เรื่องพระกรรมฐาน

ในห้อง 'สมเด็จโต พรหมรังสี' ตั้งกระทู้โดย KWANPAT, 17 มีนาคม 2011.

  1. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ตามคำภีร์พระปรมัตถโชติกะอรรถกถาสุตตนาบาต

    ได้จำแนกกรรมฐานไว้ ๒ อย่าง คือ

    ๑. สัพพัตถกรรมฐาน
    เป็นกรรมฐานที่บุคคลพึงกระทำก่อนเจริญก่อน
    ก่อนกรรมฐานอื่นๆ ใน ๔๐ อย่าง กรรมฐานที่ควรเรียนก่อนจัดเป็นมูลกรรมฐาน
    คือ หัวใจสมถะกรรมฐาน มีพระพุทธานุสสติกรรมฐานเป็นต้น

    ๒. ปาริหาริยกรรมฐาน
    หมายถึง เป็นกรรมฐานเบื้องต้น จนจิตเป็นสมาธิ
    ตั้งสมาธิ ผูกสมาธิตั้งมั่น จึงเลือกเอาพระกรรมฐาน ๔๐ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่งที่

    เหมาะสม แก่จริตของผู้เจริญกรรมฐาน ให้เจริญเป็นลำดับๆ ที่เป็นกรรมฐานที่มี

    อารมณต่อเนื่องไป ทำให้เกิด พระปิติทั้ง ๕ พระยุคคลธรรมทั้ง ๖ พระสุขสมาธิ ๒
    ตั้งแต่ตั้งสมาธิ ผูกสมาธิยังไม่ได้ จนมีสมาธิกล้าขึ้น อุปจารสมาธิ อุคคหนิมิต
    เป็นของคู่กันกับอุปจารสมาธิ
    โดยเมื่อจิตเป็นสมาธิ สงบนิ่งกล้าขึ้น
    ก็จะเกิดผลเป็น
    ปามุชชะคือ ความยินดี หรือที่เรียกว่าปีตินั่นเอง
    เมื่อปีติเกิด ศรัทธาย่อมเกิดตาม

    fairy3:z9
    เนื่องในวันสงกรานต์
    ข้าพเจ้าจะสวดมนต์ภาวนา
    ต่อพระพุทธองค์และสิ่งศักดิสิทธิ์ทั้งหลาย
    รวมถึงการสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ
    ขออุทิศบุญกุศลให้กับพระรัตนตรัย
    และสิ่งศักดิื์์สิทธิ์ทั้งหลาย
    รวมถึงบิดามารดาครูบาอาจารย์
    สรรพสัตว์ทั้งหลาย
    รวมถึงเจ้าทุนนายบุญทั้งหลาย
    และิเพื่อนกัลยานิมิตรทุกท่าน
    ท่านทั้งหลายต้องทุกข์
    ก็ขอให้พ้นจากทุกข์
    ท่านทั้งหลายที่สุข
    ก็ขอให้สุขยิ่งยิ่งขึ้นไป
    ในทุกภพภูมิของท่านเทอญ
    อนุโมทนามิ จากการปฏิบัติธรรม
    ในครั้งนี้ของข้าพเจ้า
    <fieldset class="fieldset"> <legend>รูปขนาดเล็ก</legend> [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG]
    </fieldset>

    ขอนำบุญกุศลจากการปฏิบัติธรรม
    สวดมนต์ภาวนาและสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ
    เมื่อคืนนี้มาฝากให้เพื่อนกัลยานิมิตรทุกท่านค่ะ

    ;aa27

    เริ่มทำการสวดมนต์ประมาณ 21.00 น.
    บทพระคาถาบูชาพระบรมสารีริกธาตุต่างๆ
    สวดทุกพระคาถา พระปริตร ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
    พระคาถาชินบัญชร พระบารมี 30 ทัศ
    พระคาถาโพธิบาท พระคาถามงคลจักรวาฬใหญ่
    มงคลสูตร พระคาถายันต์เกราะเพชร
    บทมหากรุณาธารณีสูตรพระโพธิสัตว์กวนอิม
    พระคาถาพระเกจิอาจารย์ทั้งหลาย
    รวมถึงองค์เทพเทวดาทั้งหลาย
    กว่าจะเสร็จก็ประมาณเกือบ 24.00 น.
    และได้แผ่บุญกุศลสำหรับทุกท่าน
    ขอนำบุญกุศลมาฝากทุกท่าน
    มา ณ โอกาสวาระดิถีขึ้นปีใหม่ไทยนี้ด้วย
    ขอให้ทุกท่านคิดสิ่งใดสมพรปรารถนาทุกประการ

    [FONT=&quot]สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง
    สังฆะระตะนัง ติณณัง ระตะนานัง อานุภาเวนะ
    จะตุราสีติสะสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ
    ปิฎะภัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกานุภาเวนะ
    สัพเพ เต โรคา สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต
    อุปัททะวา สัพเพ เต ทุนนิมิตตา สัพเพ เต
    อะวะมังคะลา วินัสสันตุ อายุ วัฑฒะโก
    ธะนะวัฑฒะโก สิริวัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก
    วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะ ทาฯ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ทุกขะโรคะภะยา เวรา[/FONT][FONT=&quot] โสกา สัตตุ จุปัททะวา
    อะเนกา แนตะรายาปิ วินัสสันตุ จะ เตชะสา
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง[/FONT][FONT=&quot] โสตถิ ภาคยัง สุขัง พะลัง
    สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา
    สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง
    ด้วยอานุภาพแห่งธรรมทั้งปวง
    ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง
    ด้วยอานุภาพแห่ง รัตนะ คือ
    พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ
    ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมขันธ์
    แปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์ ด้วยอานุภาพ
    แห่งพระไตรปิฎก ด้วยอานุภาพ แห่งพระสาวก
    ของพระชินเจ้า ขอโรคทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขอภัยทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขออันตรายทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขออุปสรรคทั้งหลายทั้งปวงของท่าน
    ขอลางร้ายทั้งปวงของท่าน
    ขออวมงคลทั้งหลายทั้งปวงของท่าน จงพินาศไป
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอท่าน จงเจริญด้วยอายุ เจริญด้วยทรัพย์
    เจริญด้วยสิริ เจริญด้วยยศ
    [/FONT][FONT=&quot] เจริญด้วยกำลัง
    เจริญด้วยวรรณะ เจริญด้วยสุข ในกาลทั้งปวง
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอทุกข์ โรคภัย และเวรทั้งหลาย ขอความโศก
    ศัตรูแลอุปัทวะ
    [/FONT][FONT=&quot]ทั้งหลาย ทั้งอันตราย ทั้งหลาย
    เป็นอเนก จงพินาศไปด้วยเดช
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอความชนะ ความสำเร็จแห่งทรัพย์ ลาภ
    ความสวัสดี ความมีโชค ความสุข
    กำลัง สิริ อายุ และวรรณะ
    โภคะ ความเจริญแลเป็นผู้มียศ
    ขอความเป็นผู้มีอายุยืนร้อยปี
    และความสำเร็จกิจในความเป็นอยู่
    จงมีแก่ท่านฯ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา[/FONT]
    [FONT=&quot]สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา[/FONT]
    [FONT=&quot]สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา[/FONT]
    [FONT=&quot]สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง
    จงรักษาท่านด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง
    ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมื่อฯ
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง
    จงรักษาท่านอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง
    ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมื่อฯ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง
    จงรักษาท่าน ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง
    ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ทุกเมื่อฯ
    [/FONT]

    fairy3catt12
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Y4727610-12.jpg
      Y4727610-12.jpg
      ขนาดไฟล์:
      47.6 KB
      เปิดดู:
      240
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 เมษายน 2011
  2. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ปีติ มีลักษณะให้ใจผ่องใส คือ อิ่มใจ ซาบซ่าน
    ศรัทธา
    เป็นลักษณะให้แล่นไปด้วยดีอย่างหนึ่ง บุคคลเมื่อมีศรัทธาต่อสิ่งใด

