ยันต์เกราะเพชร

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย guawn, 4 มิถุนายน 2006.

  1. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    ยันต์เกราะเพชรที่เห็นอยู่บ่อยๆมี 2 สายด้วยกันคือ
    1. หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค
    2.หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า

    ซึ่งสายหลวงพ่อปานจะหาผู้เป่าได้ยากกว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 พฤศจิกายน 2006
  2. คนเฝ้าดู

    คนเฝ้าดู เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    138
    ค่าพลัง:
    +267
    ของหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า เคยไปคุยกับลูกศิษย์ท่านบอกเรียกว่ายันต์ตาข่ายเพชรครับ แต่คนชอบเรียกยันต์เกราะเพชร
     
  3. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    ยันต์เกราะเพชร
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. bluebary

    bluebary Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2006
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +32
    ขออนุโมทนาค่ะ
     
  5. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    โดยยันต์เกราะเพชร สายหลวงปู่ศุข
    ท่านจะลงด้วย อิติปิโสพระพุทธคุณ 56 ตัว
    แล้วเดินเส้นยันต์สลับกันไป
    แต่ละตัวเสกด้วย อิติปิโส รัตนมาลาครับ
     
  6. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    หลวงปู่ปานนั้นยันต์เรียกว่า พระยันต์เกราะเพชร
    ส่วนหลวงปู่ศุขยันต์ของท่านเรียกว่า พระยันต์ตารางเพชร
    ทั้งสองพระยันต์ใช้อธิษฐานได้ ๑๐,๐๐๐อย่าง
    พระยันต์เกราะเพชรจะสะท้อนคุณไสยสิ่งไม่ดีออกไป
    พระยันต์ตารางเพชรจะดักเอาไว้ครับ
    <!-- / message -->
     
  7. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    หลวงปู่ปานนั้นยันต์เรียกว่า พระยันต์เกราะเพชรคือเป็นคาถา อิติปิ โส ภควา อรหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจรณสัมปันโน สุคโต โลกวิทู อนุตตโร ปุริสทัมมสารถิ สัตถา เทวมนุสสานัง พุทโธ ภควาติ เรียกกันว่าห้องพุทธคุณ เขียนลงมา 7 คำแล้วก็ไปขึ้นต้นใหม่เรียงกันไป ก็ว่า อิระชาคตรสา ติหังจโตโรถินัง นี้เรียกว่า อิติโส 8 ทิศ แล้วชักเป็นยันต์ เรียกสูตรตามเส้นที่ชักไป หลวงพ่อปานจะเขียนยันต์นี้ใส่กระดานดำไว้ แล้วท่านจะยืนอยู่ข้างหลังให้ทุกคนจุดธุปเทียนแล้วภาวนาว่า พุทโธ ถ้าผู้หญิงมีครรภ์ ให้จุดธุปอีก 1 ดอกแทนลูกในครรภ์แล้วท่านก็เป่า เวลาเป่ายันต์เข้าตัวจะมีความรู้สึกหนักที่ศีรษะ หรือคันที่หน้า ยังงี้เรียกว่ายันต์เข้าตัวแล้ว ท่านเป่าเฉพาะวันเสาร์ห้า คุณสมบัติของยันต์เกราะเพชรเป็นการกันการกระทำ การกลั่นแกล้งจากคนอื่นด้วย ของเหล่านั้นมันจะกลับสะท้อนย้อนเข้าไปหาคนแกล้ง
     
  8. marine24

    marine24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    2,223
    ค่าพลัง:
    +15,634
    ไม่ทราบว่าจะหายันต์เกราะเพชรของหลวงพ่อปานได้ที่ไหน ผมเคยแต่สวดคาถาป้องกันศาสตราวุธของหลวงพ่อปาน แคล้วคลาดดี เวลาขับรถสวดคาถาของหลวงปู่ศุข
     
  9. marine24

    marine24 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    2,223
    ค่าพลัง:
    +15,634
    ไม่ทราบว่าจะหายันต์เกราะเพชรของหลวงพ่อปานได้ที่ไหน ผมเคยแต่สวดคาถาป้องกันศาสตราวุธของหลวงพ่อปาน แคล้วคลาดดี เวลาขับรถสวดคาถาของหลวงปู่ศุข
     
