เมตตาใหญ๋ ถูกต้องตามพระไตรปิฏก

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย หนึ่ง99999, 6 มีนาคม 2013.

  1. หนึ่ง99999

    หนึ่ง99999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,369
    ค่าพลัง:
    +1,922
    บทสวดที่ถูกต้องตามคำสอนของพระพุทธองค่

    คนทฺธวคฺเค เมตฺตากถา




    สาวตฺถีนิทานํ

    [๕๗๔]เมตฺตายภิกฺขเว เจโตวิมุตฺติยาอาเสวิตาย ภาวิตาย พหุลีกตาย ยานีกตาย วตฺถุกตาย อนุฏฺฐิตาย ปริจิตาย สุสมารทฺธาย เอกาทสานิสํสา ปาฏิกงฺขา กตเม เอกาทส สุขํ สุปติ สุขํ ปฏิพุชฺฌติ น ปาปกํ สุปินํ ปสฺสติ มนุสฺสานํ ปิโย โหติ อมนุสฺสานํ ปิโย โหติ เทวตา รกฺขนฺติ นาสฺส อคฺคิ วา วิสํ วา สตฺถํ วา กมติ ตุวฏํ จิตฺตํ สมาธิยติ มุขวณฺโณ วิปฺปสีทติ อสมฺมูโฬฺห กาลํ กโรติ อุตฺตรึ อปฺปฏิวิชฺฌนฺโต พฺรหฺมโลกูปโค โหติ เมตฺตายภิกฺขเว เจโตวิมุตฺติยา อาเสวิตาย ภาวิตาย พหุลีกตาย ยานีกตาย วตฺถุกตาย อนุฏฺฐิตาย ปริจิตาย สุสมารทฺธาย อิเม เอกาทสานิสํสา ปาฏิกงฺขา ฯ

    [๕๗๕] อตฺถิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อตฺถิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อตฺถิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯกติหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ กติหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ กติหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ ปญฺจหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สตฺตหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ทสหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ

    กตเมหิ ปญฺจหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯสพฺเพ สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปาณา ฯ เป ฯ สพฺเพ ภูตา สพฺเพ ปุคฺคลา สพฺเพ อตฺตภาวปริยาปนฺนา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตูติ อิเมหิ ปญฺจหากาเรหิ อโนธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ
    กตเมหิ สตฺตหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯสพฺพา อิตฺถิโย อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปุริสา ฯ เป ฯสพฺเพ อริยา สพฺเพ อนริยา สพฺเพ เทวา สพฺเพ มนุสฺสา สพฺเพ วินิปาติกา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตูติ อิเมหิ สตฺตหากาเรหิ โอธิโส ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ

    [๕๗๖] กตเมหิ ทสหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ สพฺเพ ปุรตฺถิมาย ทิสาย สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปจฺฉิมาย ทิสาย สตฺตา ฯ เป ฯสพฺเพ อุตฺตราย ทิสาย สตฺตา สพฺเพ ทกฺขิณาย ทิสาย สตฺตา สพฺเพ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ อุตฺตราย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ ทกฺขิณาย อนุทิสาย สตฺตา สพฺเพ เหฏฺฐิมาย ทิสาย สตฺตา สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปุรตฺถิมาย ทิสาย ปาณา ฯ เป ฯ ภูตา ปุคฺคลา อตฺตภาวปริยาปนฺนา สพฺพา อิตฺถิโย สพฺเพ ปุริสา สพฺเพ อริยา สพฺเพ อนริยา สพฺเพ เทวา สพฺเพ มนุสฺสา สพฺเพ วินิปาติกา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ สพฺเพ ปจฺฉิมาย ทิสาย วินิปาติกา ฯเป ฯสพฺเพ อุตฺตราย ทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ทกฺขิณาย ทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ อุตฺตราย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ ทกฺขิณาย อนุทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ เหฏฺฐิมาย ทิสาย วินิปาติกา สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตูติ อิเมหิ ทสหากาเรหิ ทิสา ผรณา เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพสํ สตฺตานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวา อสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนนวิเหสํวชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ สตฺตาอเวริโน โหนฺตุ มา เวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตาโหนฺตุ มา ทุกฺขิตตฺตาติ อิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิ สพฺเพ สตฺเต เมตฺตายตีติ เมตฺตาตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโตสพฺพพฺยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จ เจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ

    [๕๗๗] สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ วิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยินฺทฺริยปริภาวิตาโหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติสพฺเพสตฺตาอเวริโนโหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สตึ อุปฏฺฐาเปติ สตินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ จิตฺตํ สมาทหติ สมาธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ ปญฺญาย ปชานาติ ปญฺญินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิเมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อลงฺการา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สฺวาลงฺกตา โหติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรีโหนฺติสหคตาโหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๗๘]สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ อสฺสทฺธิเย น กมฺปติ สทฺธาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ โกสชฺเช น กมฺปติ วิริยพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ ปมาเท น กมฺปติ สติพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ อุทฺธจฺเจ น กมฺปติ สมาธิพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ อวิชฺชาย น กมฺปติ ปญฺญาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาอลงฺการาโหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สฺวาลงฺกตา โหติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติสนฺติฏฺฐนาโหนฺติวิมุจฺจนาโหนฺติเอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๗๙] สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สตึ อุปฏฺฐาเปติ สติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตาโหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา ฯเปฯปญฺญาย ปวิจินาติธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา ฯเป ฯวิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตาฯ เปฯปริฬาหํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติปีติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพสตฺตาฯเป ฯ ทุฏฺฐุลฺลํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติ

    ปสฺสทฺธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ จิตฺตํ สมาทหติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ ญาเณน กิเลเส ปฏิสงฺขาติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิเม สตฺต โพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิเม สตฺต โพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนาโหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิโพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อลงฺการา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติสฺวาลงฺกตา โหติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยาปริวารา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๐] สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาปสฺสติ สมฺมาทิฏฺฐิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาอภินิโรเปติ สมฺมาสงฺกปฺปปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาปริคฺคณฺหาติ สมฺมาวาจาปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาสมุฏฺฐาเปติ สมฺมากมฺมนฺตปริภาวิตา โหติเมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมโนโหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาโวทาเปติ สมฺมาอาชีวปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมา ปคฺคณฺหาติ สมฺมาวายามปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาอุปฏฺฐาเปติ สมฺมาสติปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาสมาทหติ สมฺมาสมาธิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนาโหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ภาวนา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิมคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ภาวิยติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา พหุลีกมฺมา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ พหุลีกริยติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อลงฺการา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สฺวาลงฺกตา โหติ อิเม อฏฺฐ มคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริกฺขารา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริกฺขตา โหติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิเม อฏฺฐ มคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๑] สพฺเพสํ ปาณานํ สพฺเพสํ ภูตานํ สพฺเพสํ ปุคฺคลานํ สพฺเพสํ อตฺตภาวปริยาปนฺนานํสพฺพาสํอิตฺถีนํ สพฺเพสํ ปุริสานํ สพฺเพสํ อริยานํ สพฺเพสํ อนริยานํ สพฺเพสํ เทวานํ สพฺเพสํ มนุสฺสานํ สพฺเพสํ วินิปาติกานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวา อสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนน วิเหสํ วชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ มาเวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตาโหนฺตุ มาทุกฺขิตตฺตาติอิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิสพฺเพ วินิปาติเก เมตฺตายตีติ เมตฺตา ตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโต สพฺพพฺยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จ เจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯเปฯนิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๒]สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย ทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย อนุทิสาย สตฺตานํ สพฺเพสํ เหฏฺฐิมายทิสายสตฺตานํสพฺเพสํ อุปริมายทิสายสตฺตานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวาอสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนน วิเหสํ วชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ มา เวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตา โหนฺตุ มา ทุกฺขิตตฺตาติ อิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺเต เมตฺตายตีติ เมตฺตา ตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโต สพฺพพยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จ เจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย สตฺตา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๓] สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย ทิสาย ปาณานํ ภูตานํ ปุคฺคลานํ อตฺต ภาวปริยาปนฺนานํ สพฺพาสํ อิตฺถีนํ สพฺเพสํ ปุริสานํ สพฺเพสํ อริยานํ สพฺเพสํ อนริยานํ สพฺเพสํ เทวานํ สพฺเพสํ มนุสฺสานํ สพฺเพสํ วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ปจฺฉิมาย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ อุตฺตราย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ ทกฺขิณาย อนุทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ เหฏฺฐิมาย ทิสาย วินิปาติกานํ สพฺเพสํ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกานํ ปีฬนํ วชฺเชตฺวา อปีฬนาย อุปฆาตํ วชฺเชตฺวา อนุปฆาเตน สนฺตาปํ วชฺเชตฺวา อสนฺตาเปน ปริยาทานํ วชฺเชตฺวา อปริยาทาเนน วิเหสํ วชฺเชตฺวา อวิเหสาย สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ มา เวริโน สุขิโน โหนฺตุ มา ทุกฺขิโน สุขิตตฺตา โหนฺตุ มา ทุกฺขิตตฺตาติ อิเมหิ อฏฺฐหากาเรหิ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติเก เมตฺตายตีติ เมตฺตา ตํ ธมฺมํ เจตยตีติ เจโต สพฺพพฺยาปาทปริยุฏฺฐาเนหิ มุจฺจตีติ วิมุตฺติ เมตฺตา จเจโตวิมุตฺติจาติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ ฯ

    [๕๘๔] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สทฺธาย อธิมุจฺจติ สทฺธินฺทฺริยปริภาวิตาโหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ วิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติฯ เป ฯสตึ อุปฏฺฐาเปติ สตินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ จิตฺตํ สมาทหติ สมาธินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯปญฺญาย ปชานาติ ปญฺญินฺทฺริยปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ ฯ เป ฯนิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๕] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโนโหนฺตูติ อสฺสทฺธิเย น กมฺปติ สทฺธาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯโกสชฺเช น กมฺปติ วิริยพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯเป ฯปมาเท น กมฺปติ สติพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯอุทฺธจฺเจ น กมฺปติ สมาธิพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ อวิชฺชาย น กมฺปติ ปญฺญาพลปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิมานิ ปญฺจ พลานิ เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนาโหนฺติ อิเมหิ ปญฺจหิ พเลหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ ฯ เป ฯ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๖] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สตึ อุปฏฺฐาเปติ สติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯปญฺญาย ปวิจินาติ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯวิริยํ ปคฺคณฺหาติ วิริยสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติฯเปฯปริฬาหํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติ ปีติสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯทุฏฺฐุลฺลํ ปฏิปฺปสฺสมฺเภติ ปสฺสทฺธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯจิตฺตํ สมาทหติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯญาเณน กิเลเส ปฏิสงฺขาติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคปริภาวิตาโหติ เมตฺตาเจโตวิมุตฺติ อิเม สตฺตโพชฺฌงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ สตฺตหิ โพชฺฌงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติฯเปฯนิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺติ ฯ