    เมื่อระลึกถิงสิ่งนั้น จิตย่อมผ่องใส เกิดปีติ มีความไม่ท้อแท้ จิตใจย่อมแล่นไป

    ในสิ่งนั้น บุคคลผู้มีศรัทธาเชื่อกรรม เชื่อผลของกรรม เชื่อความที่สัตว์ทั้งหลาย

    มีกรรมเป็นของตน เชื่อในพระปัญญาการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า จิตก็ย่อมแล่น

    ไปตามบุญกุศล เป็นจิตที่มีกำลัง ย่อมทำอะไรให้สำเร็จได้ง่าย เรียกว่า
    พละ
    มีความเป็นใหญ่นการกระทำนั้น เรียกว่า
    อินทรีย์

    พละ [FONT=&quot]ประกอบด้วย ๕ ประการ[/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->

    [FONT=&quot]๑. ศรัทธาพละ[/FONT][FONT=&quot] มีความเชื่อมั่นเลื่อมใส เป็นกำลัง[/FONT]
    [FONT=&quot]๒. วิริยพละ[/FONT][FONT=&quot] มีความเพียงเป็นกำลัง[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. สติพละ[/FONT][FONT=&quot] มีความระลึกรู้เป็นกำลัง[/FONT]
    [FONT=&quot]๔. สมาธิพละ[/FONT][FONT=&quot] มีความตั้งใจมั่นเป็นกำลัง[/FONT]
    [FONT=&quot]๕. ปัญญาพละ[/FONT][FONT=&quot] มีความรอบรู้เป็นกำลัง[/FONT]

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> อินทรีย์ [FONT=&quot]ประกอบด้วย ๕ ประการ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑. สัทธินทรีย์[/FONT][FONT=&quot] มีความเชื่อความเลื่อมใสเป็นใหญ่ในหน้าที่[/FONT]
    [FONT=&quot]๒. วิริยินทรีย์[/FONT][FONT=&quot] มีความเพียงเป็นใหญ่ในหน้าที่[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. สตินทรีย์[/FONT][FONT=&quot] มีความระลึกรู้เป็นใหญ่ในหน้าที่[/FONT]
    [FONT=&quot]๔. สมาธินทรีย์[/FONT][FONT=&quot] มีความตั้งใจมั่นเป็นใหญ่ในหน้าที่[/FONT]
    [FONT=&quot]๕. ปัญญินทรีย์[/FONT][FONT=&quot] มีความรอบรู้เป็นใหญ่ในหน้าที่[/FONT]


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  3. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    เมื่อจิตมีพละกำลังเป็นใหญ่ในการตั้งสมาธิผูกสมาธิ
    ยังสมาธิให้เกิดแก่กล้าขึ้น ปีติความอิ่มเอิบใจก็เกิดตามลำดับดังต่อไปนี้
    ๑. พระขุททกาปีติ ปีติเล็กน้อย เกิดหนังหัวพอง ขนลุกทั่วทั้งตัว
    ๒. พระขณิกาปีติ ปีติชั่วขณะ เกิดปรากฏในจักขุทวารเป็นดังสายฟ้าแลบ
    เหมือนดีเหล็กเป็น ประกาย

    ๓. พระโอกกันติกาปีติ
    ปิติเป็นพัก ๆ เกิดให้กายไหวดังคลื่น
    กระทบฝั่ง เหมือนขี่เรือต้องระลอกคลื่น
    ๔. พระอุพเพงคาปีติ ปีติโลดโผน เกิดให้เนื้อตัวหวั่นไหว โลดโผน รุกแล่นไปมา
    ๕. พระผรณาปีติ ปิติซาบซ่าน เกิดแผ่นไปทั่วกาย กายเนื้อตัวแผ่ซ่าน เนื้อตัวเย็น
    เหมือนลงแช่น้ำ
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> พระปีติทั้ง ๕ ประการนี้ มีอยู่ในห้องพระพุทธานุสสติ นิมิต มีเพียงอุคคหนิมิต
    และสมาธิมีเพียงขณิกะสมาธิเท่านั้น


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> อุคคหนิมิต คือ นิมิตที่มาสู่ที่แจ้งแห่งมโนทวาร คือ เห็นนิมิตทางใจ
    การเห็นนิมิตทางใจ การเห็นนิมิตทางใจนั้น อาจเกิดจากการคิดขึ้นเองบ้าง
    เกิดเป็นนิมิตหลอนบ้าง เป็นนิมิตที่เกิดจากอุปาทาน
    บ้าง
    โบราณาจารย์ท่านให้แก่นิมิตหลอน
    นิมิตลวง
    ด้วยการกำหนดสมาธิ ดูรัศมีต่างๆ ขององค์ปีติสีต่างๆ

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> หรือวรรณะต่างๆนี้ เป็นรูปารมณ์ จัดเป็นองค์ธรรม เมื่อเป็นองค์ธรรม
    ก็จะเกิดนิมิตตามสภาวธรรมที่เป็นจริง ทำให้ไม่มีนิมิตหลอน นิมิตลวง เห็นตามรูปจริง
    เมื่อกำหนดสมาธิดูรัศมีต่างๆ ขององค์ปีติ เมื่อสมาธิกล้าขึ้น รัศมีองค์ปีติจะเกิด
    เป็นดวงๆบ้าง
    เป็นในลักษณะอื่นๆ บ้าง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 0.jpg
      0.jpg
      ขนาดไฟล์:
      10.4 KB
      เปิดดู:
      193
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  4. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    มื่อแก้นิมิตหลอก นิมิตหลอน ด้วยการนั่งภาวนาดูรัศมีขององค์พระปีติ 5 คือ
    รูปารมณ์ ได้แก่ สีต่างๆ ผู้ที่เต็มไปด้วยความศรัทธา เต็มไปด้วยสติ
    เต็มไปด้วยปัญญาย่อมเป็นผู้สามารถถอดกลั้น ต่อธรรมรมณ์
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    ที่เข้ามาสู่ทวารทั้ง ๕ มี รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส โผฏฐัพพะ เป็นต้น
    อารมณ์ที่ปรากฏทางรูปนั้น เมื่อไม่ดีก็หลับตาเสีย อารมณ์นั้นก็หายไป
    หรือสงบระงับไป แต่อารมณ์ทางหู คือ เสียงสงบได้ยาก
    แม้จิตจะเข้าถึงอัปปนาสมาธิแล้วเสียงก็ยังไม่สงบระงับเสียทีเดียว
    ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า เสียงเป็นเสี้ยนหนามของญาณ
    หรือ สมาธิ เมื่อปีติเกิดขึ้นตั้งแต่พระขุททกาปีติองค์แรก
    จนถึงพระผรณาปีติองค์สุดท้ายแล้ว ปีตินั้นก็แก่กล้าเต็มที่
    ให้เหตุผลปีติทั้ง ๕ ย่อมเป็นผลให้เกิดเป็น ปัสสัทธิ คือ ความสงบ
    ระงับทางกายทางใจ เรียกว่า ยุคลธรรม ธรรมที่เป็นคู่กัน มี ๖ ประการ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  5. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ๑. กายปัสสัทธิ จิตปัสสัทธิ สงบกาย สงบใจ
    เกิดปรากฏกายใจสงบระงับอยู่
    ๒. กายลหุตา
    จิตลหุตา กายเบา จิตเบา เกิดกายเบา
    เย็นสบาย หายใจก็ดูเบาสบาย
    ๓. กายมุทุตา
    จิตมุทุตา กายอ่อน จิตอ่อน
    เกิดกายเนื้อตัวอ่อน และหายใจก็อ่อนสุขุมนัก

