หลักภาษาบาลี

ในห้อง 'พุทธภูมิ - พระโพธิสัตว์' ตั้งกระทู้โดย siarayamarata, 20 สิงหาคม 2006.

  1. siarayamarata

    siarayamarata เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    389
    ค่าพลัง:
    +511
    ภาษาบาลี<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    การเรียนภาษาบาลี ให้เข้าถึงแก่นธรรม จักต้องเข้าถึงหลักภาษาบาลี ซึ่งคล้ายกับภาษาไทย อักขระภาษาบาลี มีความสัมพันธ์กันกับภาษาไทย อย่างแยกกันไม่ได้ ทั้งนี้เนื่องเพราะคนไทย คือ พระพุทธเจ้า ดังนั้น ภาษาซึ่งเกี่ยวข้องกับ กฎแห่งกรรม จึงถูกกำหนดให้เปล่งเสียงออกมาเป็นสำเนียงของภาษาไทย แม้ว่าภาษามคธ จักมีอิทธิพลกับภาษาไทย โดยคนไทยคิดว่าเสียงซึ่งเปล่งออกมานั้นคือภาษาบาลี ซึ่งแท้ที่จริงแล้ว คือภาษามคธ การใช้หลักของภาษามคธ ในภาษาไทย ล้วนกลมกลืนไปกับวัฒนธรรมภาษาของคนไทย เพียงแต่การเรียนพุทธศาสตร์ จักต้องเข้าถึงแก่นธรรมอันแท้จริง <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    พระผู้สร้าง ทรงแยกสำเนียงซึ่งเปล่งออกมาอย่างเหมาะสม แม้จักใกล้เคียงกันแต่หากสามารถแยกแยะได้ ย่อมจักสามารถเข้าถึงแก่นธรรมได้ เพียงแต่คนไทยคือตัวแทนของผู้รักสันติ รักอิสระ มิยอมเป็นเมืองขึ้นของชนชาติใด ต่อสู้อย่างสมศักดิ์ศรี ในอันที่จักรักษาเอกราชของชาติไว้ หลายยุคหลายสมัย มาตั้งแต่ครั้ง กำเนิดคนไทย นั่นคือ ความเป็นคนไทยเริ่มขึ้นนับตั้งแต่บังเกิด พ่อขุนรามคำแหงมหาราชขึ้น ทำนุบำรุงกรุงสุโขทัย กระทั่งเจริญรุ่งเรือง เป็นที่ตั้งของชนชาติไทย ตราบจนปัจจุบัน กำเนิดภาษาไทย เริ่มขึ้นตั้งแต่ยุคสมัยของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ปฐมกษัตริย์ของชนชาติไทย คำว่าคนไทย เรียกตาม ชนชาติซึ่งอาศัยอยู่กรุงสุโขทัย เรียกชาวสุโขทัย ต่อมาถูกเรียกสั้นๆเพียงคนไทย คำว่าคนไทย จึงเกิดขึ้นนับตั้งแต่ อุบัติพ่อขุนรามคำแหงมหาราชขึ้น <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ครั้นต่อมาพ่อขุนรามคำแหงมหาราช จารึกอักษรไทยขึ้น โดยอ้างอิงอักขระภาษาขอมโบราณ ซึ่งล้วนได้รับอิทธิพลมาจากภาษามคธโบราณ จากอารยะธรรมอินเดียโบราณ ซึ่งรวมความเชื่อทั้งพุทธและพราหมณ์ไว้ด้วยกัน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นพุทธศาสตร์ทั้งสิ้น อักขระภาษาไทย ซึ่งบัญญัติขึ้นมาโดยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ล้วนเกี่ยวเนื่องกับภาษาบาลี ทั้งสิ้น การเปล่งเสียงในภาษาไทยเพียงเท่านั้น จึงสามารถแทนเสียงซึ่งเปล่งออกมาด้วยอักขระภาษาซึ่งแตกต่างกันได้ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภาษาใดๆในโลกนี้ มิมีภาษาใดที่สามารถเปล่งเสียงออกมา เป็น อักขระภาษาบาลี หรือ ปรอ ภาษา ได้เฉกเช่นกับภาษาไทย หากมิปรากฏพุทธศาสตร์ขึ้น ย่อมมิอาจนำพาเหล่าสรรพสัตว์ทั้งหลายให้หลุดพ้นไปจากกองทุกข์ได้ นั่นหมายถึง กาลสมัยอันรุ่งเรืองที่สุดคือยุคแห่งความศิวิไลย หมายถึง ยุคของพระศรีอารยะเมตไตรย พุทธเจ้า ซึ่งกำหนดขึ้นมานานแล้วทุกสากลจักรวาล แม้จักผ่านพ้นไปเนิ่นนานสักเพียงใดก็ตาม การอุบัติขึ้นของพระศรีอารยะเมตไตรย ล้วนเกี่ยวเนื่องกับกฎแห่งกรรมทั้งสิ้น ทั้งนี้เนื่องเพราะอักขระภาษา ซึ่งถูกกำหนดขึ้นเพื่อบัญญัติกฎแห่งกรรม อย่างเป็นรูปธรรม หากมิปรากฏพระศรีอารยะเมตไตรยพุทธเจ้าขึ้น ยากยิ่งนักที่มนุษย์รวมทั้งสรรพสัตว์ จักเข้าถึงกฎแห่งกรรมซึ่งบัญญัติขึ้นมานานแล้วโดยพระผู้สร้าง เพื่อสร้างความเป็นธรรม ให้กับสรรพจิต สรรพสัตว์ มิให้เกิดการเอาเปรียบซึ่งกันและกัน กฎแห่งกรรมถูกกำหนดขึ้นเพื่อสร้างความเป็นธรรม ความยุติธรรม ให้กับสรรพจิต สรรพสัตว์ เพื่อสร้างความร่มเย็นเป็นสุขให้กับโลกและจักรวาล มหาสากลจักรวาล อนันต์จักรวาล หากมิบังเกิดพระผู้สร้างอนันต์จักรวาลขึ้น ย่อมมิอาจเข้าถึงกฎแห่งกรรมใดๆได้ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ทั้งนี้ เพราะสรรพจิตล้วนได้รับอิสระในการดำเนินชีวิต เพียงแต่ถูกกำหนดให้รับผิดชอบในการกระทำของตนเอง หากกระทำความชั่ว ย่อมได้รับผลของการกระทำ คือ กรรม หากกระทำความดี ย่อมได้ผลของการกระทำ เฉกเช่นกัน คือ ผลบุญ การเข้าถึงหลักภาษาบาลี หรือ ปรอ ภาษา จึงมีเพียงคนไทยเท่านั้น ที่จักสามารถเข้าถึงแก่นธรรมได้ในลำดับแรก ทั้งนี้เนื่องเพราะ อุปนิสัยของคนไทย คือต้นแบบของคนซึ่งมีคุณธรรม เป็นแบบฉบับของความเป็นคนซึ่งรักอิสระ มิรุกรานผู้ใด ดำเนินชีวิตแบบสมถะ รักสงบ มิเบียดเบียนผู้ใด เพียงแต่กฎแห่งกรรมบัญญัติไว้สูงสุดหากถูกรุกราน ย่อมสามารถลุกขึ้นมาต่อสู้ปกป้องอธิปไตยของตนเอง โดยละเว้นผลของการกระทำ แม้จักฆ่าผู้รุกรานมากสักเพียงใดก็ตาม เป็นสิทธิอันชอบธรรม ที่จักปกป้องตนเองและครอบครัว เพื่อนร่วมชาติ หากเพียงแต่เมื่อใดที่รุกรานผู้อื่น ล้วนถูกกำหนดให้เป็นการกระทำ ของผู้ซึ่งสร้างความเดือดร้อนให้กับเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ย่อมถูกลงโทษด้วยกฎแห่งกรรมซึ่งบัญญัติไว้สูงสุด มิอาจแปรเปลี่ยน กฎแห่งกรรม ล้วนเที่ยงธรรม มิอาจโต้แย้ง หากมิเชื่อถือล้วนถูกลงโทษ ตามกฎแห่งกรรมทั้งสิ้น <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    หากมิปรากฏพุทธศาสนาขึ้น ย่อมมิอาจสร้างสันติภาพขึ้นมาในหมู่มนุษยชาติได้ ท่านทั้งหลายย่อมเห็นความขัดแย้งกัน ของมวลหมู่มนุษยชาติในยุคปัจจุบัน ในอดีตกาล ล้วนเป็นเฉกเช่นนี้ทั้งสิ้น หากมิปรากฏพระศรีอาริยะเมตไตรยพุทธเจ้าขึ้น เพื่อประกาศสัจธรรม ย่อมจักทำให้โลกล่มสลายไปนับครั้งไม่ถ้วน มิอาจหยุดยั้งความชั่วของมวลหมู่มนุษยชาติได้ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    การเข้าถึงหลักภาษาบาลี หรือปรอภาษา จักต้องสามารถเปล่งเสียงออกมาอย่างเหมาะสม และสามารถแทนเสียงซึ่งเปล่งออกมา ด้วยอักขระภาษา ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นมาโดยบรรพบุรุษของชนชาตินั้นๆ ถึงแม้ชนชาติไทยจักมีประวัติศาสตร์ มินาน เพียงประมาณ 600 ปี เพียงเท่านั้น แต่ทุกย่างก้าวของการเดินไปของชนชาติไทย ล้วนสามารถแสดงให้เห็นสัทธรรมของการดำรงอยู่ ของมวลหมู่มนุษยชาติทั้งสิ้น นับตั้งแต่ยุคของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช แห่งกรุงสุโขทัย ยุคของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยา และ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ หรือ พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่หนึ่งแห่งราชวงศ์จักกรี ของชนชาติไทย ล้วนเกี่ยวเนื่องกันกับ พระพุทธศาสนาทั้งสิ้น ทั้งพ่อขุนรามคำแหงมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ล้วนแล้วแต่เป็นอดีตชาติของพระศรีอารยะเมตไตรย พุทธเจ้าทั้งสิ้น หากจักพิสูจน์ความจริงใดๆ ย่อมจักสามารถกระทำได้ เมื่อถึงเวลาอันเหมาะสม <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    หลัก ปรอ ภาษา หรือ ภาษาบาลี<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    อักขระภาษาบาลี กอปรด้วย อักขระภาษา ทั้งสิ้น 18 อักขระภาษา แต่ละอักขระภาษา ล้วนมีความหมายศักดิ์สิทธิ์ มิอาจแปรเปลี่ยน แม้จักมิเชื่อถือใช่ว่า ความศักดิ์สิทธิ์ ของกฎแห่งกรรมจักด้อยความศักดิ์ลง <O:p></O:p>
    <O:p</O:p
    อักขระภาษาบาลี หรือ ปรอ ภาษา มีดังนี้<O:p></O:p>
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า กะ <O:p></O:p>
    แปลว่า กรรม หมายถึง ผลของการทำความชั่ว ความโหดร้าย ทารุณ มิได้หมายรวมถึง ผลของการทำความดี ผลของการทำความดี เรียกว่า ผลบุญ