    [๕๘๗] สพฺเพ อุปริมาย ทิสาย วินิปาติกา อเวริโน โหนฺตุ เขมิโน โหนฺตุ สุขิโน โหนฺตูติ สมฺมาปสฺสติ สมฺมาทิฏฺฐิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาอภินิโรเปติ สมฺมาสงฺกปฺปปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาปริคฺคณฺหาติ สมฺมาวาจาปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาสมุฏฺฐาเปติ สมฺมากมฺมนฺตปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯ สมฺมาโวทาเปติ สมฺมาอาชีวปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาปคฺคณฺหาติ สมฺมาวายามปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯ เป ฯสมฺมาอุปฏฺฐาเปติ สมฺมาสติปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ ฯเป ฯ สมฺมาสมาธิยติ สมฺมาสมาธิปริภาวิตา โหติ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ อาเสวิยติ ฯ เป ฯ อิเม อฏฺฐ มคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา ปริวารา โหนฺติ อิเมหิ อฏฺฐหิ มคฺคงฺเคหิ เมตฺตา เจโตวิมุตฺติ สุปริวุตา โหติ อิเม อฏฺฐมคฺคงฺคา เมตฺตาย เจโตวิมุตฺติยา อาเสวนา โหนฺติ ภาวนา โหนฺติ พหุลีกมฺมา โหนฺติ อลงฺการา โหนฺติ ปริกฺขารา โหนฺติ ปริวารา โหนฺติ ปาริปูรี โหนฺติ สหคตา โหนฺติ สหชาตา โหนฺติ สํสฏฺฐา โหนฺติ สมฺปยุตฺตา โหนฺติ ปกฺขนฺทนา โหนฺติ ปสีทนา โหนฺติ สนฺติฏฺฐนา โหนฺติ วิมุจฺจนา โหนฺติ เอตํ สนฺตนฺติ ปสฺสนา โหนฺติ ยานีกตา โหนฺติ วตฺถุกตา โหนฺติ อนุฏฺฐิตา โหนฺติ ปริจิตา โหนฺติ สุสมารทฺธา โหนฺติ สุภาวิตา โหนฺติ สฺวาธิฏฺฐิตา โหนฺติ สุสมุคฺคตา โหนฺติ สุวิมุตฺตา โหนฺติ นิพฺพตฺเตนฺติ โชเตนฺติ ปตาเปนฺตีติ ฯ
    เมตฺตากถา ฯ


    คัดลอกมาจากพระไตรปิฎก
    ฉบับภาษาบาลีครั้งแรกสมัยรัชกาลที่ ๕ รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ พุทธศักราช ๒๔๓๑
    สมัยรัชกาลที่ ๗ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๔๔ ตอนที่ ๓ วันที่ ๑๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๐
    ประกาศมา ณ วันที่ ๑๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๐ เปนปีที่ ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน
    พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑ หน้าที่๔๘๒ พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๔๗๐ ครั้งที่ ๔ พ.ศ.๒๕๓๘
    ข้อความจากการพิมพ์สมัยรัชกาลที่ ๕
    ว่า สัพเพสํ สํฆภูตานํ สามัคคี วุฑฺฒิสาธิกา
    แปลว่า ความสามัคคีของหมู่ชนทั้งปวงยังความเจริญให้สำเร็จ
     
  2. หนึ่ง99999

    หนึ่ง99999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,369
    ค่าพลัง:
    +1,922
    บทความ โดยพระมหาณรงค์ศักดิ์ ฐิติญาโณ
    ประธานจัดงานสาธยายพระไตรปิฎก
    อานิสงส์การสวดมนต์
    กรรมเก่าไม่มีใครลบล้างได้ กรรมปัจจุบัน กรรมที่ทำด้วยเจตนาไม่ว่าดีหรือชั่ว ย่อมมีผลต่อผู้กระทำทั้งสิ้น ไม่มีพรหมเทพองค์ใด จะช่วยลบล้างกรรมนั้นได้ เจ้าจงช่วยเหลือตนเองด้วยการสวดมนต์ภาวนาแผ่เมตตาผลแห่งบุญอันเป็นกรรมปัจจุบันจะช่วยตนเองการสวดมนต์หรือการสาธยายมนต์นี้ ย่อมจะก่อให้เกิดประโยชน์แก่จิตของตน และประโยชน์แก่จิตอื่น
    ประโยชน์แก่จิตตน คือ ทำให้เกิดความสงบความเป็นสมาธิและปัญญาทางจิตของผู้สวด
    ประโยชน์แก่จิตอื่น คือ ผู้ได้ยินเสียงสวดก็จะพลอยได้เกิดความรู้เกิดปัญญา มีจิตใจที่สงบลึกซึ่งตามไปด้วย และผู้ที่สวดก็จะเกิดบุญกุศลโดยการให้ทานทางเสียง ก็เพราะว่าเหล่าพรหมเทวดาทั้งหลายที่มาฟังก็คุ้มครองภัยอันตรายให้แก่ผู้ที่สวดมนต์และที่สำคัญที่สุดของการสวดมนต์ก็คือสามารถที่จะทำให้ผู้ที่สวดสาธยายมีความสำเร็จเป็นพระอรหันต์ได้ ที่กล่าวมาเช่นนี้ ก็มีหลักฐานที่ปรากฏอยู่ในพระธรรมคำสอนที่กล่าวได้ว่า โอกาสที่จะบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ได้นั้นมี ๕ โอกาสด้วยกันคือ
    ๑ เมื่อฟังธรรม
    ๒ เมื่อแสดงธรรม
    ๓ เมื่อสาธยายธรรม หรือการสวดมนต์
    ๔ เมื่อตรึกตรองธรรม หรือเพ่งธรรมอยู่ในขณะนั้น
    ๕ เมื่อเจริญวิปัสสนาญาณ
    การสวดมนต์ในตอนเช้าและในตอนเย็นที่เป็นประเพณีที่ มีปฏิบัติกันมานั้น ก็ได้มีมาตั้งแต่สมัยพุทธดาลแล้ว โดยอาศัยการเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ของพุทธบริษัททั้งหลายที่มีการแบ่งออกเป็น ๒เวลานั่นคือ ในเวลาเช้าก็เพื่อที่จะฟังธรรม พอตอนเย็นก็เพื่อจะเป็นการชำระล้างจิตใจที่มีความเศร้าหมองให้มีความหมดไปเพื่อสำเร็จมรรคผลนิพาน และการสวดมนต์ที่ดีพร้อมนั้นก็ต้องประกอบด้วยองค์ ๓ นั้นคือ