    ๔. กายกัมมัญญตา
    จิตกัมมัญญตา กายควรแก่การงาน
    จิตควรแก่การงาน เกิดให้สมาธิเยือกเย็น จิตก็เย็นสบาย

    ๕. กายปาคุญญตา
    จิตตะปาคุญญตา กายคล่องแคล่ว จิตคล่องแคล่ว
    เกิดกายเนื้อตัวแวววาวดุจหิ่งห้อยเข้าในที่มืด หายใจก็ดูกคล่องแคล่วสบายๆ
    ๖. กายชุคคตา จิตชุคคตา
    จิตตรง เกิดเนื้อตัวและจิตใจตั้งมั่นอยู่สบายนัก

    ๑. กายสุข จิตสุข
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> สุขกาย สุขใจ เกิดให้กายภายในเนื้อตัวเย็นแต่ผิวหนัง
    เป็นดังลมพัด โชยอ่อนๆ พัดมาถูกต้องกาย หายใจก็อ่อนสุขุมนัก
    เหมือนนั่งอยู่ใต้ต้นไม้ ต้องลมริ้วๆ สบายริ้วๆ
    ๒. อุปจารสมาธิ พุทธานุสสติ
    จิตเป็นอุปจารสมาธิเต็มขั้น จะปรากฏบังเกิดให้จิตใจ
    ตั้งมั่น และนั่งอยู่เป็นสุขสบายไม่ไหวติง ปรากฏมีแสงรุ่งเรืองทั่วตัว


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  6. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    มื่อจิตสงบจากนิวรณ์ และอกุศลธรรมทั้งหลาย จิตจะเข้าสู่รูปาวจร คือ

    ญานที่ ๑ ปฐมฌาน
    อันประกอบไปด้วยองค์ ๕ คือ
    วิตก ความตรึก วิจาร ความตรองปีติ ความอิ่มใจ ความสุข ความสบายใจ ก็จะเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป

    ๑. อาวัชชนวสี
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    ชำนาญการระลึกนึกหน่วง
    ๒. สมาปัชชนวสี

    ชำนาญในการเข้าญาน

    ๓. อธิฏฐานวสี

    ชำนาญในการกำหนดอธิฐาน
    ๔. วุฏฐานวสี

    ชำนาญในการออกญาน
    ๕. ปัจเวกขณวสี

    ชำนาญในการพิจารณาองค์ญาน

    ญานที่ ๒ ทุติฌาน
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> คือ ฌานที่มีความอิ่มเอิบ ผ่องใสในกายภายใน
    มีภาวะแห่งจิตอันมีอารมณ์เป็นหนึ่งเกิดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร
    ความตรอง มีแต่ปีติ มีความอิ่บเอิบใจ มีความสุขใจ

    ญานที่ ๓ ตติยฌาน
    คือ เมื่อจิตคลายจากปีติ หรือความอิ่มเอิบใจ แล้วคลายจากความสุข
    หรือความสุขใจ จะเป็นผู้วางเฉย มีสติสัมปชัญญะอยู่ เสวยสุขด้วยนามกาย

    ญานที่ ๔ จตุถฌาน
    คือ เมื่อจิตละความสุขความทุกข์ได้ เพราะสุขใจทุกข์ใจ
    ดับไปในกาลก่อน มีความบริสุทธิ์แห่งสติ อันเกิดขึ้นเพราะอุเปกขา คือ การวางเฉย
    จิตจะเป็นเอกัคคตารมณ์


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]-->เมื่อจิตวางเฉยในอารมณ์ มีรูปเป็นต้นแล้ว จิตย่อมก้าวล่วงความกำหนดได้หมายรูปในรูป
    คือ
    รูปสัญญา หมายถึง ความจำหมาย กำหนดในรูป และจิตไม่ทำไว้ ไม่สนใจในรูปสัญญาต่างๆ
    แต่ทำไว้ในใจว่า
    อากาศไม่มีที่สิ้นสุด ก็เข้าสู่ ปฐมอรูปฌาน ชื่อว่า อากานัญจายตนะอากาศไม่มีที่สิ้นสุดเป็นอารมณ์
    เมื่อก้าวล่วง
    ปฐมอรูปฌานชื่อว่า อากาสานัญจายตนะด้วยประการทั้งปวง แล้วทำไว้ ในใจว่า วิญญาณ หาที่สุดมิได้เป็นอารมณ์
    เมื่อก้าวล่วง
    ทุติยอรูปฌาน ชื่อว่า วิญญานัญจายตนะ ด้วยประการทั้งปวง แล้วทำไว้ในใจว่า อะไร อะไร สักน้อยหนึ่ง ก็ไม่มี
    ก็เข้าสู่ ตติยอรูปฌาน ชื่อว่า อากิญจัญญายตนะ มีความกำหนด หมายความว่า
    ไม่มี อะไร อะไร สักน้อยนึ่ง เป็นอารมณ์
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->

    เมื่อก้าวล่วง ตติฌาน ชื่อว่า อากิญจัญญายตนะ ด้วยประการทั้งปวง ย่อมเข้าสู่ จตุถอรูปฌานชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ
    คือ มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
    เมื่อจิตก้าวล่วง จตุถอรูปฌาน ชื่อว่า เนสวสัญญานาสัญญายตนะ แล้วจิตก็เข้าสู่
    สัญญาเวทยิตนิโรธ คือ ดับสัญญาความจำได้ และดับเวทนา การสุข
    เป็นสมาบัติ ถ้าพระอริยบุคคล ผู้ได้ฌาน 8
    เข้าสู่สัญญาเวทยิตนิโรธ เรียกว่า เข้านิโรธสมาบัติ ถ้าปุถุชนผู้ได้รูปฌาน
    อรูปฌาน เข้า เรียกว่า เข้าสมาบัติ

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  7. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    บททำวัตรพระกรรมฐาน

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->สัมมาสัมพุทธัสสะ( กล่าว ๓ จบ )
    พุทธัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ

    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู

    อนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ

    สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯลฯ

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]-->เย จ พุทธา อะตีตา จะ
    เย จะ พุทธา อะนาคะตา

    ปัจจุปปันนา จะ เย พุทธา
    อะหัง วันทามิ สัพพะทา
    พุทธานาหัสสะมิ ทาโสวะ
    พุทธา เม สามิกิสสะรา

    พุทธานัญ จะ สิเร ปาทา
    มัยหัง ติฏฐันตุ สัพพะทาฯ
    นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง
    พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
    เอเตนะ สัจจะ วัชเชนะ
    โหตุ เม ชัยมัง คะลัง ฯ

    อุตตะมังเคนะ วันเทหัง
    ปาทะปังสุง วะรุตตะมัง

    พุทเธ โย ขะลิโต โทโส
    พุทโธ ขะมะตุ ตัง มะมังฯ (กราบ)





     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.6 KB
      เปิดดู:
      161
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  8. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิฯ
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
    ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ


    เย จ ธัมมา อะตีตา จะ
    เย จะ ธัมมา อะนาคะตา
    ปัจจุปปันนา จะเย ธัมมา
    อะหัง วันทามิ สัพพะทาฯ
    ธัมมา นาหัสสะมิ ทาโสวะ
    ธัมมา เม สามิกิสสะรา
    สัพเพ ธัมมาปิ ติฏฐันตุ
    มะมัง สิเรวะ สัพพะทาฯ
    นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง
    ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
    เอเตนะ สัจจะ วัชเชนะ
    โหตุ เม ชะยะมัง คะลัง ฯ
    อุตตะมัง เคนะ วันเทหัง
    ธัมมัญ จะ ทุวิธัง วะรัง
    ธัมเม โย ขะลิโต โทโส
    ธัมโม ขะมะตุตัง มะมังฯ ( กราบ )
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]-->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 2.gif
      2.gif
      ขนาดไฟล์:
      13.3 KB
      เปิดดู:
      172
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  9. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    สังฆัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะสังโฆ อุชุปฏิปันโน
    ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายปฏิปันโน ภะคะวะโต
    สาวะกะสังโฆ สามีจิปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย
    ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

