สมาธิกับทางสายกลาง

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย สันโดษ, 8 พฤษภาคม 2009.

  1. สันโดษ

    สันโดษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    9,940
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +16,870
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>




    ทางสายกลาง หรือ มัชฌิมมรรค เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาที่พุทธศาสนิกชนทุกคนต้องเคยได้ยิน รู้จัก และเข้าใจ ไปตามสภาพของความใกล้ชิด ความสนใจที่ตนมีต่อพระพุทธศาสนา "มัชฌิมมรรค" หรือ "ทางสายกลาง" เป็นสิ่งที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าถือว่าสำคัญที่สุด เพราะเป็นหนทางแห่งการเข้าถึงธรรม การตรัสรู้ธรรม เป็นหนทางที่เชื่อมต่อมนุษย์ สวรรค์ และพระนิพพานเข้าไว้ด้วยกันด้วยวิถีของใจ หนทางสายกลางนี้ ในสมัยต้นๆ มักถูกเรียกว่า "เอกายนมรรค" คือ หนทางสายเอก หรือหนทางสายเดียว แปลไทยเป็นไทยให้เข้าใจมากขึ้น คือ เป็นวิธีการเดียวเท่านั้นในอันที่จะนำพาผู้คนไปสู่สวรรค์และนิพพานได้ ด้วยการปฏิบัติสมาธิฝึกใจ เดินใจเข้าไปในหนทางสายกลาง เริ่มต้น หรือ ตั้งต้นที่จุดศูนย์กลางกายของตน ซึ่งหมายความว่ามนุษย์ทุกคนสามารถเชื่อมต่อตนเองกับสวรรค์และนิพพานได้ด้วยการวางใจ หยุดใจไว้ที่จุดศูนย์กลางกายของตน เพราะ ณ ศูนย์กลางกายของตนนั่นแหละ คือปากประตูที่พร้อมเปิดเข้าสู่หนทางสายกลาง




    หนทางสายกลางเริ่มต้นที่ศูนย์กลางกาย แต่การดำเนินใจ หรือพาใจที่มีปกติวิ่งว่ายไม่หยุดนิ่ง ชอบอยู่แต่ภายนอก ไม่ชอบอยู่ภายใน คือ ธรรมชาติของใจมักเคลื่อนไป วิ่งไปเลื่อนลอยไปกับสิ่งต่างๆ กับเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัว ใจจึงไม่อยู่กับตัว ชอบเล่นหัวไปเรื่อยตามเรื่องราวต่างๆ ที่ผ่านเข้ามา

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ขอบคุณบทความจากธรรมะกัลยาดอทคอม


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...