    ตัวอย่าง สัมมากัมมันตะ (สอมกมต) แปลว่า สัตว์ทั้งหลาย () ซึ่งอยู่ในกรอบของกฎแห่งกรรม คือนรก() และ สวรรค์ () กรรม () เป็นตัวตน () ของความโหดร้าย()</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า ขะ <O:p></O:p>
    แปลว่า ขันธ์ หมายถึงสิ่งซึ่งมนุษย์ มิอาจควบคุมได้ เช่น คนเลือกเกิดมิได้ เป็นกฎแห่งกรรม มิอาจแปรเปลี่ยน <O:p></O:p>

    ตัวอย่าง ขันธ์ 5 (ขนท) เป็นสิ่งซึ่งมนุษย์มิอาจควบคุมได้ เช่น สขร ขนท แปลว่า สังขารกาย เป็นสิ่งที่มนุษย์มิอาจควบคุมได้ คือเลือกเกิดมิได้ เป็นต้น

    รป ขนท แปลว่า รูปขันธ์ เป็นสิ่งที่มนุษย์มิอาจจักควบคุมได้ คือเลือกเกิดมาสวย มิได้ เป็นต้น
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า คะ<O:p></O:p>
    แปลว่า การแสวงหา<O:p></O:p>

    ตัวอย่าง ทมค แปลว่า การแสวงหา () ธรรมอยู่เหนือ () ความรุนแรง ()