    เย จ สังฆา อะตีตา จะ

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->เย จะ สังฆา อะนาคะตา
    ปัจจุปปันนา จะ เจา สังฆา
    อะหัง วันทามิ สัพพะทา ฯ
    สังฆานาหัสสะมิ ทาโสวะ
    สังฆา เม สามิกิสสะรา
    เตสัง คุณาปิ ติฏฐันตุ
    มะมัง สิเรวะ สัพพะทา ฯ
    นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง
    สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
    โหตุ เม ชัยมังคะลัง ฯ
    อุตตะมัง เคนะ วันเทหัง
    สังฆัญ จะ ทุวิโธตะมัง
    สังเฆ โย ขะลิโต โทโส
    สังโฆ ขะมะตุ ตัง มะมัง ฯ ( กราบ )



     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 3.gif
      3.gif
      ขนาดไฟล์:
      26.8 KB
      เปิดดู:
      203
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  10. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    คำกล่าวขอขมาโทษ
    อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง
    ขะมะถะ เม ภัน เต มะยากะตัง
    ปุญญัง สามินา อนุโมทิตัพพัง
    สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง
    สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ( กราบ )

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต
    อุกาสะ ทวารัต ตะเยนะ กะตัง
    สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต
    อุกาสะ ขะมามิ ภันเต ( กราบ )

    หลังจากนั้น จึงเริ่มปฏิบัติสมาธิภายหลังเจริญปฎิบัติภาวนาสมาธิเรียบร้อยแล้ว
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->ก็ทำการแผ่เมตตาให้กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และสรรพสัตว์ทั้งหลาย
    และกรวดน้ำอุทิศส่วนบุญกุศลให้กับเจ้ากรรมนายเวร

    สิ่งศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงบิดา มารดา ผู้มีคุณ และสรรพสัตว์ทั้งหลาย




     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 4.jpg
      4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.5 KB
      เปิดดู:
      181
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  11. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ปรากฏการณ์เมื่อจิตเป็นสมาธิ
    เมื่อเพ่งอารมณ์ดีแล้ว ก็จะมีโอกาสเกิดแสงสว่างรุ่งเรือง แสงสว่างนี้

    ย่อมส่องสว่าง ให้เห็นเป็นสิ่งของต่างๆ ที่ปรากฏขึ้นในใจ หรือปรากฏใน

    มโนทวาร คล้ายคนนอนหลับฝันเห็นอะไรต่างๆ แต่การเห็นในสมาธิ

    พิเศษกว่าการเห็นในความฝัน เพราะผู้เห็นผ่านการกลั่นกรองของสติมาก่อน

    ผู้เห็นจึงมีสติ มิได้นอนหลับอยู่ ในขั้นแรกที่เห็น แสงสว่างมักจะหายไปโดยเร็ว
    เพราะผู้เห็นเกิดความสะดุ้ง ความสงสัยสนเท่ห์มากขึ้น จิตจึงคลาดเคลื่อนออก

    จากสมาธิ เมื่อสำรวมจิตเป็นสมาธิได้อีก ก็คงได้พบแสงสว่างอีก แสงสว่างนี้

    ยอมส่องให้เห็นภาพต่างๆ เหมือนอย่างเห็นภาพภายนอกในเวลากลางวัน
    เมื่อพระอาทิตย์ยังไม่ขึ้น ก็ยังมืดอยู่ ไม่สามารถมองเห็นภาพอะไรต่างๆได้
    เปรียบเหมือน จิตที่ยัง ไม่ตั้งมั่นเป็นสมาธิ ไม่มีกำลัง เมื่อพระอาทิตย์ขึ้นแล้ว
    ก็สามารถมองเห็นภาพอะไรได้ เปรียบเหมือนจิตที่ตั้งมั่นเป็นสมาธิ มีกำลังเกิด

    แสงสว่าง สามารถเห็นภาพได้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      8.4 KB
      เปิดดู:
      147
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  12. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]การที่ได้พบเห็นแสงสว่างในเวลาที่ทำสมาธิ[/FONT][FONT=&quot] หลับตากำหนดจิต
    [/FONT]

    [FONT=&quot]เรียกว่า โอภาสนิมิต การได้เห็นรูปนิมิตที่เกิดขึ้น เล็กน้อยนี้
    [/FONT]

    [FONT=&quot]เรียกว่า อุคคหนิมิต ถ้าผู้เห็นนิมิต สามารถนึกให้รูปนิมิตเหล่านั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]กลายเป็นรูปขนาดใหญ่ ประกอบด้วย ความผ่องใสกว่าหลายเท่า[/FONT]

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]-->เรียกว่า ปฏิภาคนิมิต เห็นรูปต่างๆ ไม่มีประมาณ เรียกว่า มหรคตนิมิต

    เป็นข้างฝ่าย รูปฌาน เห็นแสงสว่างอย่างเดียวไม่มีรูปนิมิต เป็นบาทฐาน

    แห่งอรูปฌาน รูปฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ สองอย่างนี้ เรียกว่า สมาบัติ

    อุปกิเลส เครื่องเศร้าหมองในการเจริญสมาธิ



    ๑. วิจิกิจฉา
    ความสงสัยในโอภาสนิมิต จิตคลาดเคลื่อนจากสมาธิ
    แสงสว่างจึงดับ
    ๒. อมนสิการ จิตไม่กำหนดนึกว่านั้นอะไร นี่อะไร ทำให้จิตเลื่อนลอย
    จิตจึงเคลื่อนจากสมาธิ แสงสว่างก็ดับ
    ๓. ถีนมิทธะ จิตละเลยการกำหนดรูปนิมิต จิตจึงง่วงเหงาหาวนอน
    จิตจึงเคลื่อนจากสมาธิ รูปจึงดับ แสงสว่างจึงดับ

    ๔. ฉัมภิตัตตะ ความไหวจิต ไหวกาย เพราะจิตเห็นรูปน่ากลัว
    จิตจึงเคลื่อนจากสมาธิ แสงสว่างรูปนิมิตจึงดับ
    ๕. อุพพิลวิตก ความที่จิต รวมรัดเพ่งเล็งดูรูปนิมิตมากมาย จิตกำเริบฟุ้งซ่าน
    จิตเคลื่อนที่จากสมาธิรูปนิมิต และแสงสว่างจึงดับไป
    ๖. ทุฏฐัลละ ความกำหนดจิตดูรูปนิมิตมาก แต่กำหนดดแต่ช้าๆ
    จิตคลายความเพียรลง เกิดความกระวนกระวาย จิตจึงเคลื่อนจาก

    สมาธิรูปนิมิต โอภาสนิมิตจึงดับ
    ๗. อัจจารัทธวิริยะ กำหนดความเพียรมากเกินไป จิตจึงคลาดเคลื่อน

    จากสมาธิรูป แสงสว่างจึงดับไป
    ๘. อติลีนวิริยะ กำหนดความเพียรน้อยไป อ่อนเกินไป จิตเคลื่อนจาก

    สมาธิรูป แสงสว่างจึงดับไป

    ๙. อภิชัปปา การกำหนดดูรูปปราณีต ตัณหาเกิด จิตจึงเคลื่อนจากสมาธิ รูป
    และแสงสว่างจึงดับไป
    ๑๐. นานัตตสัญญา การกำหนดดูรูปหยาบ รูปปราณีตพร้อมกัน
    จิตแยกเป็นสองฝ่าย จิตจึงเคลื่อนจากสมาธิรูปนิมิต และโอภาส

