ว่าด้วยเรื่องการปฏิบัติ "เตโชกสิณ" จนถึงจตุตถฌาณ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Jeerachai_BK, 30 สิงหาคม 2009.

  1. Jeerachai_BK

    Jeerachai_BK เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    318
    ค่าพลัง:
    +821
    [FONT=&quot]สำหรับผู้ที่คิดจะเจริญเตโชกสิณ ท่านอาจจะฝึกตามวิธีของหลวงพ่อเกษม เขมโก ดังนี้ครับ
    [/FONT][FONT=&quot]๑. [FONT=&quot]ตั้งนะโม ๓[/FONT] [FONT=&quot]จบ[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot]๒.[FONT=&quot] บูชาไตรสรณคมณ์[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot]๓.[FONT=&quot] นมัสการพระ (อะระหัง[/FONT], [FONT=&quot]สวากขาโต[/FONT], [FONT=&quot]สุปะฎิปันโน)[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot]๔.[FONT=&quot] นะโม ๓[/FONT] [FONT=&quot]จบ แล้วว่า "อิมัง กสิณัง อธิฎฐามิ" ๓[/FONT] [FONT=&quot]หน[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot]๕.[FONT=&quot] ภาวนา "เตโช" ไปเรื่อยๆ[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot]๖.[FONT=&quot] เวลาเลิกปฏิบัติ ปลงว่า "เตโช กสิณัง ปติฎฐิปามิ" ๓[/FONT] [FONT=&quot]หน[/FONT]
    [/FONT] <o></o>
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJames%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:SimSun; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-alt:宋体; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"\@SimSun"; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:SimSun; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman";} </style> <![endif]--> หรือท่านผู้ปฏิบัติอาจจะฝึกตามคำแนะนำข้างล่างก็ได้ครับ

    โบราณาจารณ์กล่าวว่าอารมณ์ของฌานเป็นไปตามขั้นตอนของอานาปานสติ ผู้ปฏิบัติควรทำให้การรับรู้ของฌานใกล้เคียงกับการรับรู้ลมหายใจเข้า-ออก กล่าวคือ
    - เมื่อหายใจเข้า บริกรรมคำภาวนาสำหรับกองกสิณที่ต้องการ เช่น “เตโช”
    - เมื่อหายใจออก บริกรรมคำภาวนา “กสิณัง”

    [FONT=&quot]การกำหนดนิมิตของเตโชกสิณในเบื้องต้น<o></o>
    [/FONT] [FONT=&quot]โบราณาจารณ์แนะให้ดูเปลวไฟซึ่งถูกจุดจากตะเกียงหรือเทียนไข ท่านแนะให้ดูส่วนกลางของเปลวไฟนั้น หากเป็นกองไฟ ควรมีกระดาษซึ่งมีช่องวงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๓ นิ้ว โดยวางกระดาษระหว่างเปลวไฟและดวงตา เพื่อง่ายแก่การจำสีของเปลวไฟ หากเดินธุดงค์ ผู้ปฏิบัติอาจพิจารณาดวงอาทิตย์ยามเช้าหรือพลบค่ำซึ่งมีสีแดงเพลิง ก็ได้[/FONT]

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJames%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:SimSun; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-alt:宋体; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"\@SimSun"; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:SimSun; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman";} </style> <![endif]-->ในการปฏิบัติ ให้เปิดตาและมองเปลวไฟ โดยจดจำส่วนกลาง (หรือส่วนที่เข้มข้น) และสีของเปลวไฟ เมื่อคิดว่าสามารถจำได้ ให้ปิดตาและพิจารณาภาพที่ถูกเห็น ในระยะต้น ภาพอาจจะไม่มั่นคงหรือเลือนหายไป ท่านสามารถเปิดตาเพื่อมองเปลวไฟอีกครั้ง ท่านสามารถกระทำเช่นนี้ซ้ำๆ จนกว่าท่านสามารถจดจำภาพได้อย่างแน่ชัด