  10. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    ตระกรุดเกราะเพชรและผ้ายันต์เกราะเพชร หลวงพ่อมหาโพธิ์ วัดคลองมอญ จังหวัดชัยนาท ศิษย์สายหลวงปู่ศุข(หลวงพ่อโพธิ์เป็นหลานและเรียนวิชามาจากหลวงพ่อยัง ลูกศิษย์หลวงปู่ศุข) เป็นตระกรุดที่ดีน่าใช้อีกดอกหนึ่ง เนื่องจากการลงต้องลงด้วยสูตรอิติปิโสรัตนมาลา พระพุทธคุณ56ฟังมาว่าที่ท่านหลวงพ่อโพธิ์เริ่มหันมาศึกษาเรื่องคาถาอาคมก็มีเหตุมาจากเมื่อท่านไปเยี่ยมหลวงพ่อยังในระหว่างที่สนทนากันก็มีพระหนุ่มเดินถือบาตรน้ำมันงาเข้ามาหาหลวงพ่อยัง และถามหลวงพ่อยังว่าไม่รู้ว่าน้ำมันงานในบาตรนี่ใช้ได้หรือเปล่าเสกเท่าไหร่ก็ไม่เดือดเสียที หลวงพ่อยังจึงให้เอาบาตรมาให้ดู เมื่อท่านรับบาตรมาก็หลับตาบริกรรมคาถาอยู่ชั่วครู่น้ำมันงาในบาตรก็เดือดขึ้นมาเป็นที่น่าอัศจรรย์ หลังจากหลวงพ่อโพธิ์ได้เห็นเหตุการณ์ในวันนั้นก็เลยสนใจศึกษาคาถาต่างๆกับหลวงพ่อยัง ต่อมายันต์ในตะกรุดท่านเป็นแบบนี้ครับ
    [​IMG]
    <!-- / message --><!-- edit note -->
     
  11. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,113
    ที่รู้มาก็มี
    1.หลวงพ่อบุญมาก สัญญโม วัดโพธิ์ บางระมาด ถนนพุทธมณฑลสาย ๑ เขตตลิ่งชัน กทม.
    2.หลวงพี่เล็ก วัดท่าขนุน
     
  12. dangcarry

    dangcarry เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,396
    ค่าพลัง:
    +4,307
    ยันต์นี้ ผู้ใช้ต้องเป็นคนดี ผลลัพธ์จึงจะดี
     
  13. burrendo

    burrendo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    10
    ค่าพลัง:
    +268
    ไม่ทราบว่าตอนนี้มีที่ไหนเป่ายันต์เกราะเพชรตามสายหลวงปู่ปานบ้าง(ที่ดีๆ ชัวร์)

    อยากไปเป่าบ้างอะ
     
  14. Jdin_buddhism

    Jdin_buddhism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    366
    ค่าพลัง:
    +10,153
    เร็วๆ นี้จะมีพิธีเป่ายันต์เกาะเพชรครับ....
     
  15. BiMode

    BiMode เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    303
    ค่าพลัง:
    +2,322
    ไม่ทราบว่าที่ไหนหรือครับ?
     
  16. ลูกหลานหลวงปู่

    ลูกหลานหลวงปู่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    550
    ค่าพลัง:
    +3,589
    พระคาถายันต์เกราะเพชร ถอดจาก บทพุทธคุณ56 สวดให้ได้108จบ ก็เปรียบได้กับการเป่าครับ
    หากเขียน บทพุทธคุณ ตามแนวตั้งและเริ่มใหม่เป็นแนวไป เปรียบดั่งตาราง 8x7 คือ
    อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา
    ติ หัง จะ โต โร ถี นัง
    ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท
    โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ
    ภะ สัม สัม วิ สะ เท ภะ
    คะ พุท ปัน ทู ทัม วะ คะ
    วา โธ โน อะ มะ มะ วา
    อะ วิ สุ นุ สา นุ ติ
    วิธีสวด ให้สวดเหมือนกับการเดินตัวม้าของหมากรุกไทย ซึ่งมีสองแบบครับ
    แบบแรก ของหลวงพ่อปานวัดบางนมโค
    เริ่ม จาก
    อิ จะ ตะ นัง ถา คะ นุ อะ วิ คะ มา ติ ชา โร สา สัต ภะ มะ นุ โธ ภะ สัม
    โต ระ พุท เท วา สา โน อะ พุท โส หัง คะ ถี โธ วะ ติ มะ สุ วา สัม ปิ ระ ระ วิ ปุ ณะ ทู ริ สัม ทัม กะ ปัน สะ โล
    แบบที่สอง แบบพระครูเทพโลกอุดร เหมือนกับการเดินตัวม้าของหมากรุกไทยเหมือนกันแต่ เดินอีกทางหนึ่ง
    เริ่มจาก
    อิ สัม ภะ โธ นุ มะ ภะ สัต สา โร ชา ติ
    มา คะ วิ อะ นุ คะ ถา นัง ตะ จะ ปิ สัม
    วา สุ มะ ติ วะ โธ ถี คะ หัง โส พุท อะ
    โน สา วา เท พุท ระ โต ระ ระ วิ ปุ ณะ
    ทู ริ สัม ทัม กะ ปัน สะ โล

    วิธีการใช้
    1. อ่านลง
    2. อ่านไปตามบรรทัด
    3. อ่านลงเวียนเข้า
    4. อ่านตามเส้นเวียนออก
    แล้วอ่านถอยหลังทั้ง 4 ข้อ
    --------------------------------------------------------
    ชีวประวัติของพระมหาคำแดง พึ่งบารมี
    วัดคัมภีราวาส ต.นาพิน อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี
    หนังสือโลกลี้ลับ ฉบับที่260 ประจำเดือนสิงหาคม 2549
    -----------------------------------------------------------------------------------
     