    นิมิตหายไป
    ๑๑. อตินิชฌายิตัตตะ การเพ่งเล่งรูปมนุษย์อันปราณีต เกิดความยินดี
    จิตเคลื่อนจาก สมาธิ รูป แสงสว่างจึงดับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 3.jpg
      3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.1 KB
      เปิดดู:
      314
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  13. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    อารมณ์ของพระปีติธรรม มี ๕ ประการ
    ๑. พระขุททกาปีติ
    ปีติเล็กน้อย สมาธิเล็กน้อย ขณิกสมาธิ ขั้นที่๑
    ๒. พระขณิกาปีติ
    ปีติชั่วขณะ สมาธิชั่วขณะ ขณิกสมาธิ ขั้นที่๒
    ๓. พระโอกกันติกาปีติ
    ปีติเป็นพักๆ สมาธิเป็นพักๆ ขนิกสมาธิ ขั้นที่๓
    ๔. พระอุพเพงคาปีติ
    ปีติโลดโผน สมาธิเต็มที่ ขนิกสมาธิ ขั้นที่๔
    ๕. พระผรณาปีติ
    ปีติซาบซ่าน สมาธิแผ่ซ่าน ขนิกสมาธิ ขั้นที่๕
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.5 KB
      เปิดดู:
      147
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  14. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    กรรมฐาน มี ๔๐ แบบ แต่สามารถ
    [FONT=&quot]แยกเอาการฝึกออกไป[/FONT][FONT=&quot]เป็นข้อปลีกย่อยได้มากมาย [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ได้นำมาจัดเป็นหมวดหมู่ใหญ่ ได้ ๔ แบบ [/FONT]

    [FONT=&quot]หมวดที่ ๑[/FONT][FONT=&quot]เรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]" สุกขวิปัสสโก "[/FONT][FONT=&quot] บรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายฝึกกันเป็นปกติ [/FONT]
    [FONT=&quot]หมวดนี้[/FONT][FONT=&quot]ไม่มีความเป็นทิพย์ของจิต ไม่สามารถเห็นสวรรค์ เห็นเทวดา เห็นพรหมโลกได้ [/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่สามารถจะไปได้[/FONT][FONT=&quot]แต่ว่ามีฌานสมาบัติได้ เป็นพระอริยเจ้าได้ ไปนิพพานได้[/FONT]

    [FONT=&quot]หมวดที่ ๒[/FONT][FONT=&quot] เรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]" เตวิชโช "[/FONT][FONT=&quot] หมวดนี้พอจิตเข้าถึงอุปจารสมาธิแล้ว แล้วก็ฝึก ทิพจักขุญาณ[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อฝึกทิพจักขุญาณได้แล้ว ต้องเข้าไปฝึก ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ ระลึกชาติได้ เมื่อได้[/FONT]
    [FONT=&quot]ทั้ง ๒ ประการแล้ว ใช้กำลังญาณทั้ง ๒ ประการเข้าช่วยวิปัสสนาญาณเป็นพระโสดาบัน[/FONT]
    [FONT=&quot]สกิทาคามี อนาคามี พระอรหันต์ เรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]" พระวิชชาสาม " [/FONT][FONT=&quot]หมวดนี้สามารถเห็นสวรรค์ [/FONT]
    [FONT=&quot]นรก เห็นพรหมโลก หรืออะไรก็ได้ทั้งหมด แต่ไปไม่ได้ ได้แต่เห็นอย่างเดียว นั่งตรงนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]คุยกับเทวดา[/FONT][FONT=&quot]หรือพรหมก็ได้ นั่งตรงนี้คุยกับสัตว์นรกก็ได้ อย่างนี้เรียกว่า [/FONT][FONT=&quot]" วิชชาสาม "[/FONT]

    [FONT=&quot]หมวดที่ ๓[/FONT][FONT=&quot]เรียกว่า[/FONT][FONT=&quot]" อภิญญาหก [/FONT][FONT=&quot]หรือ[/FONT][FONT=&quot]ฉฬภิญโญ" [/FONT][FONT=&quot]อภิญญาหกนี่เราไปไหนไปได้[/FONT]
    [FONT=&quot]ตามใจชอบ[/FONT][FONT=&quot]จะไปสวรรค์ ไปพรหมโลก ไปนิพพาน ไปนรก เปรต อสุรกาย ไปได้หมด [/FONT]
    [FONT=&quot]ประเทศต่าง ๆ[/FONT][FONT=&quot]ไกลแสนไกลแค่ไหน ประเทศในมนุษยโลกนี่มันไม่ไกลหรอก เราสามารถ[/FONT]
    [FONT=&quot]ไปได้ ดวงดาวต่าง ๆ [/FONT][FONT=&quot]ที่ฝรั่งจะไปเราก็ไปได้ไม่ต้องลงทุน อย่างนี้เป็น [/FONT][FONT=&quot]" อภิญญาหก " [/FONT]

    [FONT=&quot]หมวดที่ ๔ [/FONT][FONT=&quot]" ปฏิสัมภิทาญาณ " [/FONT][FONT=&quot]นี่มีความรู้ฉลาดมาก ปฏิสัมภิทาญาณมีความสามารถ[/FONT]
    [FONT=&quot]คลุมหมด คลุมสุกขวิปัสสโกด้วยเอาไว้ในตัว เอาวิชชาสามเข้าไว้ด้วย แล้วเอาอภิญญาหก[/FONT]
    [FONT=&quot]เข้าไว้ด้วย [/FONT][FONT=&quot]แล้วก็ฉลาดมาก คือว่า ฉลาดในธรรมะขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทุกอย่าง [/FONT]
    [FONT=&quot]เรียกว่า[/FONT][FONT=&quot]" ปฏิสัมภิทาญาณ "[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 540113p2.jpg
      540113p2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      437.2 KB
      เปิดดู:
      206
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กรกฎาคม 2012
  15. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    [FONT=&quot]สมาบัติ[/FONT][FONT=&quot]หมายถึง อารมณ์ที่จิตเป็นสมาธิเข้าสู่ระดับฌาน[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้ายังไม่สามารถเข้าในระดับฌาน จะไม่เรียกสมาบัติ
    [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่จะเรียกว่า[/FONT][FONT=&quot]“ ขณิกสมาธิ[/FONT][FONT=&quot]”[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]ขณิกสมาธิ[/FONT][FONT=&quot]หมายถึง ตั้งใจปฎิบัติสมาธิได้เพียงเล็กน้อย
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ทรงสมาธิไม่ได้นาน[/FONT][FONT=&quot] กำหนดจิตคิดตามคำภาวนา ภาวนาได้ไม่นาน
    [/FONT]
    [FONT=&quot]จิตก็ไปคว้าเอาความรู้สึกนึกคิดอารมณ์ภายนอก คำภาวนามาคิด[/FONT]
    [FONT=&quot] อารมณ์ตั้งอยู่ในองค์ภาวนาไม่ได้นานอย่างนี้ อารมณ์จิตก็ยัง[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่สว่างแจ่มใส ภาวนาไปตามอารมณาขาด ๆ บ้างเกินบ้าง[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]

    อุปจารสมาธิบางครั้งก็เรียกว่า [FONT=&quot]“[/FONT] อุปจารฌาน [FONT=&quot]”[/FONT]ก็เรียกเป็นสมาธิที่มี
    ความตั้งมั่น ใกล้จะถึงปฐมฌานสมาบัตินั่นเอง อุปจารสมาธิคุมอารมณ์
    สมาธิไว้ได้นานพอสมควรมีอารมณ์ใสสว่างพอใช้ได้เป็นพื้นฐานเดิมที่
    จะฝึกทิพยจักษุญาณได้อารมณ์ที่อุปจารสมาธิเข้าถึงนั้นมีอาการดังนี้
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    ๑. วิตก คือความกำหนดจิตนึกคิดองค์ภาวนาหรือกำหนด
    รูปกสิณ จิตกำหนดอยู่ได้ไม่คลาดเคลื่อน ในเวลานานพอสมควร