    ๑ กาย ต้องมีความสงบเรียบร้อยและมีอาการที่สำรวม
    ๒ วาจา ต้องมีความพร้อมวาจาที่เป็นกุศลธรรมที่เกิดมาจากจิต
    ๓ ใจ ต้องมีความเคารพนอบน้อมต่อพระรัตนตรัย
    นอกจากนั้นยังทำให้บ้านเมืองสงบ จากที่สมัยก่อนจากที่ท่านทั้งหลายอ่านประวัติแล้วจะทราบได้ว่าจากดงพญาเย็นนั้นมีความเป็นมาอย่างไร สมัยนั้นไม่มีใครที่จะผ่านดงพญาไฟได้ เมื่อเข้าไปก็ตายอย่างเดียวแต่ด้วยความรู้ของพระสงฆ์ที่ท่านอยู่ป่านั้นได้ก็ได้สวดบทนี้ว่า เมตตาคาถาที่มีมาในพระไตรปิฎกว่าในแบบเต็มบท เพราะสมัยนั้นเพียงนำมาส่วนหนึ่งเท่านั้นและปัจจุบันก็ยังสวดกันอยู่ในงานต่างๆ และการไปอยู่ป่าของพระธุดงค์จะใช้บทนี้ นอกจากนั้นในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าแนะนำให้พระที่อยู่ป่านั้นได้สวดบทนี้

    นอกจากนี้แล้วในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้ให้พิมพ์พระไตรปิฎก ๑ ชุดร่วม ๓๙ เล่มในปกนั้นก็ใช้ในบทนี้ว่า
    สพฺเพสํ ปาณานํ สพเพสํ ภูตานํ สพฺเพสํ ปุคฺคลานํ สพฺเพสํ สาธุ วิฒิกานํ
    พระไตรปิฎกชุดนี้มอบต่างประเทศ ๒๖๐ ประเทศสถาบัน ด้วยอานิสงส์อันนี้ทำให้ประเทศไทยรอดพันไมตกเป็นเมืองขึ้นของชาติตะวันตกที่ล่าอาณานิคม ที่มีมาในพระไตรปิฎกดังนี้
    ผมของนำบทแปลมาให้อ่านกันครับ บทเมตตาใหญ่ที่ถูกต้องตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    มีในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๑ ฉบับสยามรัฐ หัวข้อธรรมที่ ๕๗๔

    ดูกรภิกขุทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลเสพแล้ว เจริญแล้วทำให้มากแล้ว ทำให้เป็นดังยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ตั้งไว้เนืองๆอบรมแล้ว ปรารภดีแล้ว อานิสงส์ ๑๑ ประการเป็นอันหวัดได้ อานิสงส์ ๑๑ประการเป็นไฉน คือผู้เจริญเมตตาย่อมหลับเป็นสุข ๑ ตื่นเป็นสุข ๑ ไม่ฝันลามก ๑ ย่อมเป็นที่รักของมนุษย์ ๑ ย่อมเป็นที่รักของอมุนุษย์ ๑ เทวาดาย่อม รักษา ๑ ไฟ ยาพิษ หรือศาตราย่อมไม่กล้ำกลาย ๑ จิตของเจริญเมตตาเป็น สมาธิได้รวดเร็ว ๑ สีหน้าของผู้เจริญเมตตาย่อมผ่องใส ๑ ย่อมไม่หลงใหล กระทำกาละ ๑ เมื่อยังไม่แทงตลอดธรรมอันยิ่งย่อมเข้าถึงพรหมโลก ๑ ดูกรภิกขุ ทั้งหลายเมือเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลเสพแล้วเจริญแล้ว ทำให้เป็นดังยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ตั้งไว้เนืองๆ อบรมแล้ว ปรารภดีแล้วอานิสงส์ ๑๑ ประการนี้เป็นอันหวังได้
    เมตตาเจโตวิมุตติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงก็มี แผ่ไปโดยเจาะจงก็มี แผ่ไปสู่ทิศหลายก็มี เมตตาเจโตวิมุตติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงด้วยอาการเท่าไร แผ่ไปโดยเจาะจงด้วยอาการเท่าไร แผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายด้วยอาการเท่าไร เมตา เจโตวิมุตติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงด้วยอาการ ๕ แผ่ไปโดยเจาะจงด้วยอาการ ๗ แผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายด้วยอาการ ๑๐
    เมตตาเจโตวิมุตติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงด้วยอาการ ๕เป็นไฉน
    เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงว่า ของสัตว์ทั้งปวงผู้ที่นับเนืองด้วยอัตภาพทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร ไมเบียนกัน ไม่มีทุกข์ รักษาตนอยู่เป็นสุขเกิด เมตตาเจโตโตวิมุติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงด้วย อาการ ๕ นี้
    เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปโดยเจาะจงด้วยอาการ ๗ เป็นไฉน
    เมตตา เจโตวิมุตติแผ่ไปโดยเจาะจงว่า ของหญิงทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวรไม่เบียดเบียนกัน ไม่มีทุกข์ รักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด ชายทั้งปวง อารยชน ทั้งปวง อนายชนทั้งปวง เทวาดาทั้งปวง มนุษย์ทั้งปวง วินิปาติสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร ไม่เบียดเบียนกัน ไม่มีทุกข์ รักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด เมตตา เจโตวิมุตติแผ่ไปโดยเจาะจงด้วยอาการ ๗ นี้
    เมตตาเจโตมุตติแผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายด้วยอาการ๑๐ ไฉน
    เมตตาเจมุตติแผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวง ในทิศบูรพา จงเป็น ผู้ไม่มีเวร ไม่เบียดเบียนกันไม่มีทุกข์ รักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด ขอสัตว์ทั้งปวง ใน ทิศปัจจิม ขอสัตว์ทั้งปวงในทิศอุดร ขอสัตว์ทั้งปวงในทิศทักษัณ ขอสัตว์ทั้งปวงในทิศอาคเนย์ ขอสัตว์ทั้ง ขอสัตว์ทั้งปวงพายัพ ของสัตว์ทั้งปวงทิศอีสาน ขอสัตว์ทั้งปวงในทิศหรดี ขอสัตว์ทั้งปวงทิศเบื้องล่าง ขอสัตว์ทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงเป็นผู้ไมมีเวรไม่เบียดเบียนกันไม่มีทุกข์รักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด ขอปาณะทั้งปวงในทิศบูรพา ภูต บุคคล ผู้ที่นับเนื่องด้วยอัตภาพ หญิงทั้งปวง ชายทั้งปวง อารยชนทั้งปวง อนารยชนทั้งปวงเทวาดาทั้งปวงมนุษย์ วินิปาติกสัตว์ทั้งปวง เป็นผู้ไมมีเวรไม่เบียดเบียนกันไม่มีทุกข์รักษาตน อยู่เป็นสุขเถิด วินิปาติกสัตว์ทั้งปวง ใน ทิศปัจจิม วินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในทิศอุดร วินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในทิศทักษัณ วินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในทิศอาคเนย์ ษัณ วินิปาติกสัตว์ทั้งปวงใน พายัพ วินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในทิศอีสาน ษัณ วินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในทิศหรดี วินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในทิศเบื้องล่าง วินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในในทิศเบื้องบน จงเป็นผู้ไมมีเวรไม่เบียดเบียนกันไม่มีทุกข์รักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด เมตตาเจโตมุตติแผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายด้วยอาการ ๑๐ นี้ เมตตาเจโตมุตติแผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายด้วยอาการ ๘ นี้ คือ ด้วยการเว้นความบีบคั้น ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๑ ด้วยเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง ๑ ด้วยเว้นการทำให้ เดือนร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือนร้อน ๑ ด้วยเว้นความย้ำยี ไม่ย้ำยีสัตว์ ทั้งปวง ๑ จงเป็นผู้มีสุข
    อย่างมีทุกข์ ๑ จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ ๑ จิตชื่อว่าเมตตา เพราะรัก ชื่อว่าเจโต เพราะคิด ถึงธรรมนั้น จึงชื่อว่าเมตตาเจโตวิมุติ
    บุคคลผู้เจริญเมตตาย่อมน้อมใจไป ด้วยศรัทธา ว่าขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความปลอดโปร่งมีความสุขเถิด
    ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัทธินทรีย์ ผู้เจริญเมตตาประคองความเพียนว่าขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติ เป็นอันอบรมแล้วด้วยสตินทรีย์ ผู้เจริญเมตตาตั้งไว้ว่า ขอสัตว์ทั้งปวงเป็นผู้ไมมีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัทธินทรีย์ ผู้เจริญเมตตาทราบชัดด้วยปัญญาว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยปัญญินทรีย์ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ เป็นอาเสวนะของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยอินทรีย์ ๕ ประการนี้ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ เป็นภาวนาของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลทำให้มากซึ่งเมตตาเจโตวิมุติด้วยอินทรีย์ ๕ ประการนี้ อินทรีย์ ๕ประการนี้ เป็นอลังการของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อม ประดับเมตตาเจโตวิมุติด้วยอินทรีย์ ๕ ประการนี้ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ เป็นบริขาร ของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมปรุงแต่งเมตตาเจโตวิมุติดีแล้วด้วยอินทรีย์ ๕ประการนี้ อินทรีย์ ๕ ประการนี้เป็นอาเสวนะ เป้นภาวนา เป็นพนุลีกรรม เป็นอลังการ เป็นบริขาร เป็นบริวาร เป็นความ บริบูรณ์
    เป็นสหรคต เป็นสหชาติ เป็นความเกี่ยวข้อง เป็นสัมปยุด เป็นความแล่นไป เป็นความผ่องใส เป็นความตั้งอยู่ดีเป็นความพันวิเศษ เป็น ความเห็นว่า นี้ละเอียด ของเมตตาเจโตวิมุติ เมตตาเจโตวิมุติอันบุคคลทำให้ เป็นดังยานทำให้เป็นที่ตั้ง ตั้งไว้เนือง ๆ สั่งสมแล้ว ปรารภดี เจริญดีแล้ว อธิษฐานดีแล้ว ดำเนินขึ้น ไปดีแล้ว พันวิเศษแล้ว ย่อมยังบุคคลนั้นให้เกิด ( ให้รุ้งเรือง ให้โชติช่วง ให้สว่างไสว )
    ผู้เจริญเมตตาย่อมไม่หวั่นไหวไปในความไม่มีศรัทธา ด้วยมนต์ สิการว่า ของสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวรมีความปลอดโปรง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติอันอบรมแล้วด้วยสัทธาพละ ผู้เจริญเมตตาย่อมไม่หวั่นไหวไปในความเกียจคร้าน ด้วยมนสิกา ว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม มีเวร ดังนี้ เมตตา เจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยวิริยพละ ผู้เจริญเมตตา ย่อมไม่หวั่นไหวไปในความประมาณ ด้วยมนสิการ ว่าของสัตว์ทั้งปวงจงเป็น ผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย สติพละ ผู้เจริญเมตตา ย่อมไม่หวั่นไหวไปในอุทธัจจะ ด้วยมนสิการว่า ของสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสมาธิพละ ผู้เจริญเมตตาย่อม ไม่หวั่นไหวไป ในอวิชชา ด้วยมนสิการว่า ของสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้เมตตาเมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยปัญญาพละ ๕ ประการนี้ เป็น อาเสวนะของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยพละ ๕ ประการนี้ เมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคลทำให้เป็นดังยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ตั้งไว้เนืองๆ สั่งสมแล้ว ปรารภดีแล้ว เจริญแล้ว ดำเนินขึ้นไปดีแล้ว อธิฐานดีแล้ว พ้นวิเศษแล้ว ย่อมยังบุคคลนั้นให้เกิด ให้โชติช่วง ให้สว่างไสว