  17. ลูกหลานหลวงปู่

    ลูกหลานหลวงปู่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    550
    ค่าพลัง:
    +3,589
    พระพุทธคุณคาถา รวม 56 บท แสดงพระพุทธคุณลึกซึ้งด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธคุณทั้งหลายนั้น ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าและท่าน ในกาลทั้งปวง เทอญ
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    สำหรับบทสวดอิติปิโสรัตนมาลาครับ

    จากกระทู้ แนะนำ บทสวด อิติปิโสรัตนมาลา
    http://www.palungjit.org/board/showthread.php?t=21102

    พระอิติปิโสรัตนมาลา<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ
    <O:p</O:p

    <O:p</O:p
    (อิ) อิฎโฐ สัพพัญญุตะญาณังอิจฉันโต อาสะวักขะยัง<O:p</O:p
    อิฎฐัง ธัมมัง อนุปปัตโตอิทธิมันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ติ) ติณโณ โญ วัฎฎะทุกขัมหาติณณัง โลกานะมุตตะโม<O:p</O:p
    ติสโส ภูมี อะติกกันโตติณณัง โอฆัง นะมามิหัง
    (ปิ) ปิโย เทวะมะนุสสานังปิโย พรหมา นะมุตตะโม<O:p</O:p
    ปิโย นาคะสุปัณณานังปิณินทริยัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โส) โสกา วิระตะจิตโต โยโสภะมาโน สะเทวะเก<O:p</O:p
    โสกัปปัตเต ปะโมเทนโตโสตะวัณณัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ภะ) ภัชชิตา เยนะ สัทธัมมาภัคคะปาเปนะ ตาทินา<O:p</O:p
    ภะเย สัตเต ปะหาเสนโตภะยะสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (คะ) คะมิโต เยนะ สัทธัมโมคะมาปิโต สะเทวะกัง<O:p</O:p
    คัจฉะมาโน สิวัง รัมมังคัมยะธัมมัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (วา) วานา นิกขะมิ โย ตัณหาวาจัง ภาสะติ อุตตะมัง<O:p</O:p
    วานะ นิพพาปะนัตถายะวายะมันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    (อะ) อะนัสสาสะกะสัตตานังอัสสาสัง เทติ โยชิโน<O:p</O:p
    อะนันตะคุณะสัมปันโนอันตะคามิง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ระ) ระโต นิพพานะสัมปัตเตระโต โส สัตตะโมจะเน<O:p</O:p
    รัมมาเปตีธะ สัตเตโยระณะจาคัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (หัง) หัญญะเต ปาปะเก ธัมเมหังสาเปติ ปะรัง ชะนัง<O:p</O:p
    หังสมานัง มาหาวีรังหันตะปาปัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สัม) สังขะตาสังขะเต ธัมเมสัมมาเทเสสิ ปาณินัง<O:p</O:p
    สังสารัง สังวิฆาเฏติสะสัมพุทธัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (มา) มาตะวา ปาลิโต สัตเตมานะถัทเธ ปะมัททิโน<O:p</O:p
    มานิโต เทวะสังเฆหิมานะฆาฏัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สัม) สัญจะยัง ปาริมิง สัมมาสัญจิตวา สุขะมัตตะโน<O:p</O:p
    สังขารานัง ชะยัง กัตวาสันตะคามิง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (พุท)พุชฌิตวา จะตุสัจจานิพุชฌาเปติ มะหาชะนัง<O:p</O:p
    พุชฌาเปนตัง สิวัง มัคคังพุทธะเสฏฐัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โธ) โธติ ราเคจะ โทเสจะโธติ โมเหจะ ปาณินัง<O:p</O:p
    โธตาสะวัง มะหาวีรังโธตะกะเลสัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (วิช) วิวิจเจวะ อะสัทธัมมาวิจิตวา ธัมมะ เทสะนัง<O:p</O:p
    วิเวเก ฐิตะจิตโต โยวิทิตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ชา) ชาติธัมโม ชะราธัมโมชาติอันโต ปะกาสิโต<O:p</O:p
    ชาติเสฏเฐนะ พุทเธนะชาติโมกขัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (จะ) จะยะเต ปุญญะสัมภาเรจะเยติ สุขะ สัมปะหัง<O:p</O:p
    จะชันตัง ปาปะ กัมมานิจะชาเปนตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ระ) ระมิตัง เยนะ นิพพานังรักขิตัง โลกะสัมปะทัง<O:p</O:p
    ระชะ โทสาทิ กะเลเสหิระหิตัง ตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ณะ)นามิโตเยวะ พรหเมหินระเทเวหิ สัพพะทา<O:p</O:p
    นะทันโต สีหะนาทัง โยนะทันตัง ตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สัม) สังขาเร ติวิธโลเกสัญชานาติ อะนิจ จะโต<O:p</O:p
    สัมนิพพานะ สัมปัตโตสัมปัสสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ปัน)ปันนะกะเต โพธิสัมภาเรปะสัฏโฐ โสสะเทวะเก<O:p</O:p
    ปัญญายะ อะสะโมโหติปะสันนัง ตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โน) โน เทติ นิระยัง คันตุงโน จะปาปัง อะการะยิง<O:p</O:p
    โน สะโมอัตถิ ปัญญายะโนนะ ธัมมัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สุ) สุนทะโร วะระรูเปนะสุสสะโร ธัมมะ ภาเนสะ<O:p</O:p
    สุทุททะสัง ทิสาเปติสุคะตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (คะ) คัจฉันโตโลกิยัง ธัมมังคัจฉันโต อะมะตัง ปะทัง<O:p</O:p
    คะโต โต สัตตะ โมเจตุงคะตัญ ญาณัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    (โต) โตเสนโต วะระธัมเมนะโตสัฎฐาเน สิเว วะเร<O:p</O:p
    โตสัง อะกาสิ ชันตูนังโตละจิตตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โล) โลเภ ชะหะติ สัมพุทโธโลกะเสฏโฐ คุณากะโร<O:p</O:p
    โลเภ สัตเต ชะหาเปติโลภะสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (กะ) กันโต โย สัพพะสัตตานังกัตวา ทุกขังขะยัง ชิโน<O:p</O:p
    กะเถนโต มะธุรัง ธัมมังกะถา สัณหัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (วิ) วินะยัง โย ปะกาเสติวิทธังเสตวา ตะโยภะเว<O:p</O:p