    ๒. วิจาร การใคร่ครวญในรูปกสิณนิมิต ที่จิตถือเอาเป็นนิมิตที่กำหนด
    มีอาการเคลื่อนไหวหรือคงที่ มีสีสันวรรณะเป็นอย่างไร เล็กหรือใหญ่
    สูงหรือต่ำ จิตกำหนดรู้ไว้ได้ถ้าเป็นองค์ภาวนาภาวนาครบถ้วนไหม
    ผิดถูกอย่างไร กำหนดรู้เสมอ ถ้ากำหนดลมหายใจ ก็กำหนดรู้ว่า
    หายใจเข้าออกยาวหรือสั้น เบาหรือแรง รู้อยู่ตลอดเวลาอย่างนี้ เรียกว่าวิจาร
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    ๓. ปีติ ความปลาบปลื้มเอิบอิ่มใจ มีจิตใจชุ่มชื่นเบิกบานไม่อิ่มไม่เบื่อ
    ในการเจริญภาวนาอารมณ์ผ่องใส ปรากฏว่าเมื่อหลับตาภาวนานั้น
    ไม่มืดเหมือนเดิมมีความสว่างปรากฏคล้ายใครนำแสงสว่างมาวางไว้ใกล้ๆ
    บางคราวก็เห็นภาพและแสงสีปรากฏเป็นครั้งคราวแต่ปรากฏอยู่ไม่นาน
    ก็หายไป อาการของปีติมีห้าอย่างคือ มีการขนลุกขนชัน ท่านเรียกว่า
    ขนพองสยองเกล้า
    มีน้ำตาไหลจากตาโดยไม่มีอะไรไปทำให้ตาระคายเคือง
    ร่างกายโยกโคลง คล้ายเรือกระทบคลื่น ร่างกายลอยขึ้นเหนือพื้นที่นั่ง
    บางรายลอยไปได้ไกลๆ และลอยสูงมาก
    อาการกายซู่ซ่า คล้ายร่างกายโปร่ง
    และใหญ่โตสูงขึ้นอย่างผิดปกติ
    อาการทั้งห้าอย่างนี้ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง
    เป็นอาการของปีติ
    ข้อที่ควรสังเกต คืออารมณ์จิตชุ่มชื่นเบิกบานแม้ร่างกาย
    จะสั่นหวั่นไหว
    บางรายตัวหมุนเหมือนลูกข่าง แต่ จิตใจก็เป็นสมาธิ
    แนบแน่นไม่หวั่นไหว
    มีสมาธิตั้งมั่นอยู่เสมอ การกำหนดจิตเข้าสมาธิก็ง่าย
    คล่อง
    ทำเมื่อไร เข้าสมาธิได้ทันที อาการของสมาธิเป็นอย่างนี้[FONT=&quot]
    [/FONT]

    ๔. สุข ความสุขชื่นบาน เป็นความสุขที่ละเอียดอ่อนไม่เคยปรากฏการณ์
    มาก่อนเลยในชีวิตจะนั่งสมาธินานแสนนานก็ไม่รู้สึกปวดเมื่อยอาการปวด
    เมื่อยจะมีก็ต่อเมื่อคลายสมาธิแล้ว ส่วนจิตใจ มีความสุขสำราญตลอดเวลา
    สมาธิก็ตั้งมั่นมากขึ้น อารมณ์วิตก คือ การกำหนดภาวนา
    ก็ภาวนาได้
    ตลอดเวลา การกำหนดรู้ความภาวนาว่าจะถูกต้องครบถ้วนหรือไม่เป็นต้น [FONT=&quot]
    [/FONT]
    ก็เป็นไปด้วยดีมีธรรมปีติชุ่มชื่นผ่องใส ความสุขใจมีตลอดเวลา สมาธิตั้งมั่น
    ความสว่างทางใจปรากฏขึ้นในขณะหลับตาภาวนา
    อาการตามที่กล่าว
    มาทั้งหมดนี้แหละ ที่เรียกว่าอุปจารสมาธิหรือเรียกว่าอุปจารฌาน
    คือเฉียดๆ จะถึง[FONT=&quot]

    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 540113p7.jpg
      540113p7.jpg
      ขนาดไฟล์:
      222.1 KB
      เปิดดู:
      182
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  16. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ปฐมฌานหรือ ปฐมสมาบัติ
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ​
    [FONT=&quot]ปฐมฌาน หรือปฐมสมาบัตินี้ ท่านกำหนดองค์ของปฐมฌาน[/FONT]
    [FONT=&quot] หรือปฐมสมาบัติไว้ ๕ อย่าง[/FONT][FONT=&quot] ดังต่อไปนี้[/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    [FONT=&quot]๑. วิตก[/FONT]จิตกำหนดนึกคิด โดยกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออกว่าหายใจเข้าหรือออก[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ถ้าใช้คำภาวนาก็รู้ว่าเราภาวนาอยู่ คือภาวนาไว้มิให้ขาดสาย ถ้าเพ่งกสิณ
    ก็กำหนดจับภาพกสิณอยู่ตลอดเวลาอย่างนี้เรียกว่าวิตก[FONT=&quot]

    [/FONT]

    [FONT=&quot]๒. วิจาร[/FONT] ถ้ากำหนดลมหายใจ ก็ใคร่ครวญกำหนดรู้ไว้เสมอว่าเราหายใจเข้า
    หรือหายใจออกหายใจเข้าออกยาวหรือสั้นหายใจเบาหรือแรง ในวิสุทธิมรรค
    ท่านให้รู้กำหนดลมสามฐานคือหายใจเข้าลมกระทบจมูก กระทบอก
    กระทบศูนย์เหนือสะดือนิดหน่อยหายใจออกลมกระทบศูนย์ กระทบอก
    กระทบจมูกหรือริมฝีปาก ถ้าภาวนา ก็กำหนดรู้ไว้เสมอว่า เราภาวนา
    ถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ประการใด


    ถ้าเพ่งภาพกสิณ ก็กำหนดหมาย ภาพกสิณว่า เราเพ่งกสิณอะไร

    มีสีสันวรรณะ
    เป็นอย่างไร ภาพกสิณเคลื่อนหรือคงสภาพ สีของกสิณ
    เปลี่ยนแปลงไป
    หรือคงเดิมภาพที่เห็นอยู่นั้นเป็นภาพกสิณที่เราต้องการ
    หรือภาพหลอน
    สอดแทรกเข้ามา ภาพกสิณเล็กหรือใหญ่ สูงหรือต่ำดังนี้
    เป็นต้น อย่างนี้
    รียกว่า วิจาร
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]๓. ปีติ[/FONT] ความชุ่มชื่นเบิกบานใจ มีเป็นปกติ[FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]๔. ความสุขเยือกเย็น[/FONT] เป็นความสุขทางกายอย่างประณีตซึ่งไม่เคยมีมาในกาลก่อน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    ๕. เอกัคคตารมณ์[/FONT]
    มีอารมณ์เป็นหนึ่ง คือ ตั้งมั่นอยู่ในองค์ทั้ง ๔ประการ
    ไม่คลาดเคลื่อน[FONT=&quot]
    [/FONT]

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot] ข้อที่ควรสังเกต[/FONT] [FONT=&quot]คือ [/FONT][FONT=&quot]ปฐมฌาน[/FONT][FONT=&quot] หรือ [/FONT][FONT=&quot]ปฐมสมาบัติ[/FONT][FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot][/FONT]

    เมื่อขณะทรงสมาธิอยู่นั้นหูยังได้ยินเสียง ภายนอกทุกอย่าง

    แต่ว่าอารมณ์ภาวนา หรือรักษาอารมณ์ไม่คลาดเคลื่อน ไม่รำคาญในเสียง [FONT=&quot] [/FONT]เสียงก็ได้ยิน

