สร้างพลังงานไว้ใช้ยามภัยพิบัติมา(เพื่อพ่อแม่พี่น้องลูกหลานท่าน)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย นักรบธรรม, 22 มิถุนายน 2011.

  1. นักรบธรรม

    นักรบธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    970
    ค่าพลัง:
    +1,178
    เรามาร่วมเรียนรู้และช่วยกันพัฒนา น้ำให้เกิดประโยชน์ เพราะน้ำไม่มีพิษต่อโลก
    1.สร้างเป็นพลังงานแสงสว่างต่าง
    2.สร้างเป็นพลังงานความร้อนหุงต้ม
    3.สร้างเป็นพลังงานเชื้อเพลิงยานยนต์
    และส่วนเพิ่มเติม
    เรียนรู้เรื่องยาสมุนไพร ในกรณีที่ยารักษาโรคไม่มีแต่คุณต้องอยู่ในที่ลำบาก
    สร้างและพัฒนายาหลักๆ ใช้รักษาคน+พลังจิต
    1.ยาประเภทรักษาไข้ต่างๆ
    2.ยารักษาปวดท้องต่างๆ
    3.ยารักษาแผลต่างๆ
    ฯลฯ
    หากเราทำ 2 อย่างนี้ได้เราก็อยู่และพัฒนาตัวเราสรรพสัตว์ สรรพวิญญาณอื่นๆให้ดีขึ้นเพื่อเป็นสังคมใหม่ที่มี ศีลธรรมนำหน้าได้



    การทำเซล hho ควรเตรียม เพลส เซลที่ใช้ ผมแนะนำ เป็นสแตนเลสครับ เพราะเมื่อแช่ในน้ำ แล้ว มันทำการกัดกร่อนสูงครับ เท่าที่ผมหาได้ดีที่สุดในเมืองไทยคือ เบอร์ 316L ครับ ความหนาไม่สำคัญมากครับ ตัดมาแล้วแต่ขนาดชอบครับ

    [​IMG]
    นี่ครับอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบ HHO-Generator มีน็อตที่เป็นสแตนเลส แผ่นเพลตสแตนเลส น็อตทองเหลือง สายยางซิลิโคน อุปกรณ์ที่ใช้ในงานเลี้ยงปลา ขั้วทองแดงทางเดินไฟฟ้า กล่องปลาสติกที่ใช้สำหรับงานโฆษณาที่สั่งทำมา เพื่องานนี้โดยเฉพาะ ทั้งหมดนี้ทำทั้งหมด 4 เซลล์(แผ่นสแตนเลสหมดพอดีครับ) มีวาล์วกันกลับด้วยตัวสีน้ำเงินเข้ม 2 ตัว







    [​IMG]<TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%"><TBODY><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    เทคโนโลยีการผลิตไฮโดรเจน






    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    วิธีการผลิตไฮโดรเจนมีหลายวิธีขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่ใช้ ปริมาณ และคุณภาพของไฮโดรเจน ความพยายามในการคิดค้นและพัฒนาวิธีการผลิตได้ให้ความสำคัญถึง เรื่องความคุ้มค่าในการลงทุนเป็นหลัก โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม วิธีการผลิตสามารถแบ่งได้หลัก ๆ 3 วิธี ดังนี้





    </TD></TR><TR><TD>1. Thermo-chemical Technologies
    2. Electrolytic Technologies



    3. Photolytic Technologies


    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    1. Thermo-chemical Technologies








    </TD></TR><TR><TD>ใช้ความร้อนและปฏิกิริยาเคมีในการแปลงไฮโดรคาร์บอน จากวัตถุดิบจำพวกชีวมวล (Biomass) เป็นไฮโดรเจน ซึ่งมีหลายวิธีได้แก่ การเผาไหม้ชีวมวลวิธีไพโรไรซีส ได้ผลผลิตเป็นของเหลวที่มีออกซิเจนเป็นส่วนประกอบและแปลงเป็นไฮโดรเจน หรือใช้วิธีเผาไหม้แบบ Gasification หรือใช้วิธีการออกซิเดชันไฮโดรเจนออกจากก๊าซมีเธน เรียกว่า วิธี Steam Methane Reforming จากก๊าซธรรมชาติ </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    <INPUT hspace=5 vspace=5 align=absMiddle src="http://www.thailandindustry.com/UserFiles/pic31.gif" type=image>