    ผู้เจริญเมตตาตั้งสติไว้มั่นว่า ของสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย สติ สัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาเลือกเฟ้นด้วยปัญญาว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็น ผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาประคองความเพียร ไว้ว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้
    เมตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยวิริยสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาระงับความ เร่าร้อนว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตาเจโตวิมุติเป็นอัน อบรม แล้วด้วยปิติสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาระงับความชั่วหยาบไว้ว่า ขอสัตว์ ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย ปัสสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญตั้งจิตไว้ว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสมาธิสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตาย่อมวางเฉยกิเลสทั้งหลายด้วยญาณว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู่ไม่มีเวร จงมีความปลอดโปร่ง จงมีสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยอุเบกขาสัมโพชฌงค์ ๗ ประการนี้ เป็นอาเสวนะของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยโพชฌงค์ ๗ ประการนี้ เมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคลทำให้เป็นดังยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ตั้งไว้เนือง สั่งสม แล้ว ปรารภดี แล้วเจริญดีแล้ว อธิฐานดีแล้ว ดำเนินขึ้นไปดีแล้ว พ้นวิเศษแล้ว ย่อมยังบุคคลนั้นให้เกิดให้โชติช่วงให้สว่างไสว

    ผู้เจริญเมตตาย่อมเห็นชอบว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุข มีสุขเถิด ดังนี้
    เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมา ***ทิฐิ**** ผู้เจริญเมตตาย่อมดำริโดยชอบว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไมมีเวร ดังนี้
    เมตตาเจโตวิมุติ เป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาสังกัปปะ ผู้เจริญเมตตาย่อมกำหนด โดยชอบว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาวาจา ผู้เจริญเมตตาย่อมตั้งการงานไว้ได้โดยชอบว่า ขอสัตว์ ทั้งปวงจงเป็นผู้ไมมีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมา*กัมมันตะ
    ผู้เจริญเมตตาย่อมชำระอาชีพให้ขาวผ่องโดยชอบว่า ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมา ผู้เจริญเมตตาย่อมประคองความเพียรไว้โดยชอบว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาวายามะ ผู้เจริญเมตตาย่อมตั้งสติไว้โดยชอบว่า
    ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร ดังนี้ เมตตาเจโต * วิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาสติ ผู้เจริญเมตตาย่อมตั้งไว้โดยชอบว่า ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุข มีสุขเถิด ดังนี้
    ดังนี้ เมตตาเจโต * วิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสมาธิ องค์มรรค ๘ ประการนี้ เป็นอาเสวนะ ขอเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยองค์มรรค ๘ ประการนี้ องค์มรรค ๘ ประการนี้ เป็นภาวนาของเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเจริญเมตตา - เจโตวิมุติด้วยองค์มรรค ๘ ประการนี้ องค์มรรค ๘ ประการนี้ เป็นพหุลีกรรม ของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมทำให้มาซึ่งเมตตาเจโตมุติด้วย องค์มรรค ๘ ประการนี้ เป็นอลังการของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อม ประดับเมตตาเจโตวิมุติด้วยองค์มรรค ๘ ประการนี้ องค์มรรค๘ ประการนี้ เป็น บริขารของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมปรุงแต่งเมตตาเจโตวิมุติด้วยองค์มรรค ๘ ประการนี้ เป็นบริวารของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมห้อมล้อมเมตตาเจโตวิมุติด้วยดีด้วยองค์มรรค ๘ ประการ นี้ องค์มรรค ๘ ประการ นี้ เป็นอาเสวนะ เป้นภาวนา เป็นพลีหุกรรม เป็นอลังการ เป้นบริขาร เป็นบริวาร เป็นความสมบูรณ์
    เป็นสหรคต เป็น สหชาติ เป็นความเกียวข้อง เป็นสัมปยุด เป็นความแล่นไป เป็นความผ่องใส เป้นความตั้งอยู่ด้วยดี เป็นความ พันวิเศษ เป็นความเห็นว่านี้ละเอียดของเมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคลทำให้เป็นดัง ยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ตั้งไว้เนือง สั่งสมแล้ว ปรารภดีแล้ว เจริญดีแล้ว อธิษฐานดีแล้วดำเนินขึ้นไปดีแล้ว พันวิเศษแล้ว ย่อมยังบุคคลนั้นให้เกิด (ให้รุ้งเรือง ให้โชติช่วง ให้สว่างไสว )