    แต่จิตก็ทำงานเป็นปกติ อย่างนี้ท่านเรียกว่า ปฐมฌาน คือ อารมณ์เพ่งอยู่[FONT=&quot] [/FONT]โดยไม่รำคาญในเสียง[FONT=&quot]
    [/FONT]


    ทรงความเป็นหนึ่งไว้ได้ ท่านกล่าวว่า กายกับจิตเริ่มแยกตัวกันเล็กน้อยแล้ว[FONT=&quot] [/FONT]ตามปกติจิต ย่อมสนใจในเรื่องของกาย

    เช่นหูได้ยินเสียง จิตก็คิดอะไรไม่ออกเพราะรำคาญในเสียง[FONT=&quot] [/FONT]แต่พอจิตเข้าระดับปฐมฌาน กลับเฉยเมยต่อเสียง

    คิดคำนึงถึงอารมณ์กรรมฐานได้เป็นปกติ[FONT=&quot] [/FONT]ที่ท่านเรียกว่า ปฐมสมาบัติ ก็เพราะอารมณ์สมาธิเข้าถึง
    เกณฑ์ของ ปฐมฌาน[FONT=&quot] [/FONT] ที่จิตกับกายเริ่มแยกทางกันบ้างเล็กน้อยแล้วนั่นเอง[FONT=&quot] [/FONT]


    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 540113p5.jpg
      540113p5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      241.1 KB
      เปิดดู:
      290
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  17. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ทุติยฌานหรือทุติยสมาบัติ[FONT=&quot]

    [/FONT]
    ทุติยฌาน หมายถึง ฌานที่ ๒ ทุติยสมาบัติ

    หมายถึง สมาบัติที่๒ ฌานและสมาบัติอารมณ์ทุติยฌาน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot] ๑. ปีติ[/FONT] ความเอิบอิ่มใจ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]๒. สุข[/FONT] ความสุขอย่างประณีต[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]๓. เอกัคคตา[/FONT] มีอารมณ์เป็นหนึ่ง[FONT=&quot]
    [/FONT]
    อารมณ์ทุติยฌานนี้ ก็ตัดเอามาจากอารมณ์ปฐมฌานนั่นเอง

    ท่านที่ทรงสมาธิเข้าถึง ทุติยฌานนี้ ท่านตัดวิตกวิจารอันเป็นอารมณ์ของ
    ปฐมฌานเสียได้ คงเหลือแต่ ปีติ สุขเอกัคคตา[FONT=&quot]

    [/FONT]

    อานิสงส์ทุติยฌาน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    ฌานทั้งหมด เป็นอารมณ์สมาธิที่ทำจิตใจ ให้พร้อมด้วยสติสัมปชัญญะ

    เวลาจะทำการงาน ก็มีความทรงจำดี จิตใจไม่เลอะเลือนฟุ้งซ่าน เป็นอารมณ์
    รักษาโรคประสาทได้ดีที่สุดนอกจากนี้เวลาจะตายก็มีสติสัมปชัญญะดี

    ไม่หลงตาย ถ้าตายในระหว่างฌาน ท่านว่าทุติยฌานที่เป็น โลกียฌาน
    ให้ผลดังนี้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      5.8 KB
      เปิดดู:
      1,675
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  18. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    ตติยฌานหรือตติยสมาบัติ[FONT=&quot]
    [/FONT]

    ตติยฌาน หมายถึง ฌานที่ตติยสมาบัติ

    หมายถึง การเข้าถึงอารมณ์ฌานที่ ๓ อารมณ์ตติยฌาน
    [FONT=&quot] ๑. สุข[/FONT]ได้แก่ความสุขที่ปราศจากปีติคือความสุขทางจิตโดยเฉพาะ

    ไม่มีความสุขที่เนื่องด้วยกาย[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot] ๒. เอกัคคตา[/FONT]มีอารมณ์เป็นหนึ่ง ที่ไม่มีอารมณ์ห่วงใยในกาย[FONT=&quot]
    [/FONT]

    เป็นอาการที่สงัดจากกาย ฌานนี้ท่านว่าเป็นฌานที่กาย
    กับจิตแยกกันเด็ดขาด
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    เมื่ออารมณ์จิตเข้าถึงฌานที่ ๓ นี้ จะรู้สึกว่า อาการขนพองสยองเกล้าก็ดี[FONT=&quot]
    [/FONT]

    น้ำตาไหลก็ดี กายโยกโคลงก็ดี อาการซู่ซ่าทางกายคล้ายกายเบา กายใหญ่

    กายสูงจะไม่ปรากฏเลยมีอาการ ทางกายเครียดคล้ายกับใครมาจับมัดไว้จนแน่น[FONT=&quot]
    [/FONT]

    หรือคล้ายหลักที่ปักจนแน่นไม่มีการโยกโคลง [FONT=&quot]
    [/FONT]


    ตั้งแต่ฌานที่ ๒ เป็นต้นมา ไม่มีการภาวนาเลย ถ้ายังภาวนาอยู่ และหูได้ยินเสียงชัด
    แต่ไม่รำคาญในเสียง ไม่มีความสนใจในเสียงเลย
    เสียงมีอยู่ก็เหมือนไม่มี เพราะจิต
    ไม่รับเสียงลมหายใจจะค่อยๆน้อยอ่อนระรวยลงทุกขณะ ในฌานที่ ๓ นี้ลมหายใจ
    ยังปรากฏแต่ก็รู้สึกเบา เต็มที่มีอาการคล้ายจะไม่หายใจ แต่ก็พอรู้สึกน้อยๆ ว่าหายใจ
    จิตสงัดไม่มีการหวั่นไหว ไม่มืด


    อานิสงส์ฌานที่ ๓[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    ฌานที่ ๓ นี้ ถ้าทรงไว้ได้จนตาย ในขณะตายตายในระหว่างฌานที่ ๓
    ท่านว่า จะไม่หลงตาย เมื่อมีชีวิตอยู่ ก็จะเป็นคนมีอารมณ์แช่มชื่นเบิกบาน
    ตลอดเวลาหน้าตาสดชื่นผ่องใสเมื่อตายแล้ว ฌาน ๓ ย่อมส่งผลให้เกิด
    เป็นพรหม คือ

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ตติยญานหยาบ [FONT=&quot] [/FONT]ให้ผลไปเกิดเป็นพรหมชั้นที่ ๗[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ตติยญานกลาง [FONT=&quot] [/FONT]ให้ผลไปเกิดเป็นพรหมชั้นที่ ๘[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ตติยญานละเอียด ให้ผลไปเกิดเป็นพรหมชั้นที่ ๙[FONT=&quot]

    [/FONT]

    [FONT=&quot][/FONT]ฌาน ๓ ที่เป็นโลกียฌานให้ผลอย่างนี้[FONT=&quot] [/FONT]ถ้าเอาฌาน ๓[FONT=&quot] [/FONT]

    ไปเป็นกำลังของวิปัสสนาญาณ[FONT=&quot][/FONT]วิปัสสนาจะมีกำลังกล้า

    ตัดกิเลสให้เด็ดขาดได้โดยรวดเร็ว[FONT=&quot] [/FONT]อาจได้บรรลุมรรคผลเบื้องสูงในชาตินี้[FONT=&quot]

    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011
  19. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    จตุตถฌานหรือจตุตถสมาบัติ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    จตุตถฌาน หมายถึง ฌานที่ สำหรับฌานที่นี้[FONT=&quot]
    [/FONT]

    ตัดความสุขออกเสียเหลือแต่เอกัคคตาและเติมอุเบกขาเข้ามาแทน

    ฉะนั้น อารมณ์ของฌาน ๔ จึงมีอารมณ์ผิดแผกจากฌาน ๓ ตรงที่ตัด
    ความสุขออกไป และเพิ่มการวางเฉยเข้ามาแทนที่[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ฌาน ๔ ปฏิบัติถึงมีอาการดังนี้[FONT=&quot]
    [/FONT]