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJames%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:SimSun; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-alt:宋体; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"\@SimSun"; panose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1; mso-font-charset:134; mso-generic-font-family:auto; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 135135232 16 0 262145 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:SimSun; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman";} </style> <![endif]--> บริกรรมนิมิตบริกรรมแปลว่าการบำเพ็ญ การท่องบ่น หรือการกำหนดใจ นิมิตแปลว่าเครื่องหมาย บริกรรมนิมิตจึงแปลรวมความว่าเครื่องหมายที่ถูกกำหนดหรือเครื่องหมายที่ถูกเพ่ง ในที่นี้ ได้แก่ กัมมัฏฐาน ๔๐ มีกสิณ เป็นต้น นั่นเอง ในตอนแรก นิมิตของเตโชกสิณจะกลับไป/มา กล่าวคือปรากฏขึ้นแล้วหายไป จากนั้นปรากฏขึ้นอีกครั้ง สิ่งนี้เป็นขณิกสมาธิในอารมณ์ของฌานของอานาปานสติ
    <o>
    </o>
    อุคคหนิมิต (หมายถึงขั้นอุกฤตหรือมั่นคง) บางทีแปลว่านิมิตติดตาหรือนิมิตติดใจ เมื่อเจริญเตโชกสิณจนภาพกสิณนั้นติดตา ไม่ว่าจะลืมตาอยู่หรือแม้จะหลับตา ก็เห็นภาพกสิณนั้นอย่างแจ่มชัดทุกกระเบียดนิ้ว แม้กระทั่งหากมีอะไรติดอยู่หรือมีรอยขีดอยู่ที่ภาพกสิณนั้นสักนิดเดียว ก็เห็นได้แจ่มชัด เสมือนหนึ่งว่าลืมตามองเห็นอยู่ นิมิตของเตโชกสิณจะมั่นคงระหว่างทรงอารมณ์ สิ่งนี้เป็นอุปจารสมาธิในอารมณ์ของฌานของอานาปานสติ
    <o>
    </o>
    ปฏิภาคนิมิต มีความหมายว่านิมิตหรือภาพกสิณนั้นติดตาหรือติดใจ แต่ทว่าสีแห่งกสิณตลอดจนริ้วรอยหรือตำหนิอย่างใดๆ ที่ภาพกสิณนั้นไม่ปรากฏ ปรากฏเพียงภาพกสิณที่ใส สะอาด บริสุทธิ์ ดุจดวงแก้วมณี ตลอดจนจะขยายนิมิตนั้นให้ใหญ่ขึ้นหรือย่อให้เล็กลง ได้ตามความปรารถนา<o></o>

    (จากการศึกษา ปฏิภาคนิมิตนี้มีระดับของมัน กล่าวคือในตอนต้น ปฏิภาคนิมิตของเตโชกสิณจะมีรูปร่างคล้ายกับผ้าแดงผืนหนา หรือพัดใบตาลที่ถูกทำด้วยทอง หรือเสาทองคำที่ตั้งอยู่ในอากาศ (ทั้งนี้ขึ้นกับสีแห่งกสิณที่เราจับ ตัวอย่างเช่น หากเราเห็นไฟเป็นสีแดง ปฏิภาคนิมิตจะเป็นผ้าแดงผืนหนา) ในตอนกลาง สีแห่งกสิณจะเลือนไปเป็นสีขาว (สิ่งนี้ไม่ใช่โอทาตกสิณ) ในตอนปลาย ภาพกสิณจะใส ความใสของภาพกสิณขึ้นอยู่กับลำดับของฌาน อีกนัยหนึ่งคือระดับของจิต)<o>

    </o>
    นิมิตของกสิณจะเปลี่ยนแปลงตามลำดับของฌาน ดังนี้<o></o>
    ฌานที่ ๑<o></o>
    ฌานที่ ๑ แบบหยาบ จากการเคลื่อนไหวไปมาของเปลวไฟ ผู้ปฏิบัติจะเห็นนิมิตเป็นไฟหนาทึบสีขาวที่มีรูปร่างเป็นวงกลม ขนาดของวงกลมจะเท่ากับขนาดของรูที่ถูกเจาะ
    <o></o>
    ฌานที่ ๑ แบบกลาง ภาพกสิณจะเป็นวงกลมสีขาวซึ่งมีผิวด้านนอกมันวาวและโปร่งแสงเล็กน้อย
    <o></o>
    ฌานที่ ๑ แบบละเอียด ภาพกสิณจะเป็นวงกลมโปร่งแสงคล้ายแก้วทึบ
    <o></o>
    ฌานที่ ๒<o></o>
    ฌานที่ ๒ แบบหยาบ ภาพกสิณจะเหมือนแก้วทึบ เมื่อเปรียบเทียบกับการมองด้วยสายตา ภาพจะมีความใส ๒ ส่วน ใน ๔ ส่วน และมีผิวภายนอกมันวาวเล็กน้อย
    <o></o>
    ฌานที่ ๒ แบบกลาง ภาพกสิณในฌานนี้จะมีผิวภายนอกมันวาวขึ้นกว่าภาพกสิณในฌานที่ ๒ แบบหยาบ
    <o>
    </o>
    ฌานที่ ๒ แบบละเอียด ภาพกสิณจะมีผิวภายนอกมันวาวที่สุด
    <o>
    </o>
    ฌานที่ ๓<o></o>
    ฌานที่ ๓ แบบหยาบ ภาพกสิณจะเหมือนแก้วโปร่งใส เมื่อเปรียบเทียบกับการมองด้วยสายตา ภาพจะมีความใส ๓ ส่วน ใน ๔ ส่วน ภายในนิมิตของกสิณ จะมีความเป็นประกายเล็กน้อย (กล่าวคือ ๑ ส่วน ใน ๓ ส่วน) ผิวด้านนอกของนิมิตเป็นมันวาวเล็กน้อย