    วิเส สัญญาณะสัมปัญโนวิปปะสันนัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ทู) ทูเส สัตเต ปะหาเสนโตทูรัฏฐานัง ปะกาสะติ<O:p</O:p
    ทูรัง นิพพานะมาคัมมะทูสะหานัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (อะ) อันตัง ชาติชาราทีนังอะกาสิ ทีปะ ทุตตะโม<O:p</O:p
    อะเน กุสสาหะจิตเตนะอัสสาเสนตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (นุต) นุเทติ ราคะจิตตานินุหาเปติ ปะรัง ชะนัง<O:p</O:p
    นุนะอัตถัง มะนุสสานังนุสาสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ตะ) ตะโนติ กุสะลัง ธัมมังตะโนติ ธัมมะเทสะนัง<O:p</O:p
    ตัณหายะ วิจะรันตานังตัณหาฆาตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    (โร) โรเสนเต เนวะโกเปติโรเสเหวะ นะกุชฌะติ<O:p</O:p
    โรคานัง ราคะอาทีนังโรคะสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ปุ) ปุณันตัง อัตตะโน ปาปังปูเรนตัง ทะสะ ปาระมิง<O:p</O:p
    ปุญญะวันตัสสะ ราชัสสะปุตตะภูตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ริ) ริปุราคาทิภูตังวะริทธิยา ปะฏิหัญญะติ<O:p</O:p
    ริตตัง กัมมังนะ กาเรตาริยะวังสัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สะ) สัมปันโน วะระสีเลนะสะมาธิปะ วะโรชิโน<O:p</O:p
    สะยัมภูญญาณะสัมปันโนสัณหะวาจัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ทัม)ทันโต โย สะกะจิตตานิทะมิตวาปิ สะเทวะกัง<O:p</O:p
    ทะทันโต อะมะตัง เขมังทันตินทริยัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (มะ) มะหุสสาเหนะ สัมพุทโธมะหันตัง ญาณะมาคะมิ<O:p</O:p
    มหิตัง นะระเทเวหิมะโนสุทธัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สา) สารัง เทตีธะ สัตตานังสาเรติ อะมะตังปะทัง<O:p</O:p
    สาระถิวิยะ สาเรติสาระธัมมัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ระ) รัมมะตาริยะ สัทธัมเมรัมมาเปติ สะสา วะกัง<O:p</O:p
    รัมเมฐาเน วะสาเปนตังระณะหันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ถิ) ถิโต โย วะระนิพพาเนถิเร ฐาเน สะสาวะโก<O:p</O:p
    ถิรัง ฐานัง ปะกาเสติถิตะธัมมัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สัต) สัทธัมมัง เทสะยิตวานะสันตัง นิพพานะ ปาปะกัง<O:p</O:p
    สะมาหิตัง สะสาวะกังสันตะจิตตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ถา) ถามัง นิพพานะ สังขาตังถาเมนาธิ คะโตมุนิ<O:p</O:p
    ถาเนสัคคะสิวะ รัมเมถาเปนตัง ตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (เท) เทนโต โย สัคคะนิพพานังเทวะ มะนุสสะ ปาณินัง<O:p</O:p
    เทนตัง ธัมมะวะรัง ทานังเทวะ เสฏฐัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (วะ) วันตะราคัง วันตะโทสังวันตะโมหัง อะนาสะวัง<O:p</O:p
    วันทิตัง เทวะพรหเมหิวะรัง พุทธัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (มะ) มะนะตา วิริเยนาปิมะหันตัง ปาระมิงอะกา<O:p</O:p
    มะนุสสะเทวะพรหเมหิมหิตัง ตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (นุส)นุนะธัมมัง ปะกาเสนโตนุทะนัตถายะ ปาปะกัง<O:p</O:p
    นุนะทุกขาธิปันนานังนุทาปิตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สา) สาวะกานัง นุสาเสติสาระธัมเมจะปาณินัง<O:p</O:p
    สาระธัมมัง มะนุสสานังสาลิตัง ตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (นัง) นันทันโต วะระสัทธัมเมนันทาเปติ มะหามุนิ<O:p</O:p
    นันทะภูเตหิ เทเวหินันทะนียัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (พุท)พุชฌิตาริยะสัจจานิพุชฌาเปติ สะเทวะกัง<O:p</O:p
    พุทธะญาเณหิ สัมปันนังพุทธัง สัมมา นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โธ) โธวิตัพพัง มะหาวีโรโธวันโต มะละมัตตะโน<O:p</O:p
    โธวิตตา ปาณินัง ปาปังโธตะกเลสัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ภะ) ภะยะมาปันนะสัตตานังภะยัง หาเปตินายะโต<O:p</O:p
    ภะเว สัพเพ อะติกกันโตภะยะสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (คะ) คะธิโต เยนะ สัทธัมโมคะตัญญา เณนะปาณินัง<O:p</O:p
    คัณหะนียัง วะระธัมมังคัณหาเปนตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (วา) วาปิตัง ปะวะรัง ธัมมังวานะโมกขายะ ภิกขูนัง<O:p</O:p
    วาสิตัง ปะวะเร ธัมเมวานะมานัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ติ) ติณโณ โส สัพพะปาเปหิติณโณ สัคคา ปะติฏฐิโต<O:p</O:p
    ติเร นิพพานะ สังขาเตติกขะญาณัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    จบห้อง พระพุทธคุณ ๕๖ คาถา<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    (สวาก)สวากตันตัง สิวัง รัมมังสวากหะเนยยัง ธัมมะ เทสันตัง<O:p</O:p
    สวากหะเนยยัง ปุญญักเขตตังสวากสะภัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ขา) ขาเทนโต โส สัพพะปัชชังขายิตัง มะธุรัง ธัมมัง<O:p</O:p
    ขายันตัง ติวิธัง โลกังขายิตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โต) โตเสนโต สัพพะสัตตานังโตเสหิ ธัมมะเทสะนัง<O:p</O:p
    โตมะหิ จิตตัง สะมิชณันตังโตเสนตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ภะ) ภัคคะราโค ภัคคะโทโสภัคคะโมโห อนุตตะโร<O:p</O:p
    ภัคคะกิเลเส สัตตานังภะคะวันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (คะ) คัจฉันโต รัมมะเกสิเวคะหะะจิตโต สะเทวะเก<O:p</O:p