    จะไม่ปรากฏลมหายใจเหมือนสภาพฌานอื่นๆเพราะลมละเอียดจน
    ไม่ปรากฏว่ามีลมหายใจ ในวิสุทธิมรรคท่านว่าลมหายใจไม่มีเลย

    แต่บางอาจารย์ท่านว่า ลมหายใจนั้นมีแต่ลมหายใจละเอียดจน
    ไม่มีความรู้สึกว่าหายใจตามนัยวิสุทธิมรรคท่านกล่าวถึงคนที่ไม่มี[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ลมหายใจไว้ ๔ จำพวกด้วยกัน คือ
    ๑.คนตาย ๒. คนดำน้ำ ๓. เด็กในครรภ์มารดา๔.ท่านที่เข้าฌาน ๔
    [FONT=&quot]ข้อสังเกตที่สังเกต[/FONT][FONT=&quot]ได้ชัดเจนในจตุตถญาน คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT] ไม่ปรากฏว่ามีลมหายใจการที่ฌาน ๔ เมื่อเข้าถึงแล้วและขณะที่ทรงอยู่
    ในระดับของฌาน ไม่ปรากฏว่ามีลมหายใจ ดังนั้นนักปฏิบัติหลายท่านบอกว่า
    ไม่เอาแล้ว กลัวเสียชีวิต บางท่านก็เลิกปฏิบัติ เพราะจับลมหายใจไม่ได้

    บางรายที่อารมณ์สติสมบูรณ์หน่อยก็ถึงกับค้นคว้าควานหาลมหายใจ

    เมื่ออารมณ์จิตตกลงระดับต่ำกว่าฌานที่ ๔ในที่สุดก็พบลมหายใจ

    ที่ปรากฏอยู่กับปลาย จมูกนั่นเอง
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    อารมณ์จิตเมื่อเข้าสู่ระดับฌาน ๔จะมีอารมณ์สงัดเงียบจากอารมณ์
    ภายนอกจริง ๆ ดับเสียง คือ ไม่ได้ยินเสียง ดับสุข ดับทุกข์ทางกายเสียจน
    หมดสิ้นมีอารมณ์โพลงสว่างไสวเกินกว่าฌานอื่นใดมีอารมณ์สงัดเงียบ

    ไม่เกี่ยวข้องด้วยร่างกายเลย กายจะสุข จะทุกข์ มดจะกินริ้นจะกัด

    อันตรายใดๆจะเกิด จิตในระหว่าง


    ตั้งอยู่สมาธิที่มีกำลังระดับฌาน ๔จะไม่รับรู้อะไรทั้งสิ้น
    เพราะฌานนี้กายกับจิตแยกกันเด็ดขาดจริงๆ ไม่สนใจข้องแวะกันเลย

    ดังจะเห็นในเรื่องของลมหายใจ ความจริงร่างกายนี้จำเป็นมากในเรื่องหายใจ

    เพราะลมหายใจเป็นพลังสำคัญของร่างกายพลังอื่นใดหมดไปแต่อัสสาสะ ปัสสาสะ

    คือ ลมหายใจยังปรากฏ ที่เรียกกันตามภาษาธรรมว่าผัสสาหารยังมีอยู่ ร่างกายก็ยัง
    ไม่สลายตัว ถ้าลมหายใจที่ เรียกว่า ผัสสาหารหยุดเมื่อไรเมื่อนั้นก็ถึงอวสานของการ
    ทรงอยู่ของร่างกาย

    ฉะนั้น ผลการปฏิบัติที่เข้าถึงระดับฌาน ๔ จึงจัดว่าลมหายใจยังคงมีตามปกติ
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    ที่ไม่รู้ว่าหายใจ ก็เพราะว่าจิตแยกออกจากกายอย่างเด็ดขาดโดยไม่รับรู้อาการ
    ของร่างกายเลย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  20. KWANPAT

    KWANPAT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2009
    โพสต์:
    1,733
    ค่าพลัง:
    +2,394
    อาการที่จิตแยกจากร่างกาย
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    เพื่อให้เข้าใจชัดว่า จิตแยกออกจากร่างกายได้จริงเพียงใด[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เมื่อท่านเจริญสมาธิถึงฌาน จนคล่องแคล่วชำนิชำนาญดีแล้ว
    ให้ท่านเข้าสู่ฌาน 4แล้วถอยจิตออกมาหยุดอยู่เพียงอุปจารฌาน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    แล้วอธิษฐานว่า ขอร่างกายนี้จงเป็นโพรงและกายอีกกายหนึ่ง

    จงปรากฏ
    แล้วเข้าฌาน ๔ ใหม่ ออกจากฌาน ๔ มาหยุดอยู่เพียง
    อุปจารฌาน
    ท่านจะเห็นกายเป็นโพรงใหญ่มีกายของเราเองปรากฏ
    ขึ้นภายใน
    กายเดิมอีกกายหนึ่ที่ท่าน เรียกในมหาสติปัฏฐานว่ากายในกาย
    จะบังคับให้กายในกายท่องเที่ยวไปในร่างกายทุกส่วน แม้แต่เส้น
    ประสาทเล็กๆกายในกายก็จะไปได้สะดวกสบายเหมือนเดินในถ้ำใหญ่
    ต่อไปจะบังคับกายใหม่นี้ออกไปสู่ภพใด ๆก็ไปได้ตามประสงค์ที่ท่านเรียกว่า[FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]“[/FONT]มโนมยิทธิ [FONT=&quot]” [/FONT]หมายความว่า มีฤทธิ์ทางใจนั่นเอง [FONT=&quot]”[/FONT]พลังของฌาน ๔ มีพลัง
    มากอย่างนี้ ท่านที่ได้ฌานแล้วท่านจะฝึกวิชชาสามอภิญญาหก หรือปฏิสัมภิทาญาณ
    ก็ทำได้ทั้งนั้น เพราะวิชชาการที่จะฝึกต่อไปนั้นก็ใช้พลังจิตระดับฌาน ๔ นั่นเอง

    จะแตกต่างกันอยู่บ้างก็เพียงอาการในการเคลื่อนไปเท่านั้นส่วนอารมณ์ที่จะใช้ก็
    เพียงฌานซึ่งเป็นของที่มีอยู่แล้ว

    อานิสงส์ของฌาน ๔

    ๑. ท่านที่ทรงฌาน ๔ ไว้ได้ ในขณะที่มีชีวิตอยู่จะมีอารมณ์แช่มชื่น
    ตลอดวันเวลา จะแก้ปัญหาของตนเองได้อย่างอัศจรรย์[FONT=&quot]
    [/FONT]

    ๒. ท่านที่ได้ฌาน
    สามารถจะทรงวิชชาสามอภิญญาหก[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ปฏิสัมภิทาญาณได้ถ้าท่านต้องการ[FONT=&quot]

    [/FONT]
    ๓. ท่านที่ได้ฌาน ๔ สามารถจะเอาฌาน๔ เป็นกำลังของวิปัสสนาญาณ
    ชำระกิเลสให้หมดสิ้นไปอย่างช้าภายในปี อย่างกลางภายใน ๗ เดือน
    อย่างเร็วภายใน ๗ วัน[FONT=&quot]

    [/FONT]
    ๔. หากท่านไม่เจริญวิปัสสนา ท่านทรงฌาน๔ไว้มิให้เสื่อม ขณะตาย
    ตายในระหว่างฌานที่จะได้ไปเกิดในพรหมโลกสองชั้นคือ ชั้นที่ ๑๐
    และชั้นที่ ๑๑[FONT=&quot]

    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 540113p8.jpg
      540113p8.jpg
      ขนาดไฟล์:
      182.6 KB
      เปิดดู:
      243
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มีนาคม 2011

แชร์หน้านี้

Loading...