    ตัวอย่างที่สอง มค แปลว่า การแสวงหา () ความรุนแรง () เป็นต้น
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า จะ<O:p></O:p>
    แปลว่า การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ความไม่หยุดนิ่ง<O:p></O:p>

    ตัวอย่าง จิต (จต) แปลว่า การเปลี่ยนแปลง การกระทำ () อย่างตรงไปตรงมา โดยเปิดเผย ความจริงใจ ความซื่อสัตว์ ()

    ตัวอย่างที่สอง สัจจะ (สจ) แปลว่า เป็นสัตว์ () ซึ่งเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ไม่อยู่นิ่ง ()

    <O:p</O:p
    อ่านว่า ตะ<O:p></O:p>
    แปลว่า ความเป็นตัวตน รูปธรรม

    ตัวอย่าง อัตตัญญุตา (อตยต) (อต) แปลว่า ความเป็นตัวตัน(ต) สูงมาก (อ) เป็นความเห็นแก่ตัว (ยต) เป็นตัวตน ()ของความชั่ว()

    ตัวอย่างที่สอง (จต) แปลว่า การเปลี่ยนแปลง การแสดงออก (จ) อย่างตรงไปตรงมา เป็นรูปธรรม มองเห็นได้ กระทำโดยเปิดเผย (ต) เป็นจิตบริสุทธิ์ เป็นต้น<O:p></O:p>
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า ถะ<O:p></O:p>
    แปลว่า ประโยชน์

    ตัวอย่าง อัตตัญญุตา (อตยต) (อถ) แปลว่า เห็นแก่ประโยชน์ () มากเกินไป (อ) เป็นคนเห็นแก่ได้ถ่ายเดียว แสวงหาแต่ประโยชน์ หากมิได้ประโยชน์จักไม่กระทำ (ยต) เป็นตัวตน() ของความชั่ว () <O:p></O:p>

    ตัวอย่างที่สอง สัมมาทิฐิ (สอมทรถิ) แปลว่า สัตว์ทั้งหลาย(ส)ซึ่งอยู่ภายใต้กฎแห่งกรรม คือนรก() และ สวรรค์() คน(อิ) เห็นแก่ประโยชน์() ทำให้คุณธรรม() ลดต่ำลง ()
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า ทะ<O:p></O:p>
    แปลว่า คุณธรรม ความเที่ยงธรรม ความจริง ความถูกต้อง ความอ่อนโยน รวมทั้งหมายถึง พระแม่ธรณี <O:p></O:p>

    ตัวอย่าง เวทนาขันธ์ (วทน ขนท) แปลว่า (วทน) การกระทำ () ซึ่งคุณธรรมนำ () ความดี () เป็นการทำความดี ซึ่งอยู่ภายใต้มาตรฐานของคุณธรรม (ขนท) เป็นกฎแห่งกรรม

    ตัวอย่างที่สอง สัพเพธัมมา อนัตตา (สปทม อนต) แปลว่า (สปทม) การสั่งสม() คุณธรรมอยู่เหนือ () ความโหดร้าย () ของสัตว์() (อนต) เป็นสิ่ง ()ที่ดี () ที่สุด()
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า นะ<O:p></O:p>
    แปลว่า ความดี<O:p></O:p>

    ตัวอย่าง อาณาปนสติ (อนปนสติ ) แปลว่า (อนป) การสั่งสม () ความดี ()ให้มากที่สุด() (นสติ) เป็นตัวตน () ของคน (อิ) ซึ่งเป็นสัตว์ () ซึ่งทำความดีได้ ()

    ตัวอย่างที่สอง อนาคามี บารมี (อนคมร ปรม) แปลว่า (อนคมร) การแสวงหาหนทาง()ทำความดี ()ขั้นสูงสุด() และ การแสวงหาหนทาง ()ทำความโหดร้าย() ให้ลดลง () กระทั่ง (ปรม) สูญสิ้น (ปร) ความโหดร้าย()

    หมายถึง การประกอบพุทธกิจของพระพุทธเจ้า เมื่อครั้งพุทธกาล นั่นคือ การบวช ครองเพศบรรพชิตตลอดชีวิต มุ่งสอนคนให้ทำความดี
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า ปะ<O:p></O:p>
    แปลว่า รวมกัน หมวดหมู่ กลุ่มก้อน การอัดจนเป็นกลุ่ม<O:p></O:p>

    ตัวอย่าง ปติจสมุปบาท (ปติจสมุปท) แปลว่า (ปติจ) องค์ประกอบ () ความเปลี่ยนแปลง () ความเป็นตัวตน () ของคน(อิ) หมายถึง ขันธ์ (สมุปท) คือผลของการนำความโหดร้าย ()ของสัตว์ () ในพรหม(อุ) กับ คุรธรรม ()ของสัตว์ () ในพรหม (อุ) มาเปรียบเทียบกัน ()
    </O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า มะ<O:p></O:p>
    แปลว่า ความรุนแรง ความโหดร้าย การลงมือกระทำ การใช้กำลัง รวมทั้ง นรก และ หมายถึง นายนิรบาล<O:p></O:p>

    ตัวอย่าง มรรค (มค) แปลว่า การแสวงหา () ความรุนแรง (ม)

    ตัวอย่างที่สอง ธรรมมรรค (ทมค) แปลว่า (ทมค) การแสวงหา () คุณธรรม () นำความโหดร้าย ()
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า ยะ<O:p></O:p>
    แปลว่า ความชั่ว<O:p></O:p>

    ตัวอย่าง อภิญญา (อปรย) แปลว่า การสลาย (ปร) ความชั่ว () ได้มากที่สุด ()

    ตัวอย่างที่สอง ปัญญาธิกะ พุทธ (ปรยทิกร สิอรย) แปลว่า (ปรยทิกร) การสลาย (ปร) ความชั่ว (ย) ด้วยคุณธรรม(ท)ของคน(อิ) และการทำกรรม(ก)ให้ต่ำลง (ร)ด้วยคุณธรรม(ท)ของคน(อิ) (สิอรย) โดยคน (อิ) ซึ่งแบ่งภาค ()จากพระอินทร์() เพื่อลด () ความชั่ว () ของสัตว์ () หมายถึง พระศรีอารย์
    </O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า ระ<O:p></O:p>
    แปลว่า ลดลง ละเว้น น้อยกว่า <O:p></O:p>