    คัจฉันเต พรหมะ จะติเยคัจฉันตัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (วะ) วันตะราคัง วันตะโทสังวันตะโมหัง ปุญญะ ปาปัง อนุตตะรัง<O:p</O:p
    วันตะพาละมิจฉาทีนังวันตันตัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ตา) ตาเรสิ สัพพะสัตตาตาเรติ โอระมีติรัง<O:p</O:p
    ตาเรนตัง โมกขะ สังสารังตาเรนตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ธัม) ธะระมาเนปิ สัมพุทเธธัมเมเทสัง นิรันตะรัง<O:p</O:p
    ธะเรยยะ อะมะระถานังธะเรนตันตัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โม) โมหัญเญ ทะมันโต สัตเตโมหะตีเต อะการะยิ<O:p</O:p
    โมหะชาเต ธัมมะจาริโมหะตีตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สัน)สัพพะสัตตะตะโมนุโทสัพพโสกาวินาสะโก<O:p</O:p
    สัพพะสัตตะจิตตะโกสัพพะสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ทิฏ)ทิฏเฐ ธัมเม อะนุปปัตเตทิฏฐิกังขา ราคะลุตเต<O:p</O:p
    ทิฏฐิทะวาสัฏฐี ฉันทันเตทิฏฐิธัมเม ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ฐิ) ฐิตีสีละสะมาจาเรฐิติ เตระสะธุตังเค<O:p</O:p
    ฐิติธัมเม ปะฏิปัตติฐิตังปะทัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โก) โกกานัง ราคะปิฬิโตโกธัมโม ปาฏิหัญญะติ<O:p</O:p
    โกกานัง ปูชิโต โลเกโกกานะ ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (อะ) อัคโคเสฏโฐ วะโรธัมโมอัคคะปัญโญปิ พุชฌะติ<O:p</O:p
    อัคคะธัมมัง สุนิปุณังอัคคันตัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (กา) กาเรนโต โส สิเวรัชเชกาเรยยะ ธัมมะจาริเย<O:p</O:p
    กาตัพเพ สุลิกขากาเมกาเรนตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ลิ) ลิโต โย สัพพะทุกเขสุลิกขิโตปิฏะ กัตตะเย<O:p</O:p
    ลิมปิเตปิ สุวัณเณจะลิขันเต ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โก) โก ปุคคะโล สะทิโสมังโก ธัมมัง อะภิปูชะยิ<O:p</O:p
    โกวิทู ธัมมะสาระทังโกสาลาตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (เอ) เอสะติ พุทธธะวะจะนังเอสะติ ธัมมะมุตตะมัง<O:p</O:p
    เอสะติ สัตตะโมกขัญจะเอสาสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (หิ) หิเน ถาเน นัชฌายันเตหิเน เปติ สุคะติง<O:p</O:p
    หิเน โมหะสะเม ชาเลหิตันตัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ปัส)ปักกะโต โพธิสัมภาเรปะเสฏโฐ โสสะเทวะเส<O:p</O:p
    ปัญญายะ อะสะโม โหติปะสันตานัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สิ) สีเลนะ สุคะติง ยันติสีเลนะ โภคะสัมปะทา<O:p</O:p
    สีเลนะ นิพพุติงยันติสีละธะนัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โก) โก โย อัคคะสุปุญโญ ปุพเพโกฑะชะเห อะธิ คัจฉิ<O:p</O:p
    โกธัมมัญจะ วิชานาติโกวันตัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โอ) โอนะโต สัพพะกิเลสังโอนะโต สัพพะ มะมะลัง<O:p</O:p
    โอนะโต ทิฏฐิชาลัญจะโอนะโตตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ปะ) ปัญญา ปาเสฏโฐ โลกัสมิงปัญญาอัปปะฏิ ปุคคะโล<O:p</O:p
    ปัญญายะ อะสะโม โหติปะสันโนตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (นะ) นะรานะระ หิตังเทวังนะระเทเวหิ ปูชิตัง<O:p</O:p
    นะรานัง กัมมะปักเขหินะมิตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ยิ) ยิชชะโต สัพพะสัตตานังยิชชะตัง เทวะ พรหเมหิ<O:p</O:p
    ยิชชะสะติ จะ ปาณินังยิชชะตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โก) โกธัง ชะหะติ ปาปะกังโกธัง โกธะนัง นาสสะติ<O:p</O:p
    โกธัง ชะเหวิ ปัชชะติโกธะ นุทธัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ปัจ) ปัจจาภิระตา ปะชาปัชชะหิตา ปาปะกาโย<O:p</O:p
    ปัปโปติ โชติวิปุโลปะโชตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (จัต) จะริตวา พรหมะจะริยังจัชชันตัง สุวิหัญญะติ<O:p</O:p
    จัชชันตัง สัพพะทาเนนะจัชชะตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ตัง) ตังโนติ กุสะลังธัมมังตังโนติ สัพพะวิริยัง<O:p</O:p
    ตังโนติ สีละสะมาธิงตังตะวายัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (เว) เวรานิปิ นะ พันธันติเวรัง เตสูปะสัมมะติ<O:p</O:p
    เวรัง เวเรนะ เวรานิเวระสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ทิ) ทีฆายุโก พะหูปุญโญทีฆาระโต มะหาสาโล<O:p</O:p
    ทีฆังเตเชนะ ปุญเญนะทีฆะรัตตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ตัพ) ตะโต ทุกขา ปะมุญจะโสตะโตโมเจติ ปาณิโน<O:p</O:p
    ตะโน ราคาทิ กิเลเสตะโตโมกขัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โพ) โพนโต เทวะสังฆาโย โกโพธิเสฏ เฐจะ ปะกะโต<O:p</O:p
    โพธินา ปะริปุณโณโสโพธิสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (วิญ)วิระติ สัพพะทุกขัสมาวิริยะนาปี ทุลละภา<O:p</O:p
    วิริยะ ทุกขสัมปันนาวิริยันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ญู) ญูตัญญาเญหิ สัมปันนังญูตะโยคะสะมัปปิตัง<O:p</O:p
    ญูตัญญาณะทัสสะนัญจะญูตะโยคัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (หิ) หิสันตัง สัพพะโทสานิหิสันตา สัพพะภยาติ<O:p</O:p
    หิสะโมหา สัตตาคะตาหิสะสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    จบห้องพระธรรมคุณ ๓๘ คาถา