    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    2. Electrolytic Technologies









    </TD></TR><TR><TD>

    เป็นการผลิตไฮโดรเจนโดยการใช้ไฟฟ้า (หากใช้วิธีนี้ในการผลิตไฮโดรเจนควรเน้นการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอา

    </PERSONNAME>ทิตย์ และพลังงานลม) เพื่อแยกไฮโดรเจนและออกซิเจนออกจากน้ำ




    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    <INPUT hspace=5 vspace=5 align=absMiddle src="http://www.thailandindustry.com/UserFiles/pic32.gif" width=251 height=253 type=image>







    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    3. Photolytic Technologies









    </TD></TR><TR><TD>

    เป็นวิธีการผลิตไฮโดรเจนโดยใช้แสงอาทิตย์แยกไฮโดรเจนออกจากน้ำ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาใช้วิธีการ Photobiological ซึ่งใช้แสงอา

    </PERSONNAME>ทิตย์ หรือแสงประดิษฐ์ในการให้เอนไซม์สำหรับสาหร่ายสีเขียวเพื่อผลิตไฮโดรเจนจากน้ำ หรือวิธี Photoelectrolysis ใช้แสงอา

    </PERSONNAME>ทิตย์ ส่องบนเซลล์ Photoelectrochemical (PEC) ซึ่งทำจาก Amorphous และ Silicon ซึ่งเซลล์นี้จะจุ่มอยู่ในน้ำ จะทำให้เกิดฟองไฮโดรเจน









    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    เทคโนโลยีการส่งจ่ายไฮโดรเจน






    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    แบ่งเป็น 2 วิธีขึ้นอยู่กับปริมาณการใช้ ได้แก่ 1. การสร้างท่อส่งซึ่งเหมาะกับกรณีที่มีการใช้มากในอนาคต และ 2. ใช้รถบรรทุกขนส่งไฮโดรเจนในสถานะของเหลวกรณีที่ใช้ไม่มากและตามพื้นที่ห่างไกล






    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    <INPUT hspace=5 vspace=5 align=absMiddle src="http://www.thailandindustry.com/UserFiles/pic33.gif" width=281 height=342 type=image>







    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    เทคโนโลยีการเก็บไฮโดรเจน






    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>1. Compressed Gas Tank เป็นถังที่ได้รับการออกแบบให้ทนความดันสูง 500 Psi (35 Mpa) – 10,000 Psi (70 Mpa) ผ่านมาตรฐานการทดสอบ 2.35 เท่าของความดันออกแบบ เพื่อความปลอดภัยตามมาตรฐานยุโรป และมียังมีการพัฒนาออกแบบถังอย่างต่อเนื่องให้มีขนาดเบาและความสูญเสียต่ำ



    </TD></TR><TR><TD>2. Cryogenic Liquid เป็นถังที่เก็บไฮโดรเจนในสถานะของเหลว มีฉนวนป้องกันการรั่วไหล โดยมากออกแบบเพื่อเป็นถังเก็บใช้ในยานพาหนะ




    </TD></TR><TR><TD>3. การเก็บไฮโดรเจนในวัสดุ มี 3 วิธี 1. Absorption วิธีนี้ไฮโดรเจนถูกดูดซับไว้ในวัสดุ คริสตัล เมทัลไฮไดร (Crystalline Metal Hydrides) 2. Adsorption ใช้วัสดุมีรูพรุน Porous Material เพื่อให้พื้นที่ผิวมากพอสำหรับ ไฮโดรเจนเจาะและง่ายต่อการแยกไฮโดรเจนออก และ 3. Chemical Reaction ใช้ปฏิกิริยาเคมีในการผลิต เก็บและคายไฮโดรเจน จากการปรับเปลี่ยนอุณหภูมิและความดัน เช่น




    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    2 LiH + 2H<SUB>2</SUB>O => 2LiOH + 2 H<SUB>2</SUB> หรือ NaBH<SUB>4</SUB> + 2H<SUB>2</SUB>O + catalyst => NaBO<SUB>2</SUB> + 4H<SUB>2</SUB>