    ฌานที่ ๓ แบบกลาง ภาพของกสิณจะมีความเป็นประกายปานกลาง (กล่าวคือ ๒ ส่วน ใน ๓ ส่วน) ผิวด้านนอกของภาพเป็นมันวาวขึ้น
    <o>
    </o>
    ฌานที่ ๓ แบบละเอียด ภาพของกสิณจะมีความเป็นประกายที่สุด ผิวด้านนอกของภาพเป็นมันวาวที่สุด
    <o></o>
    ฌานที่ ๔<o></o>
    ฌานที่ ๔ แบบหยาบ ภาพกสิณจะมีความใสที่สุด เทียบกับการมองด้วยสายตา สามารถมองผ่านโดยมีความใส ๔ ส่วน ใน ๔ ส่วน ภายในองค์กสิณไฟ จะมีความเป็นประกายพรึกทั้งองค์กสิณ มีการส่องสว่างจากภายในออกมาภายนอก ๑ ใน ๓ ส่วน ผิวนอกเงาวาวเล็กน้อย

    ฌานที่ ๔ แบบกลาง ภาพกสิณไฟจะเป็นแก้วโปร่งใสมาก เทียบกับการมองด้วยสายตา สามารถมองผ่านโดยมีความใส ๔ ส่วน ใน ๔ ส่วน ภายในองค์กสิณไฟ จะมีความเป็นประกายพรึกทั้งองค์กสิณ มีการส่องสว่างจากภายในออกมาภายนอก ๒ ใน ๓ ส่วน ผิวนอกเงาวาวมากขึ้น<o></o>
    <o>
    </o>
    ฌานที่ ๔ แบบกลาง ภาพกสิณไฟจะเป็นแก้วโปร่งใสมาก เทียบกับการมองด้วยสายตา สามารถมองผ่านโดยมีความใส ๔ ส่วน ใน ๔ ส่วน ภายในองค์กสิณไฟ จะมีความเป็นประกายพรึกทั้งองค์กสิณ มีการส่องสว่างจากภายในออกมาภายนอก ๓ ใน ๓ ส่วน ผิวนอกเงาวาวมากประดุจโหลแก้วผิวบางทรงกลม ใส่เพชรที่เจียรนัยเม็ดเล็กเท่าเม็ดทรายที่สามารถเรืองแสงสว่างใส ใส่ไว้จนเต็มองค์กสิณนั้นเอง<o></o>
    <o>
    </o>
    เมื่อท่านสามารถทรงอารมณ์ฌานในอานาปานสติ+กสิณ จนมีความคล่องตัวตามลำดับฌานหรือลำดับกสิณ ควรจะเข้าฌานสลับกสิณ จากนั้นนำผลของฌานในอานาปานสติ+กสิณเป็นกำลังในวิปัสสนาญาณจนเกิดปัญญาว่ากสิณถึงจะเป็นสิ่งดีในฝ่ายกุศล แต่ก็หาความเที่ยงแท้แน่นอนไม่ได้ มีความเกิดเป็นเบื้องต้น เปลี่ยนแปลงในท่ามกลาง ในที่สุดก็เสื่อมสลายเป็นธรรมดา<o></o>

