พระเครื่องราคาเบาๆ ทรงคุณค่า แบ่งเงินทำบุญครับ :)

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย Specialized, 4 ตุลาคม 2012.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    หลากหลายพระเครื่องผมที่สะสมไว้แบ่งให้เช่าบูชาครับ ทุกองค์รับประกันความแท้ 100% ถ้าเก๊ยินดีคืนเงินเต็มภายใน 1 เดือน ถ้าบูชาไปแล้วไม่ชอบขอคืนภายใน 10 วัน จะหัก 10% จากราคาทั้งหมดนะครับ

    รายได้ส่วนหนึ่งจากการให้เช่าบูชาจะแบ่งไปทำบุญตามโอกาศที่อำนวยครับผม

    ปรับราคาใหม่หลายรายการครับ

    อนุพงศ์ อินต๊ะวงศ์
    ธ.กสิกรไทย สาขาเซ็นทรัลพลาซาเชียงราย
    271-2-07838-6 ออมทรัพย์


    ...โอนแล้วช่วยแจ้งและลงที่อยู่ไว้เลยนะครับ...
    ...รบกวนช่วยค่าส่ง EMS 50 บาท ครับ...
    ...รบกวนโอนภายใน 2 สัปดาห์หลังการจองนะครับ...

    ของแถมพิเศษสำหรับท่านที่บูชาวัตถุมงคลในกระทู้นี้
    1 user ต่อการบูชาพระ 1 ครั้ง เมื่อท่านโอนเข้ามาแล้วผมจะแถม

    พระผงจักรพรรดิ์+ลูกแก้วจักรพรรดิ์ พร้อมหนังสือครับ
    ปลุกเสกโดย หลวงตาม้า วัดถ้ำเมืองนะ จ.เชียงใหม่


    [​IMG]

    แจกให้ผู้บูชาพระในกระทู้นี้ 1 User ต่อการบูชา 1 ครั้ง
    รับพระไปบูชาเลยครับ 1 ชุดเหมือนเดิมครับ

    กระทู้เดิมครับ http://palungjit.org/threads/พระเคร...บุญครับ-แถมพระแก้วพุทโธใหญ่-เนื้อว่าน.314179/
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 มกราคม 2013
  2. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    ตอนนี้เวบปรับปรุง ก็อบภาพมาทำสารบัญไม่ได้ อยากเห็นหน้าตาของพระก็กดตามไปดูที่หน้าที่ผมลงรายละเอียดไว้นะครับ

    สรุปรายการที่มีให้บูชาทั้งหมดครับ
    07/01/2556


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มกราคม 2013
  3. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    อนุพงศ์ อินต๊ะวงศ์
    ธ.กสิกรไทย สาขาเซ็นทรัลพลาซาเชียงราย
    271-2-07838-6 ออมทรัพย์


    ...โอนแล้วช่วยแจ้งและลงที่อยู่ไว้เลยนะครับ...
    ...รบกวนช่วยค่าส่ง EMS 50 บาท ครับ...
    ...รบกวนโอนภายใน 2 สัปดาห์หลังการจองนะครับ...
    [/quote]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 พฤศจิกายน 2012
  4. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 1

    เหรียญชาตรีหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติการาม
    ปลุกเสกโดย หลวงพ่อเฉลิม เขมทัสสี วัดพระญาติการาม จ.อยุธยาฯ

    (((คุณ
    บลูสตาร์ บูชาแล้วครับ)))

    [​IMG]

    หลวงพ่อเฉลิม ท่านเป็นศิษย์สืบทอดพุทธาคมจาก หลวงพ่ออั้น แห่งวัดพระญาติฯ ซึ่ง หลวงพ่ออั้น ก็เป็นศิษย์ที่สืบวิชาโดยตรงจาก<wbr> หลวงพ่อกลั่น แห่งวัดพระญาติฯ พระเกจิอาจารย์ในตำนานผู้ลือเลื<wbr>่อง

    [​IMG]

    ปัจจุบันหลวงพ่อเฉลิม ท่านสืบสายวิชาทางวัดประดู่ทรงธ<wbr>รรมไว้ครบถ้วน ซึ่งสำนักวัดประดู่ทรงธรรมนั้นเ<wbr>ปรียบเสมือนกับ 'ตักศิลา' ในสมัยพุทธกาลอย่างไรอย่างนั้น ซึ่งสายวิชาจากทางนี้ที่เด่นๆคื<wbr>อ แคล้วคลาด และ คงกระพันชาตรี