    เมตาเจโตวิมุติ แผ่ไปด้วยอาการ ๘ นี้คือ ด้วยการเว้นความบีคั้น ไม่บีบคั้น ๑ ด้วยการฆ่า ไม่ฆ่า ๑ ด้วยเว้นการกระทำให้เดือดร้อน ไม่ทำให้เดือนร้อน ๑ ด้วยเว้นความย่ำยี ไม่ย่ำยี ๑ ด้วยเว้นการเบียนเบียน ไม่เบียน ๑ ซึงปานะทั้งปวง ภูตทั้งปวง บุคคลทั้งปวง สัตว์ผู้นับเนื่อง ด้วยอัตภาพทั้งปวง หญิงทั้งปวงชายทั้งปวง อารยชนทั้งปวง อรารชนทั้งปวง เทวดาทั้งปวง มนุษย์ทั้งปวง วินิปาติกสัตว์ทั้งปวงขอวินิปาติกสัตว์ทั้งปวงจงเป็น ผู้ไม่มีเวร อย่ามีเวรกันเถิด ๑ จงมีความสุข อย่ามีความทุกข์เถิด ๑ จงมีตน เป็นสุข อย่างมีตนเป็นทุกข์เถิด ๑ จิตชื่อว่าเมตตา เพราะรักวินิปาติกสัตว์ทั้งปวง ชื่อว่าเจโต เพราะคิดถึงธรรมนั้น จึงชื่อว่าเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลผู้เจริญเมตตาย่อมน้องใจไปด้วยศรัทธาว่า ขอวินิปาติ **สัตว์ทั้งปวงจงเป็น ผู้ไม่มีเวรมีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตา เจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัทธินทรีย์ ย่อมให้เกิด
    ( ให้รุ้งเรือง ให้ โชติช่วง ให้สว่างไสว )
    เมตตาเจโตมุติแผ่ไปด้วยอาการ ๘ นี้ คือด้วยการเว้น ความบีบคั่น ไม่บีบคั้น ๑ ด้วยเว้นการฆ่า ไม่ฆ่า ๑
    ด้วยเว้นการทำให้เดือนร้อน ไม่ทำให้เดือนร้อน ๑ ด้วยเว้นความย่ำยี ไม่ย่ำยี ๑ ด้วยเว้นการเบียนไม่เบียดเบียน ๑ ซึ่งสัตว์ ทั้งปวงใน ทิศบุรพา ใน ทิศปัจจิม ใน ทิศอุดร ในทิศทักษัณ ในทิศอาคเนย์ ในทิศพายัพ ในทิศอีสาน ใน ทิศหรดี ใน ทิศเบื้องต่ำ ใน ทิศเบื้องบน ของสัตว์ทั้งปวงในทิศเบื้องบน จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่ามีเวรกันเถิด ๑ จงมีความสุข อย่ามีความทุกข์เถิด ๑ จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตน เป็นทุกข์เถิด ๑
    จิตชื่อว่าเมตตาเพราะรักสัตว์ทั้งปวงในทิศเบื้องบน ชื่อว่าเจโต เพราะคิดถึงธรรมนั้น ชื่อว่าวิมุติ เพระหลุดพ้นจากพยาบาทและปริยุฎฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วยเป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่าเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลผู้เจริญเมตตา ย่อมน้อมใจไปด้วยศรัทธาว่า ขอให้สัตว์ทั้งปวงในทิศเบื้องบน จงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตาเจโตวิมุติเป็น อันอบรมแล้วด้วยสัทธิทรีย์ ย่อมให้เกิด
    ( ให้รุ้งเรือง ให้โชติช่วง ให้สว่างไสว)
    เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปด้วยอาการ ๘ นี้ คือ ด้วยการเว้นความ บีบคั้น ไม่บีบคั้น ๑ ด้วยเว้นการฆ่า ไม่ฆ่า ๑ด้วยเว้นการทำให้เดือนร้อน ไม่ทำให้เดือนร้อน ๑ ด้วยเว้นความย่ำยี ไม่ย่ำยี ๑ ด้วยเว้นการเบียนไม่เบียดเบียน ๑ ซึ่งปาณะทั้งปวง ภูตทั้งปวงบุคคลทั้งปวง สัตว์นับเนื่องด้วย อัตภาพทั้งปวง หญิงทั้งปวง ชายทั้งปวง อารยชนทั้งปวง อนารยชนทั้งปวง เทวดาทั้งปวงมนุษย์ทั้งปวง วินิปาติสัตว์ทั้งปวง ในทิศบูรพา
    ในทิศปัจจัม ในทิศอุดร ในทิศทักษิณ ในทิศอาคเนย์ ในทิศพายัพ ในทิศอีสาน ในทิศหรดี ในทิศเบื้องต่ำ
    ในทิศเบื้องบน ขอวินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในทิศบูรพา จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่ามีเวรกันเถิด ๑ จงมีความสุข อย่ามีคามทุกข์เถิด ๑ จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์เถิด ๑ จิตชื่อว่าเมตตา เราะรักวินิปาติกสัตว์ ทั้งปวงในทิศเบื้องบน ชื่อว่าเจโต เพราะคิดถึงธรรมนั้น ชื่อว่าวิมุติเพราะพ้นจาก พยาบาทและปริยุฎฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วยเป็นเจโตวิมุติด้วยเพราะ ฉะนั้นจึงชื่อว่าเมตาเจโตวิมุติ
    บุคคลผู้เจริญเมตตา ย่อมน้อมใจไป ด้วยศรัทธาว่าขอวินิปาติก สัตว์ทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัทธิทรีย์ ผู้เจริญเมตตาประคอง ความเพียนไว้ว่า ขอวินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในทิศเบื้อง บน จงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความ ปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยวิริยินทรีย์ ผู้เจริญเมตตาตั้งสิตไว้มั่น เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้ว ด้วยสตินทรีย์ ผู้เจริญเมตตาตั้งจิตมั่น เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสมิทรีย์ ผู้เจริญเมตตารู้ชัดด้วยสมฺนทรีย์ ผู้เจริญเมตตารู้ชัดด้วยปัญญา เมตตาเจโตวิมุติเป็นอัน อบรมแล้วด้วยปัญญินทรีย์ อินทรีย์
    ๕ ประการนี้ เป็นอาเสนะของเมตตา **เจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยอินทรีย์ ๕ ประการนี้ ย่อมให้เกิด ( ให้รุ้งเรือง ให้โชติช่วง ให้สว่างไสว )