    กายสังขารของเราก็เช่นกัน หาความเที่ยงแท้แน่นอนไม่ได้ ดังเช่น ความเปลี่ยนแปลงของกสิณ ความทุกข์ทั้งหลายที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เราเกิดทุกข์ ได้แก่
    ๑. รูปราคา เห็นรูป แล้วตั้งอุปทานว่ารูปนั้นเป็นของเรา มีในเรา เป็นทุกข์
    ๒. อรูปราคา ไม่มีของจริงเพื่อให้เห็นรูป แต่ยึดติดในการปรุงแต่งว่าเป็นรูปในใจหรือนิมิต แล้วตั้งอุปทานว่าอรูปนั้นเป็นของเรา มีในเรา เป็นทุกข์
    <o></o>
    <o></o>
    ดังนั้น หากเรายังคงยึดติดทั้งรูปทั้งอรูป ย่อมก่อให้เกิดภพชาติ ด้วยหวังต้องการในความเป็นรูปและอรูปว่าเป็นของเรา เราย่อมเวียนตายเวียนเกิดในภพภูมิทั้งสี่ ได้แก่ อบายภูมิ มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก[FONT=&quot]อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เมื่อเป็นเช่นนั้น เราจะขอเพียงเพื่ออยู่เพื่ออาศัยทั้งรูปทั้งอรูปชั่วคราว เมื่อหมดหน้าที่ของการเป็นมนุษย์ในชาตินี้ เมื่อใดขอไปพระนิพพานเมื่อนั้น

    ปล. เนื่องจากผมเคยมีข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติกสิณและผมได้ศึกษาสิ่งเหล่านี้ด้วยตนเองจากบทความและไฟล์เสียง (โดยเฉพาะของพระเดชพระคุณหลวงพ่อฤาษีลิงดำ) ผมจึงได้เรียบเรียบบทความข้างบนขึ้นมา ผมเห็นว่าเนื้อหาเหล่านี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เิริ่มปฏิบัติกสิณกองต่างๆ หากมีข้อผิดพลาดประการใด โปรดให้อภัยและโปรดชี้แนะ และหากมีข้อคิดเห็นเพิ่มเติมใดๆ โปรดแนะนำด้วยครับ เพื่อเป็นธรรมทานแก่ทั้งตัวผมและบุคคลที่สนใจทั่วไป

    [/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 สิงหาคม 2009
  2. washiravit

    washiravit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    284
    ค่าพลัง:
    +290
    ขอบพระคุณครับ ไม่ทราบว่าการืลมตามองภาพ

    เเล้วเวลาหลับตา ให้เราพยายามจับภาพเทียนดั่งที่เราเห็นเหมือนตอนลืมตาใช่มั้ยครับ

    หรือว่าไม่ต้องจับอะไร ให้พิจารณาภาพที่ตกค้างเวลาหลับตาเหรอครับ

    (จากคนไม่รู้เรื่องเพราะมือใหม่)
     
  3. washiravit

    washiravit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    284
    ค่าพลัง:
    +290
    ขอบพระคุณครับ ไม่ทราบว่าการืลมตามองภาพ

    เเล้วเวลาหลับตา ให้เราพยายามจับภาพเทียนดั่งที่เราเห็นเหมือนตอนลืมตาใช่มั้ยครับ

    หรือว่าไม่ต้องจับอะไร ให้พิจารณาภาพที่ตกค้างเวลาหลับตาเหรอครับ

    (จากคนไม่รู้เรื่องเพราะมือใหม่)
     
  4. Jeerachai_BK

    Jeerachai_BK เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    318
    ค่าพลัง:
    +821
    กรุณาอธิบายเพิ่มเติมถึงภาพตกค้างที่คุณ "washiravit" จดจำขณะหลับตา ด้วยนะครับ ว่ารูปร่างและสีของภาพเป็นอย่างไร

    ในการปฏิบัติของผม ผมจะกำหนดขอบเขตของภาพ เช่น วงกลม เป็นต้น กล่าวคือเ็ป็นการจับภาพเฉพาะตำแหน่ง ในความเห็นของผม คุณไม่จำเป็นต้องจับภาพเปลวไฟทั้งหมด เพราะมันอาจมีกสิณโทษปนอยู่่ ตัวอย่างของกสิณโทษคือความผสมปนเปของสี เช่น เมื่อเพ่งเปลวไฟ คุณอาจจะเห็นสีแดง สีส้ม สีฟ้า สีเทา และสีดำ ในภาพเดียว ในการปฏิบัติ เลือกสีส้มหรือสีแดงอย่างใดอย่างนั้น (ขึ้นกับประเภทของไฟ) หากมีสีอื่นปนมา ให้ตัดทิ้ง (ลอกคำพูดหลวงพ่อฤาษีลิงดำ มานะครับ)

    ดังนั้น ภาพที่ตกค้างในจิตของเรา ควรตรงกับสิ่งที่เรากำลังเพ่งอยู่ ครับ

    อนุโมทนาครับ _/\_
     
  5. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,647
    ถูกต้องแล้วครับ....ให้จับภาพกสินเป็นวงกลม....ไม่ควรจับเป็นดวงไฟ....

    อันอื่นเข้ามาเพิกทิ้งทันที....จับอันใดอันหนึ่ง...
     

แชร์หน้านี้

Loading...