    (สุ) สุทธิสีเลหิ สัมปันโนสุฏฐะปัตโตจะโย สังโฆ<O:p</O:p
    สุนทะโร สาสะนะธะโรสุนทะรัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ปะ) ปฎิสัมภิทา จะตัสโสปะเสฏโฐ โสอนุตตะโร<O:p</O:p
    ปัญญา อนุตตะโร โลเกปะสัฏฐัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ฏิ) ฏิตถิปะราชิโต สัตถาฏิตถาฏิยา ทัสสะนะเม<O:p</O:p
    ฏิตถิ พุทธะวิเสนะฏิตถันตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ปัน)ปะเสฏโฐ ธัมมะคัมภีโรปัญญะวันโต อะลังกะโต<O:p</O:p
    ปะเสนโต อัตถะธัมมัญจะปะสัฏฐัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โน) โนเจติ กุสะลัง กัมมังโนจะปาปัง อาการะยิ<O:p</O:p
    โนนะตัง พุชฌะ ธัมมัญจะโนทิสันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (ภะ) ภัคคะราโค ภัคคะโทโสภัคคะโมโหจะ ปาณินัง<O:p</O:p
    ภัคคะกิเสสะสัตตานังภัคคะตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (คะ) คัจฉันโต โลกิยัง ธัมมังคัจฉันโต โลกุตตะ รัมปี<O:p</O:p
    คัจฉะเทวะ กิเลเสหิคะมิตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (วะ) วัณเณติ กุสะลัง ธัมมังวัณเณติสีละสัมปันนัง<O:p</O:p
    วัณเณติกขะติ รักขิตังวัณเณนะตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โต) โตเสนโต เทวะมะนุสโสธัมมะยะลิ โตเสติ<O:p</O:p
    ทุฏฐะ จิตตานิโตเสนตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สา) สาสะนัง สุปะฏิจฉันนังสาสะยันตังลิวัง รัมมัง<O:p</O:p
    สาสะนัง อะนุสาเสนยังสาสะยันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (วะ) วันตะราคัง วันตะโทสังวันตะโมหัง ทิฏฐิ ฉันทัง<O:p</O:p
    วันตานัง สัพพะปาณินังวันตะกิเลสัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (กะ) กะโรนโต สีละสะมาธิงกะโรนโต สาระมัตตะโน<O:p</O:p
    กะโรนโต กัมมัฏฐานานิกะโรนโต ตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    (สัง) สังสาเร สังสะรันโต โสสังสาระโต วิมุญจิโส<O:p</O:p
    สังสาระ ทุกขโมเจสิสังเสฏฐัง ปะ นะมามิหัง<O:p</O:p
    (โฆ) โฆรัง ทุกขะยัง กัตวาโฆสาเปติ สุรังนะรัง<O:p</O:p
    โฆสะยิตวา ติปิฏะกังโฆระตันตัง นะมามิหัง<O:p</O:p
    จบห้องพระสังฆคุณ ๑๔ คาถา<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    สะตะอัฏฐะธัมมะคาถา รัตตะนัตตะยะคุณาสะมัตตา เอเตนะ ชะยะเตเชนะ โสตถิเม ชะยะมังคะลัง ฯ<O:p</O:p
    ปุตโต ตะยาหัง มะหาราชัง ตะวัง มังโปสะชานาที อัญโญ กิญจิ เทโว โทเสติ สะมัง ปัชชะ ฯ<O:p</O:p
    อิติปาระมิตา ติงสา อิติ สัพพัญญุมาคะตา อิติ โพธิมะ นุปปัตโต อิติ ปิโสจะเต นะโม ฯ<O:p</O:p
    ภะคะวา ภะคะวา นามะ ภะโค กิเลสะ พาหะโน ภะโคสังสาระจักกานัง ภะคะวา นามะ เตนะโม ฯ<O:p</O:p
    รวม ๓ ห้อง ๑๐๘ คาถา อิติปิโสระตะนะมาลา นิฏฐิตัง<O:p</O:p