    ผู้เจริญเมตตาไม่หวั่นไหวไปในความเป็นผู้ไม่มีศรัทธา ด้วยมนสิการว่า ขอวินิปาติกสุตว์ทั้งปวงทิศเบื้องบน จงเป็นผู้ไมมีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัทธา พละ ผู้เจริญเมตตาไม่หวั่นไหวไปในความเกียจคร้าน เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย วิริย พละ ผู้เจริญเมตตาไม่หวั่นไหวไปใน ความประมาท เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย สติ พละ
    ผู้เจริญเมตตาไม่หวั่นไหวไปในอุทธัจจะ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย สมาธิ พละ ผู้เจริญเมตตาไม่หวั่นไหวไปในอวิชชา เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย ปัญญา พละ ๕ ประการนี้ เป็นอาเสวนะของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคล ย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยพละ ๕ ประการนี้ ย่อมให้เกิด
    ( ให้รุ้งเรือง ให้ โชติช่วง ให้สว่างไสว )
    ผู้เจริญเมตตาตั้งสติไว้มั่นว่า ขอวินิปาติกสัตว์ทั้งปวงในทิศ เบื้องบน จงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตา *เจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสติสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาเลือกเฟ้นด้วยปัญญา เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาประคองความเพียรไว้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย วิริยะ สัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาระงับความเร่าร้อนไว้
    เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย ปีติสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาระง้บความชั่วหยาบไว้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้ว ด้วย ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตา ตั้งมั่น เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสมาธิสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาวางเฉยกิเสสทั้งปวงด้วยญาณ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้ว
    ด้วยอุเบขาสัมโพชฌงค์ โพชฌงค์ ๗ ประการนี้ เป็นอาเสวนะของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยโพชฌงค์ ๗ ประการนี้ เป็นอาเสวนะของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยโพชฌงค์ ๗ ประการนี้ ย่อมให้เกิด ( ให้รุ้งเรือง ให้ โชติช่วง ให้สว่างไสว )
    ผู้เจริญเมตตาย่อมเห็นโดยชอบว่า ขอวินิปาติกทั้งปวงใน ทิศเบื้องบน จงเป็นผู้ไมมีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโดวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาทิฐิ ผู้เจริญเมตตาดำริโดยชอบ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาสังกัปปะ ผู้เจริญเมตตากำหนด โดยชอบ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาวาจา ผู้เจริญ ตั้งการงานไว้โดยชอบ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยกัมมันตะ ผู้เจริญเมตตาชำระอาชีวะผู้เจริญเมตตาประคองความเพียนไว้โดยชอบ เมตตา **เจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้ว ด้วยสัมมาวายามะ ผู้เจริญตั้งสติไว้ โดยชอบ เมตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาสติ ผู้เจริญเมตตา ตั้งมั่น โดยชอบ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอบรมแล้วด้วยสัมมาสติ องค์มรรค ๘ ประการนี้ องค์มรรค ๘ ประการนี้ เป็นบริวารของเมตตา เจโตวิมุติบุคคลห้อมล้อมเมตตาเจโตวิมุติด้วยองค์มรรค ๘ ประการนี้ องค์มรรค ๘ ประการนี้เป็นอาเสวนะ เป็นภาวนา เป็นพหุลีกรรม เป็นอลังกรรม เป็นบริขาร เป็นบริวาร เป็นความบริบูรณ์ เป็นสหรคต เป็นสหชาติ เป็นความเกี่ยวข้อง เป็นสัมปยุต เป็นความแล่นไป ความผ่องใส เป็นความ ดำรงมั่น เป็นความพ้นวิเศษ เป็นความเห็นว่า นี้ละเอียด ของเมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคลทำให้เป็นดังยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ตั้งไว้เนือง สั่งสมแล้ว ปรารภดีแล้ว เจริญดีแล้ว อธิฐานดีแล้วดำเนินไปขึ้นดีแล้ว พ้นวิเศษแล้ว ย่อมยังบุคคล นั้นให้เกิด ( ให้รุ้งเรือง ให้ โชติช่วง ให้สว่างไสว )
    จบเมตตากถา
    จากการที่ได้นำพระไตรปิฎกมาให้ดูนั้นจะเห็นได้ว่าการที่บุคคลทั้งได้สาธยายธรรมของพระพุทธองค์ก็จะได้รับความสุข แม้ว่าในบทสวดมนต์ทั้งที่เราได้สวดนั้นก็มีความหมายทุกบท แม้แต่ในโบราณเพียง นะโม เท่านั้นยังทำให้ได้รับความสุขเลย
    ฉะนั้นเรามาสวดมนต์กันเถอะบ้านเมืองและสังคมจะได้อยู่กันอย่างมีความสุขตลอดกาล
     
  3. devbara

    devbara เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    1,086
    ค่าพลัง:
    +5,400
    ขออนุโมทนาบุญด้วย อ่านสะกดไม่เป็น อยากได้แบบที่อ่านออก ถ้ามีรบกวนด้วยครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...