    ตัวอย่าง เมตตา (มรต) แปลว่า ความรุนแรง ความโหดร้าย() ลดลง () อย่างเป็นรูปธรรม ()

    ตัวอย่างที่สอง กรุณา (กรน) แปลว่า การละเว้น () จากกรรม () เป็นความดี (น)<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    อ่านว่า วะ<O:p></O:p>
    แปลว่า การกระทำซึ่งส่งผลให้ได้รับผลของการกระทำในอนาคต เรียกว่า เวร มีทั้ง การทำความดี (วน) และการทำความชั่ว (วย)<O:p></O:p>

    ตัวอย่าง สัมมา วายามะ (สอม วยม) แปลว่า สัตว์ทั้งหลาย () ซึ่งอยู่ในกรอบของกฎแห่งกรรม คือ นรก () และ สวรรค์ () การทำ () ความชั่ว (ย) เป็นความโหดร้าย ()

    ตัวอย่างที่สอง วิญญาณ ขันธ์ (วิยน ขนท) แปลว่า การกระทำ (ว) ความดี (น) ความชั่ว (ย) ของคน (อิ) เป็น ขันธ์ (ขนท)
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    อ่านว่า สะ<O:p></O:p>
    แปลว่า สัตว์<O:p></O:p><O:p</O:p

    ตัวอย่าง ศีล (สิร) แปลว่า คน (อิ) ซึ่งเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง () ลดต่ำลง ()

    ตัวอย่างที่สอง มุสาวาทา (มุสวอท) แปลว่า สัตว์ () ในพรหม (อุ) ซึ่งโหดร้าย ทารุณ () กระทำการ () ใช้อำนาจ () กดขี่ผู้มีคุณธรรม ()

    <O:p</O:p
    อ่านว่า หะ<O:p></O:p>
    แปลว่า ตัณหา หมายถึง ความอ่อนไหว ความสุนทรี <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>

    ตัวอย่าง อรหันต์ (อรหนต) แปลว่า การละเว้น () ตัณหา () ให้มากที่สุด () เป็นตัวตน () ของความดี ()

    ตัวอย่างที่สอง โมหะ (มรห) แปลว่า ความรุนแรง ความโหดร้าย () ลดลง () เพราะตัณหา หมายถึงความสุนทรี เช่น เสียงเพลง เป็นต้น ()

    อิ<O:p</O:p
    อ่านว่า อิ<O:p></O:p>
    แปลว่า คน<O:p></O:p>
    <O:p
    ตัวอย่าง กายคตาสติ (กคตสติ นิรยมส) แปลว่า ตัวตน () ของสัตว์ () ผู้การแสวงหา (ค) กรรม (ก) ของคน (อิ) ซึ่งมีตัวตนอยู่ (ต) นิรยมส คือ สัตว์ (ส) ซึ่งเป็นคน (อิ) ที่ความดี (น) ลดต่ำลง (ร) เพราะทำ (ม) ความชั่ว (ย)

    ตัวอย่างที่สอง อาณาปนสติ (อนปนสติ) แปลว่า (อนป) การสั่งสม () ความดี (น) ให้มาก () (นสติ) เป็นตัวตน () ของคน (อิ) ดี () ซึ่งเป็นสัตว์ซึ่งสามารถสร้างความดี (ส)

    อุ<O:p</O:p
    อ่านว่า อุ<O:p></O:p>
    แปลว่า ความเที่ยงธรรม ความเป็นกลาง ความพอดี รวมทั้ง หมายถึง พระพรหม <O:p></O:p>
    <O:p
    ตัวอย่าง อุเบกขา (อุปค) แปลว่า แสวงหา () ความเที่ยงธรรม ความเสมอภาค (อุ) ในหมู่คณะ ()

    ตัวอย่างที่สอง สัปปุริสธรรม (สปุริสยต) แปลว่า กลุ่ม () ของสัตว์ () ในพรหม (อุ) ซึ่งความเป็นคน (อิ) ลดต่ำลง () เพราะตัวตน () ของความชั่ว () หมายถึงทำความชั่ว

    อะ<O:p</O:p
    อ่านว่า อะ<O:p></O:p>
    แปลว่า อำนาจ ความยิ่งใหญ่ จำนวนมากที่สุด ระดับสูงสุด รวมทั้งหมายถึง พระอินทร์ สวรรค์<O:p></O:p>
    <O:p
    ตัวอย่าง อนัตตา (อนต) แปลว่า สิ่ง ()ที่ดี () ที่สุด ()

    ตัวอย่างที่สอง อะยัมปิทัง (อยมปิท) แปลว่า อยมปิ ผลรวม() ของคน (อิ) ชั่ว () คนโหดร้าย () มีมากกว่า () ปิท ผลรวม ()ของคน (อิ) ผู้มีคุณธรรม (ท)