    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    จากข้างต้นจะเห็นว่ามีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การส่งจ่าย และการเก็บ อย่างต่อเนื่อง คำถามก็คือเมื่อไรจะได้ใช้ไฮโดรเจนในเชิงธุรกิจ จากความก้าวหน้าของการพัฒนาเทคโนโลยีไฮโดรเจนทำให้มีการคาดการณ์แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว





    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    ระยะสั้น (ภายในปี ค.ศ. 2010) ไฮโดรเจนใช้ในอุตสาหกรรมเคมี จากเทคโนโลยีการผลิตไฮโดรเจน Thermo-Chemical Technology จาก Methane Reformer ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ไฮโดรเจนสะอาดจากเทคโนโลยีผลิตไฮโดรเจน Electrolyzer รถยนต์ต้นแบบใช้พลังงานไฮโดรเจนมีออกมาให้เห็น ส่วนระบบส่งจ่าย ก็คงยังเป็นรถบรรทุกบรรจุถังขนส่ง





    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>
    ระยะกลาง (ภายในปี 2020) คาดว่าไฮโดรเจนจะได้รับความนิยมแพร่หลายมากขึ้น ทำให้ต้นทุนการผลิตไฮโดรเจน เซลล์เชื้อเพลิงราคาถูกลง รถยนต์เซลล์เชื้อเพลิง และการผลิตไฟฟ้าโดยใช้ไฮโดรเจนขนาดเล็กมีใช้กันอย่างแพร่หลาย ส่วนด้านการผลิตจะใช้ชีวมวล มาเผาไหม้โดยวิธีไพโรไรซีส หรือ Gasification เป็นหลักเพราะได้ปริมาณมาก ส่วนระบบส่งจ่าย ก็เริ่มมีการสร้างระบบท่อส่งไปยังบางพื้นที่ ๆ มีการใช้อย่างหนาแน่น ส่วนการเก็บจะได้ถังที่มีความแข็งแรงต่อน้ำหนักดีขึ้น




    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR><TR><TD>

    ระยะยาว (หลังจากปี 2025) พลังงานไฮโดรเจนจะไปทุกหนทุกแห่ง มีการสร้าง

    </PLACE>
    </PLACENAME>Power
    </PLACETYPE>Park ดังรูป เป็น Hydrogen Economy มีสถานีเติมไฮโดรเจนอยู่ทั่ว ๆ ไป มีการใช้พลังงานไฮโดรเจนสำหรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ระบบส่งจ่ายก็จะมีท่อส่งไปอย่างแพร่หลาย ส่วนพื้นที่ห่างไกลที่มีความต้องการน้อยก็ใช้รถบรรทุก หรือรถไฟ ส่วนระบบเก็บ จะมีถังน้ำหนักเบา ราคาถูก ขนาดเล็ก













    </TD></TR><TR><TD>.</TD></TR></TBODY></TABLE>​

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 มิถุนายน 2011
  2. นักรบธรรม

    นักรบธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    970
    ค่าพลัง:
    +1,178
    ส่วนใหญ่จะเตรียมตัวเฉพาะหน้า ไม่ค่อยเตรียมตัวระยะยาวที่อยู่ได้ 3 เดือน หรือ 3 ปีเลย
    หากเกิดใหญ่จริงของที่จะกินก็ไม่มี ยารักษาโรคก็หาไม่ได้ การสื่อสารและพลังงานก็ไม่มี
    โจร และการแย่งชิงจะเกิดขึ้น
    จะอยู่อย่างไร
    -บ้านจะอยู่บนดินหรือใต้ดิน
    - พืชที่จะปลูกมีเมล็ดพันธุ์แล้วเหรอ
    - พลังงานความร้อนในการหุงหาอาหาร(กรณีไม่ขีดไฟไม่มี)
    ฯลฯ
     
  3. นักรบธรรม

    นักรบธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    970
    ค่าพลัง:
    +1,178
  4. นักรบธรรม

    นักรบธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    970
    ค่าพลัง:
    +1,178
    มีท่านใดได้สร้างสำเร็จไว้ใช้กันบ้างนำมาลงให้ดูด้วยนะครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...