์:
    35
    ค่าพลัง:
    +33
    "จงสร้างกรรมดีเอาไว้เถิด
    นำให้เกิดผลบุญวาสนา
    ผลบุญที่สร้างจักนำพา
    เป็นหนทางสู่พระนิพพาน"

    อนุโมทนาสาธุครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...