    อักขระ ปรอ ภาษา มีความหมายเฉพาะตัว กรอบของศีลธรรมทั้งปวง ล้วนอาศัย อักขระ ปรอ ภาษา ทั้งสิ้น การเข้าถึงแก่นธรรมย่อมต้องรู้แจ้งในความหมายของอักขระ ปรอ ภาษา แต่ละอักขระ การเรียงต่อกันของอักขระ ปรอ ภาษา ยึดหลัก การสมาส และสนธิคำ ซึ่งอักขระ ปรอ ภาษา มิอาศัยหลักการสะกดคำด้วยสระดุจอักระภาษาใดๆ อักขระทุกตัวอักษร ล้วนสื่อความหมายเฉพาะตัวทั้งสิ้น หลักธรรมทั้งปวงของพุทธ ล้วนอยู่ในกรอบของ ปรอ ภาษา นี้ทั้งสิ้น ให้พิจารณาด้วยปัญญา <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เข้าถึงรากเหง้าของ ปรอ ภาษา<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภาษาบาลี ถูกกำหนดขึ้นมาตามพฤติกรรมของสัตว์ นับตั้งแต่ครั้งบังเกิดสรรพจิตขึ้นมาจากการสร้างขึ้นมาโดย พระผู้สร้างสรรพจิต จากการแปรธาตุหลักทั้ง 3 ชนิด คือ ธาตุพลาตินัม ซึ่งมีคุณสมบัติทางไฟฟ้าเป็น ประจุไฟฟ้าลบ (อิเล็กตรอน) มีคุณสมบัติทางแม่เหล็ก เป็นอำนาจแม่เหล็กขั้วใต้ ธาตุยูเรเนียม ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นกลางทางไฟฟ้า(นิวตรอน) มีคุณสมบัติทางแม่เหล็ก เป็นแกนเหล็กสามารถเปลี่ยนสภาพเป็นขั้วเหนือก็ได้ เป็นขั้วใต้ก็ได้ ธาตุไฮโดรคาร์บอน ซึ่งมีคุณสมบัติทางไฟฟ้า เป็นประจุไฟฟ้าบวก (โปรตอน) มีคุณสมบัติทางแม่เหล็กเป็น อำนาจแม่เหล็กขั้วเหนือ การแปรคุณสมบัติความสมดุลกันของธาตุหลักทั้ง 3 ประการ เป็นธาตุกำเนิดพลังจิต ภายใต้ข้อจำกัดของทรัพยากรคือปริมาณธาตุหลักทั้ง 3 ประการ ซึ่งมีปริมาณเท่าๆ กัน กระบวนการแยกธาตุหลักทั้ง 3 ชนิดออกจากกัน จากการยึดเกาะกันลักษณะเป็นเซลล์ธาตุหลักทั้ง 3 ชนิด จักนำมาแสดงในภายหลัง <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากกระบวนการแยกธาตุหลักทั้ง 3 ชนิด ออกจากกันได้แล้ว กลับมารวมกันเป็นธาตุใหม่ ลักษณะเป็นธาตุเชิงเดี่ยว ธาตุเชิงคู่ ธาตุเชิงซ้อน ด้วยข้อจำกัดของธาตุหลักทั้ง 3 ประการ ซึ่งกอปรกันเป็นเซลล์ธาตุสมดุล ภายหลังจากแปรธาตุหลักทั้ง 3 ประการ เป็นธาตุชนิดใหม่ เรียกว่า (จต) เป็นธาตุลำดับที่ 4 เป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลง (จ) อนุภาคธาตุเชิงคู่ กอปรด้วย อนุภาคธาตุพลาตินั่ม ซึ่งมีคุณสมบัติทางไฟฟ้า เป็นประจุไฟฟ้าลบ มีคุณสมบัติทางแม่เหล็กเป็นอำนาจแม่เหล็กขั้วใต้ กับ อนุภาคธาตุไฮโดรคาร์บอน ซึ่งมีคุณสมบัติทางไฟฟ้า เป็นประจุไฟฟ้าบวก มีคุณสมบัติทางแม่เหล็กเป็นอำนาจแม่เหล็กขั้วเหนือ องค์ประกอบของอนุภาคธาตุเชิงคู่ คือ จิตของพระผู้สร้าง หรือ พุทธปฐม นั่นเอง เป็นธาตุลำดับที่ 4 <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากเกิดจิตของพระผู้สร้างขึ้น จึงสามารถสร้างธาตุลำดับที่ 4 นานัปการขึ้น จากการหันขั้วแม่เหล็กขั้วเหมือนกันเข้าหากัน อัดอนุภาคธาตุเชิงเดี่ยวใดๆ ให้มีขนาดแตกต่างกันไป กระทั่งหนาแน่นขึ้น กลายเป็นความมืดมิดในที่สุด ประการหนึ่ง กับ การแปรเปลี่ยนคุณสมบัติทางกายภาพ ของอนุภาคธาตุเชิงเดี่ยวซึ่งเป็นธาตุกำเนิดพลังจิต อยู่ภายใต้ข้อจำกัดของทรัพยากร คือ ปริมาณอนุภาคธาตุเชิงเดี่ยวซึ่งแตกต่างกัน ทั้งนี้เนื่องเพราะอนุภาคธาตุ พลาตินัม กับอนุภาคธาตุ ไฮโดรคาร์บอน ดึงดูดกันกลายเป็นอนุภาคธาตุเชิงคู่ไปก่อนแล้ว หมายถึง จิตพระผู้สร้างสรรพสิ่ง หรือ พุทธปฐม นั่นเอง การสร้างธาตุหลักกำเนิดพลังจิตล้วนแล้วเป็นธาตุลำดับที่ 4 เฉกเช่นกัน ต่อเมื่อถึงการนำธาตุหลักกำเนิดพลังจิตมารวมกัน เพื่อสร้างพื้นแผ่นฟ้า พื้นแผ่นดิน พื้นแผ่นน้ำ จึงถึงกาลกำเนิดสิ่งมีชีวิตขึ้นมาโดยลำดับ<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากกระบวนการสร้างพื้นแผ่นฟ้า พื้นแผ่นดิน พื้นแผ่นน้ำ เสร็จสิ้น พื้นแผ่นฟ้าได้กำเนิดพระอิศวรขึ้น ด้วยการก่อตัวขึ้นเป็นรูปร่าง เป็นพระผู้สร้าง เวไนยสัตว์ ซึ่งกอปรด้วย มวลหมู่ทวยเทพ (ทวส) บนพื้นแผ่นฟ้า มนุษย์ (มนส) วานร (วนรส) ยักษ์ (ยส) ปักษา (ปกส) บนพื้นแผ่นดิน และ นาค (นรคส) บนพื้นแผ่นน้ำ อุปนิสัยของธาตุกำเนิดพลังจิตทั้งหมดล้วนแตกต่างกัน ภายหลังจากปรากฏพระอิศวรขึ้น จึงสามารถแผ่รังสีออกจากพระวรกาย ธาตุหลักกำเนิดพลังจิตทั้งสิ้นจึงเรืองแสงขึ้น แผ่รังสีออกมาเป็นธาตุลำดับที่ 5 เรียกว่า ปรจิต (ปรจต) หมายถึงจิตสรรพสัตว์นั่นเอง<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    คุณสมบัติของจิตแต่ละชนิด<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ทวสวต<O:p></O:p>
    หมายถึง พระอิศวร เป็นผู้มีคุณธรรมมีความเที่ยงธรรม (ท) เป็นผู้กำหนดชะตากรรมของสัตว์ (ว) เป็นผู้ให้ชีวิต(ต) สรรพสัตว์ (ส) <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    อน<O:p></O:p>
    หมายถึง พระอินทร์ เป็นผู้มีความดี(น) สูงมาก (อ) เป็นผู้ช่วยฝ่ายบู้ลิ้ม<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    นรอ<O:p></O:p>
    หมายถึง พระนาราย เป็นผู้มีความดี(น) ต่ำกว่า (ร) พระอินทร์(อ) เป็นผู้ช่วยฝ่ายบุ๋น<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ทวส<O:p></O:p>
    หมายถึง เทพบนพื้นแผ่นฟ้า เป็นสัตว์(ส) ผู้กระทำแต่ (ว) สิ่งที่เป็นคุณธรรม (ท)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    มนส<O:p></O:p>
    หมายถึง มนุษย์บนพื้นแผ่นดิน เป็นสัตว์(ส) ที่ทำ (ม)ความดี (น)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    วนรส<O:p></O:p>
    หมายถึง วานรบนพื้นแผ่นฟ้า เป็นสัตว์(ส)ที่มีความดี(น)ต่ำกว่า(ร)มนุษย์ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ยส<O:p></O:p>
    หมายถึง ยักษ์ เป็นสัตว์(ส) ซึ่งชั่วร้าย (ย) <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ปกส<O:p></O:p>
    หมายถึง ปักษา เป็นสัตว์ (ส) ซึ่งสั่งสม (ป) กรรม (ก) เป็นผู้ซึ่งทำให้ยุคของพระอิศวรล่มสลายไป เนื่องจากความชั่วร้ายของพญาครุฑ กระทั่งบั่นเศียรพระอิศวร ทำให้ยุคกำเนิดสรรพสัตว์ล่มสลายไป <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    นรคส<O:p></O:p>
    หมายถึง นาค เป็นสัตว์ (ส) ซึ่งมีความดี (น) แสวงหา (ค) ความใฝ่ต่ำ หรือความเสื่อม (ร) <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    อัตชีวประวัติ<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    กำเนิดจิตพุทธปฐม<O:p></O:p>(อนตปท)
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากเข้าสู่ยุคที่สอง คือยุคของการสร้างจักรวาล พระผู้สร้างสรรพจิต สรรพสิ่ง หรือ ปฐมพุทธ (อนตปท) อนันต์พุทธ จึงลงมาเป็นผู้กำกับ สอนสั่งเหล่าพระผู้สร้างในยุคต่อมา ด้วยอักขระ ปรอ ภาษา ภายหลังจากยุคกำเนิดสรรพจิตสิ้นสุดลง สรรพจิตถูกนำมาคนรวมกันด้วยการสลาย พื้นแผ่นฟ้า พื้นแผ่นดิน พื้นแผ่นน้ำ รวมทั้ง ปรจต หมายถึง จิตสรรพสัตว์ใดๆเข้าด้วยกัน เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างคน (อิ)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    กำเนิดจิตพระแม่ธรณี (ท)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากยุคที่หนึ่งล่มสลายไปได้สองล้านล้านปี หรือ สองโกฏิ พระอิศวรจึงรำลึกความทรงจำได้ จึงแบ่งจิตตนเอง เป็นพระผู้สร้าง ในยุคถัดมา เรียกว่า พระแม่ธรณี (ท) เป็นผู้มีคุณธรรมดุจเดียวกันกับพระอิศวร<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    กำเนิดจิตพระศิวะกับพระอุมา<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากกำเนิดจิตพระแม่ธรณีขึ้นมาแล้ว หนึ่งล้านล้านปี หรือ หนึ่งโกฏิ จิตของพระอินทร์ (อน) กับจิตของพระแม่ธรณี (ท) จึงคิดสร้างจักรวาลขึ้นมา พระแม่ธรณีจึงเสนอให้นำจิตของพระนาราย (นรอ) มาเป็นผู้ช่วยในการสร้างจักรวาล จึงอุบัติพระศิวะขึ้น พร้อมพระผู้ช่วยในการสร้างมหาสากลจักรวาลคือ พระแม่อุมา เป็นจิตของพระแม่ธรณี เฉกเช่นกัน<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    จกรวล<O:p></O:p>