    <O:p</O:p

    ***พระพุทธภาษิตธะชัคคะสูตรแสดงไว้ดังนี้ ภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าความกลัวหรือความหวาดเสียว หรือขนพองสยองเกล้า เกิดขึ้นแก่ท่านทั้งหลาย ผู้ไปสู่ที่ว่างเปล่า อันเป็นที่เงียบสงัดอันจะพึงกลัว เป็นตันว่า ไปสู่ป่าก็ดี สู่โคนต้นไม้ก็ดี สู่เรือนเปลี่ยวก็ดี สมัยนั้นท่านทั้งหลายพึงระลึกถึงเราผู้ตถาคตอย่างนี้ว่า <O:p</O:p
    ***“ อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโณ สุคะโต โลกะวิทู อนุตตะโรปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ ”***<O:p</O:p


    *************************************************

    อิติปิโสเต็ม
    <O:p</O:p</B>
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา สุขะโต<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา โลกะวิทู<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา อะนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา พุทโธ ภะคะวาติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    <O:p</O:p

    อิติปิโสธงชัย<O:p</O:p

    นะโม ๓ จบ<O:p</O:p

    พุทธัง ชีวิตัง ยาวะนิพานัง สะระนัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมา สัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุขะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ<O:p</O:p
    ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะนิพานัง สะระนัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฎฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติ<O:p</O:p
    สังฆัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระนัง คัจฉามิ<O:p</O:p
    สุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อุฎฐะ ปุริสะปุคคลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชลีกะระณีโย อนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    พระคาถาอิติปิโส ๘ ทิศ