    หมายถึง จักรวาล เป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลง(จ) กรรม(ก) จากการกระทำ(ว) และความอยาก หรือกิเลส (ล) กำเนิดจักรวาล ถูกสร้างขึ้นโดย พระศิวะ เป็นจิตเดิมของ พระนาราย เรียกว่า (สิวนรอ) นั่นเอง เป็นผู้สร้าง มหาสากลจักรวาลขึ้น กอปรด้วย สากลจักรวาล ขนาดเล็ก กลางใหญ่ ทั้งสิ้น 10000 สากลจักรวาล ยึดโยงเรียงรายกันเป็นวงกลม หมุนตามกัน ภายหลังจากยุคที่หนึ่งล่มสลายไป สามล้านล้านปี หรือ สามโกฏิ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    กำเนิดจิตพระพรหม (นรอุ)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากกำเนิดจักรวาลได้เก้าพันล้านปี หรือ เก้าพันกัป จึงบังเกิดจิตของพระพรหมขึ้น เรียกว่า นรอุ เป็นจิตของพระนาราย (นรอ) เฉกเช่นกัน ทั้งนี้เนื่องเพราะพระนารายเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญด้านบุ๋น คือมีความเป็นเลิศด้านปัญญา ภายหลังจากเกิดจิตพระพรหมขึ้นจึงถึงกาลบังเกิดสรรพสัตว์ยุคที่สองขึ้น คือไดโนเสาร์<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    กำเนิดจิตนายนิรบาล (อนรม)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากกำเนิดจิตพระพรหมขึ้น เพื่อสร้างสรรพสัตว์ จึงกำเนิดจิตผู้บังคับใช้กฎแห่งกรรมขึ้น คือ นายนิรบาล เป็นจิตของพระอินทร์ (อน) ซึ่งแบ่งภาคจิตลงมา (อนรม) เป็นผู้นำความชั่ว ความโหดร้าย ทารุณของสัตว์ มาลงโทษ เพื่อสร้างความเป็นธรรมในหมู่สรรพจิต ภายหลังจากนั้น จึงถึงยุคกำเนิดสรรพสัตว์ขึ้น<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    กำเนิดไดโนเสาร์<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากพระผู้สร้างสรรพสัตว์ คือพระพรหม ได้รับมอบหมายหน้าที่จาก พระพุทธปฐม คือ พระผู้สร้าง สรรพจิต สรรพสิ่ง ด้วยการนำจิตใฝ่ดีลงมาเกิดเป็นไดโนเสาร์กินพืช กระทั่งเวลาผ่านพ้นไป เก้าร้อยเก้าสิบเก้าล้านปี หรือ เก้าร้อยเก้าสิบเก้ากัป ความโลภของเหล่าไดโนเสาร์กินพืชจึงพอกพูนขึ้น กัดกินพืชพันธ์ซึ่ง พระแม่ธรณี กับ พระอินทร์ ร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อเป็นอาหาร เจริญเติบโตไม่ทัน บังเกิดความอดอยากขึ้นในหมู่ไดโนเสาร์กินพืช ด้วยความสงสาร พระแม่ธรณี จึงยินยอมให้บรรดา จิตใฝ่ชั่วคือจิต นาค ยักษ์ ปักษา ลงมาเกิดเป็นเหล่าไดโนเสาร์กินเนื้อ นานา ชนิด กัดกินกายสังขารบรรดาเหล่าไดโนเสาร์กินพืชเหล่านั้น กระทั่งเวลาผ่านไปหนึ่งล้านปี บรรดาเหล่าไดโนเสาร์ทั้งจึงถูกกัดกินไปกระทั่งหมดสิ้น<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    การกำเนิดไดโนเสาร์ เป็นการนำจิตสรรพสัตว์เมื่อครั้งยุคของพระอิศวร มาคนรวมกันแล้วแบ่งเป็นหนึ่งหมื่นส่วนเท่าๆกัน ปรากฏเหล่าไดโนเสาร์ขึ้นโดยพร้อมเพรียงกัน ทุกสากลจักรวาล หมายถึง เฉพาะโลกมนุษย์เพียงเท่านั้น การล่มสลายของยุคไดโนเสาร์จึงล่มสลายลง พร้อมๆกัน ทั้งนี้การเกิดขึ้นของบรรดาเหล่าไดโนเสาร์ เป็นการเกิดแบบ โอปาติกะ คือเกิดแล้วโตทันที มิมีการสืบพันธ์ ถูกสร้างขึ้นมาโดยจิตพระพรหม<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เข้าสู่ยุคปัจจุบัน<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากยุคของไดโนเสาร์ล่มสลายลง จึงถึงกาลสร้าง สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กขึ้น พระพรหมจึงนำจิต บรรดาเหล่าไดโนเสาร์กินพืชมาแบ่งเป็น จิตมนุษย์ บรรจุจิตไว้บน อาภัสสรพรหม (อปสร ปรม) โดยทยอยบรรจุจิตสรรพสัตว์ลงไว้บน อาภัสสรพรหม (อปสร ปรม) ทีละจักรวาล โดยบรรจุจิตห่างกัน จักรวาลละ 100 ปี จำนวนทั้งสิ้น 10000 สากลจักรวาล รวมกันเรียกว่า โลกธาตุ หรือกาแลกซี กระทั่งเวลาผ่านพ้นไป หนึ่งล้านปี หรือ หนึ่งกัป จึงบรรจุจิตมนุษย์เสร็จ สิ้น ภายหลังจากบรรจุจิตคนแล้ว จึงส่งจิตเหล่านั้น ลงมาเกิดเป็นสรรพสัตว์ อายุขัยสั้นขนาดเล็ก กระทั่งเวลาผ่านพ้นไป ห้าแสนปี จึงถึงกาลอุบัติคนขึ้นมาบนโลกมนุษย์ นั่นหมายถึง โลกในสากลจักวาลที่หนึ่งนี้ เพิ่งจักอุบัติคนขึ้นมาบนโลกใบนี้เพียง ห้าแสนปีเพียงเท่านั้น หากมิปรากฏพระพุทธเจ้าขึ้นมาปฏิบัติพุทธกิจ บรรดาเหล่ามวลหมู่มนุษยชาติ ล้วนถูกจองจำในนรกภูมิแทบทั้งสิ้น ทั้งนี้เนื่องเพราะความชั่วของสัตว์เป็นสันดานซึ่งติดตัวมา จากการคนจิตสรรพสัตว์เพื่อให้ความเป็นธรรมกับจิตสรรพสัตว์ ซึ่งกำเนิดจากหินธาตุกำเนิดพลังจิตคนละชนิดกัน<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    อุบัติพระพุทธเจ้า<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ภายหลังจากบรรจุจิตคนไว้บน อปสร ปรม เสร็จสิ้นทุกสากลจักรวาล ทั้งหนึ่งหมื่นสากลจักรวาลแล้ว จึงถึงกาลบรรจุจิตพระพุทธเจ้าไว้บนสวรรค์ชั้น อรหต กมวจร ปรม ทวต เพื่อลงมาเกิดเป็นสัตว์บนโลกมนุษย์ ก่อนจักถึงกาลกำเนิดพระพุทธเจ้า ทั้ง ทีปังกรพุทธเจ้า (ทิปกร) และ ตัณหังกร พุทธเจ้า (ตนหกร ) ทั้งสองพระองค์ คือ จิตของพระอินทร์ (ทิปกร) และ จิตพระแม่ธรณี (ตนหกร) ประกอบพุทธกิจบนโลกมนุษย์ เพื่อลดกรรมของมนุษย์ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    พุทธประวัติ<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ทีปังกร พุทธเจ้า (ทิปกร)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เกิดเป็นเต่า 10 ชาติ ถึงพร้อมด้วยความเพียร ทั้งนี้เพราะเต่าเป็นสัตว์ซึ่งเดินช้า อุบัติเป็นพระพุทธเจ้า พระองค์ที่ 1<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เกิดเป็นหมี 100 ชาติ ถึงพร้อมด้วยการละกิเลส คือความอยากซึ่งเบียดเบียนผู้อื่น คือ ยื้อแย่งน้ำผึ้งจากรังผึ้ง อุบัติเป็นพระพุทธเจ้า พระองค์ที่ 2<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เกิดเป็นเสือ 1000 ชาติ ถึงพร้อมด้วยการละตัณหา คือ ความปรารถนาที่จักดื่มกิน (สิวห) ทั้งนี้เนื่องเพราะเสือเป็นสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร การเอาชนะความหิวได้ จึงเป็นการเอาชนะตัณหา ซึ่งทำได้ยาก อุบัติเป็นพระพุทธเจ้า พระองค์ที่ 3<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    พระพุทธเจ้า เพื่อสอนคนให้แสวงหาหนทาง (ค) ทำความดี (น)ขั้นสูงสุด (อ) หมายถึงการออกบวชครองเพศบรรพชิต และแสวงหาหนทาง (ค) ละเว้น (ร) ความโหดร้าย ความรุนแรง (ม) กระทั่งสูญสิ้น (ปร) ความโหดร้าย ความรุณแรง (ม) อนาคามี พุทธ (อนคมร ปรม) อุบัติเป็นพระพุทธเจ้า พระองค์ที่ 4<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    พระศรีอารยะเมตไตรย พุทธเจ้า เพื่อสอนคนให้ละเว้นจากความชั่ว ปัญญาธิกะ พุทธ (ปรยทกร สิอรย) อุบัติเป็นพระพุทธเจ้า พระองค์ที่ 5<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    อดีตชาติของ พระศรีอารยะเมตไตรย พุทธเจ้า<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    พระพุทธเจ้า พระองค์ที่ 1 ถึง พระองค์ที่ 4 ล้วนเป็นอดีตชาติของพระศรีอารยะเมตไตรย พุทธเจ้าทั้งสิ้น เป็นจิตของ ทีปังกร พุทธเจ้า พระองค์เดียวกัน<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    พ่อขุนรามคำแหงมหาราช แห่งกรุงสุโขทัย บำเพ็ญบารมีสร้างชาติ เพื่อกลับมาสร้างชาติกำเนิดใหม่ นัยของการกลับมาสร้างชาติไทย เป็นการบ่งชี้ให้รู้ว่า ผู้ซึ่งบรรลุอรหัตผล หรือ ปรินิพพาน ไปแล้ว ยังสามารถกลับคืนสู่สังสารวัฏได้อีก ไม่สิ้นสุด<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    สมเด็จพระนเรศวร มหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยา บำเพ็ญบารมี กอบกู้อิสรภาพ นัยของการต่อสู้เพื่อปกป้องอธิปไตย เป็นสิทธิอันชอบธรรมของคน ที่สามารถกระทำได้ โดยมิเป็นการผิด สิร ข้อที่ 1 ปรน ติ ปรต วรมนสิ ขปทสม ทรยม แต่ประการใด<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หรือ พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ นัยของการกลับมาสร้างความเป็นปึกแผ่นโดยปราศจากการเสียเลือดเสียเนื้อ เป็นสิ่งซึ่งผู้นำสามารถจักกระทำได้ การสร้างราชอาณาจักรไทย ในกาลต่อมาล้วนเกิดจากการรวบรวมโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทั้งสิ้น<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เราคือ นายอุทัย สามจ้อย รับราชการเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจ บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด ตำแหน่ง นายช่าง ระดับ 7 เกิดวันที่ 1 ตุลาคม 2511 ตรงกับวันอังคาร ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 11 เวลาตกฟาก 11.00 น เป็นชาติสุดท้ายของพระศรีอารยะเมตไตรย พุทธเจ้า ตรัสรู้ตน รู้ว่าเราคือ พระศรีอารยะเมตไตรย พุทธเจ้า วันที่ 12 ธันวาคม 2546 เวลา 16.00 น. หากถึงเวลาอันเหมาะสม ย่อมได้รับความจริงซึ่งสามารถจักพิสูจน์ได้คือ การพิสูจน์อดีตชาติ ทั้ง 3 ชาติของเรา ดังนี้<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ใต้แผ่นพื้นบรรทม กรุงสุโขทัยธานี ได้จารึกอักขระขอมโบราณ ความว่า กูชื่อรามคำแหง กูกลับมาอุปัติเมื่อใด เมื่อนั้นกูเป็นพระศรีอารยะเมตไตรย<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    กระดูกของสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ยังคงฝังอยู่ใต้พื้นพสุธา อยู่ใน อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    อัฐิธาตุของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นอัฐิธาตุ ของพระพุทธเจ้า ซึ่งสามารถจักพิสูจน์ได้ทั้งสิ้น<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>