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    . อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา<O:p</O:p
    ชื่อ กระทู้ ๗ แบก ประจำอยู่ทิศบูรพา ( ทิศตะวันออก )<O:p</O:p
    . ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง<O:p</O:p
    ชื่อ ฝนแสนห่า ประจำอยู่ทิศอาคเนย์ ( ทิศตะวันออกเฉียงใต้ )<O:p</O:p
    . ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์เกลื่อนสมุทร ประจำอยู่ทิศทักษิณ ( ทิศใต้ )<O:p</O:p
    . โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์ถอดจักร ประจำอยู่ทิศหรดี ( ทิศตะวันออกเฉียงใต้ )<O:p</O:p
    . ภะ สัม สัม วิ สา เท ภะ<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์ขว้างจักรตรึงไตรภพ ประจำอยู่ทิศประจิม ( ทิศตะวันตก )<O:p</O:p
    . คะ พุท ปัน ทู ทัม วะ คะ<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์พลิกแผ่นดิน ประจำอยู่ทิศพายัพ ( ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ )<O:p</O:p
    . วา โธ โน อะ มะ มะ วา<O:p</O:p
    ชื่อ ตวาดฟ้าป่าหิมพานต์ ประจำอยู่ทิศอุดร ( ทิศเหนือ )<O:p</O:p
    . อะ วิช สุ นุต สา นุ ติ<O:p</O:p
    ชื่อ นารายณ์แปลงรูป ประจำอยู่ทิศอีสาน ( ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ )<O:p></O:p>
    <O:p</O:p

    อิติปิโส ถอยหลัง<O:p</O:p
    ติ วา คะ ภะ โธ พุท นัง สา นุส มะ วะ เท ถา สัต ถิ ระ สะ มะ ทัม สะ ริ ปุ โร ตะ นุต อะ ทู วิ กะ โล โต คะ สุ โน ปัน สัม ณะ ระ จะ ชา วิช โธ พุท สัม มา สัม หัง ระ อะ วา คะ ภะ โส ติ อิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    อิติปิโส แปลงรูป<O:p</O:p
    กะ วิ โล ทู โต อะ คะ นุต<O:p</O:p
    สุ ตะ โน โร ปัน ปุ สัม ริ<O:p</O:p
    ณะ สะ ระ ทัม จะ มะ ชา สา<O:p</O:p
    วิช ระ โธ ถิ พุท สัต สัม ถา<O:p</O:p
    มา เท สัม วะ หัง มะ ระ นุส<O:p</O:p
    อะ สา วา นัง คะ พุท ภะ<O:p</O:p
    โธ โส ภะ ปิ คะ ติ วา อิ ติ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    อิติปิโส ตรึงไตรภพ<O:p</O:p
    อิ ติ ติ วา ปิ คะ โส ภะ<O:p</O:p
    ภะ โธ คะ พุท วา นัง อะ สา<O:p</O:p
    ระ นุส หัง มะ สัม วะ มา เท<O:p</O:p
    สัม ภา พุท สัต โธ ถิ วิช ระ<O:p</O:p
    ชา สา จะ มะ ระ ทัม ณะ สะ<O:p</O:p
    สัม ริ ปัน ปุ โน โร สุ ตะ<O:p</O:p
    คะ นุต โต อะ โล ทู กะ วิ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    พระพุทธมนต์บทนี้ เรียกอิติปิโสตรึงไตรภพ ไตรภพคือมนุษย์โลก เทวโลก พรหมโลก ถ้าต้องการให้คนในสามโลกนี้ เคารพนับถือ เราให้เสกคาถานี่เป็นกิจวัตรประจำวัน ทั้งเทวดา และพระพรหมจะมากราบไหว้บูชาเรา ก่อนจะไปสังคมใดให้เสกคาถานี้กี่จบก็ได้ จะเป็นที่เคารพนับถือ กราบไหว้บูชาของคนในสังคมนั้น เราจะพูดสนทนา หรือสั่งเสียอะไรเขาจะเชื่อฟัง คนหรือสัตว์มีทิฐิมานะกล้าแข็ง ถ้าต้องการให้หายพยศ ให้เสกคาถาบทนี้ก่อน หรือจะเสกทำน้ำมนต์ให้อาบให้กินก็ได้<O:p</O:p<!-- / message --><!-- sig -->
     
  19. tat_gun

    tat_gun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    76
    ค่าพลัง:
    +324
    ไม่ทราบว่าหลวงพ่อมหาโพธิ์มรภาพหรือยังครับ ถ้าใครรู้ช่วยบอกด้วยนะครับ
     
  20. tamsak

    tamsak ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2004
    โพสต์:
    7,857
    กระทู้เรื่องเด่น:
    22
    ค่าพลัง:
    +161,172
    พระครูธรรมธรเล็ก สุธมฺมปญฺโญ
    เจ้าคณะตำบลชะแล เขต 2
    อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

    จะทำพิธีบวงสรวงและเป่ายันต์เกราะเพชร ณ วัดท่าขนุน อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
    ในวันเสาร์ที่ 25 พฤศจิกายน 2549 (วันเสาร์ห้า) เวลา 10.00 น. และเวลา 13.00 น.


    .
    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 พฤศจิกายน 2006

แชร์หน้านี้

Loading...