    ตัณหังกร พุทธเจ้า (ตนหกร)

    อุบัติชาติแรกเป็น พระนางโสธารา รานีของ พระพุทธเจ้า

    อุบัติชาติที่สอง เป็นองค์หญิงสาม ราชวงศ์เหม่ยซัน เป็น พระโพธิสัตว์ อวโลกิเตศวร กวนอิม สอนสตรีให้สั่งสม (ป)คุณธรรม (ท) ทำความชั่ว (ย) ให้ลดลง (ร) ปทิยร หรือ โพธิญาณ เทียบได้กับ สกรทคมร หรือ สกิทาคามี


    หากมิมั่นใจว่าจักปรามาสให้ถนอมตนอย่าได้ล่วงเกิน หากมั่นใจว่าสิ่งที่เรากล่าวมาเป็นความผิดมั่นใจว่าสามารถรับผลของกรรมได้ จักต่อต้านประการใด เรามิอาจห้ามได้หากมิอยากกระทำความผิดฐานฝ่าฝืนกฎแห่งกรรม โปรดถนอมตัว อีกมินาน จักมีการทำผลของกรรมทันตาเห็น เพื่อปรามคนผู้ชั่วร้าย นั่นคือ ผู้กระทำความผิด ฐาน ฆ่าคน (ติ ปรต) รวมทั้ง การกระทำอันปราศจากคุณความดีของคน (ปรน ติ) นั่นคือ ล่วงละเมิดทางเพศสตรีผู้มิใช่ภรรยาของตน และ การประทุษร้าย บิดามารดา รวมทั้ง ประทุษร้ายพระพุทธเจ้า เหตุผล เนื่องเพราะผู้กระทำการผิด สิร ข้อ ปรน ติ ปรต เป็นกรรมหนัก ต้องถูกจองจำในนรกภูมิ สถานเดียว มิอาจหักล้างด้วยการทำความดี โดยจักมีการอุบัติหมาตาเดียว ดุจเดียวกับ สัตว์นรกทุกประการ เราเพียงแต่เตือนไว้ จักเชื่อหรือมิเชื่อก็ได้
     
  2. siarayamarata

    siarayamarata เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    389
    ค่าพลัง:
    +511

แชร์หน้านี้

Loading...