    เหรียญนี้เป็นเหรียญที่ออกแบบได<wbr>้สวยงาม รูปทรงคล้ายเหรียญเศรษฐีของ หลวงปู่ดู่ แห่งวัดสะแก ครับ เหรียญนี้ออกเมื่อปี ๒๕๔๔ นับอายุเหรียญก็ ๑๐ ปีแล้วครับ


    มีสองเหรียญครับ แต่ขอใช้ภาพแทนแค่เหรียญเดียว สวยๆแดงๆทั้งสองเหรียญครับ
    ปิดรายการครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 ตุลาคม 2012
  5. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 2

    พระขุนแผนพรายกุมารย้อนยุค รุ่นระฆังทอง
    แบบไม่ฝังตะกรุด จำนวนการจัดสร้าง 920 องค์

    (((ปิดรายการให้ คุณ
    ปรกโพธิ์ ครับ)))


    [​IMG]

    สนับสนุนโดย :

    พระครูวิจิตร ธัมมาภิรัติ (อ.เชย)เจ้าอาวาสวัดละหารไร่
    อาจารย์ชินพร สุขสถิตย์ประธานมูลนิธิหลวงปู่ทิม


    จัดสร้างพระโดย : คุณวุธจันทบุรี

    การ สร้างพระขุนแผนครั้งนี้ เพื่อนำรายได้สร้างระฆังวัดละหารไร่ และ ปูพื้นหินแกรนิตในพระมหาเจดีย์เป็นหลัก ถ้าจำนวนเงินเหลือมากน้อยเพียงใดหลังจากวัตถุประสงค์การสร้างพระมหาเจดีย์ แล้ว ส่วนที่เหลือครั้งหลังสุดก็จะนำไปช่วยผู้ประสบภัยมูลนิธิที่มาบตาพุด

    มวลสารในการผสมพระขุนแผนพรายกุมาร ชุดนี้

    1. น้ำที่สรง พระเขี้ยวแก้ว ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จากประเทศศรีลังกา ซึ่ง ทางคณะพระสงฆ์ไทย วัด ศรีบุญเรือน เดินทางไปขออัญเชิญ พระบรมธาตุงอก ที่งอกจากพระเขี้ยวแก้ว อัญเชิญมาประดิษฐาน ณ วัด ศรีบุญเรือน อ.เมือง จ.ลำปาง ซึ่ง พระชัยมงคล ชัยวงศ์สุรฤทธิ์ ท่านเป็นส่วนหนึ่งในการเดินทางไปอัญเชิญพระธาตุงอกที่งอกจากพระธาตุพระ เขี้ยวแก้ว ได้นำน้ำสรง พระเขี้ยวแก้วนี้มอบให้ผม (วุธ จันทบุรี) เพื่อนำน้ำศักดิ์สิทธิ์นี้มาผสมในการคลุกเคล้าในการทำพระขุนแผนในครั้งนี้ และได้มอบพระธาตุเสด็จที่ไปสถิตที่ต้นพระศรีมหาโพธิ์ให้ผมไว้บูชา ซึ่งผมมีหลักฐานซีดี ที่เป็นวีดีโอ บันทึกไว้

    2. น้ำพระพุทธมนต์ หลวงปู่ทิม ที่มูลนิธิ หลวงปู่ทิม (รัชโยธิน 42 กทม.) และ น้ำพระพุทธมนต์ หลวงปู่เกษม เขมโก จ.ลำปาง ซึ่งท่านปลุกเสกไว้ กำชับว่า ถ้าจะต่อน้ำพระพุทธมนต์ ให้อธิฐาน โดยนำน้ำพระพุทธมนต์ของท่านเทลงน้ำธรรมดา น้ำมนต์หลวงปู่เกษม พระชัยมงคลมอบให้ในการช่วยในการผสมคลุกเคล้าพระขุนแผนชุดนี้ด้วย

    3. ผงพรายกุมาร สีผึ้งเมตตา น้ำมันเสือ ผงวิเศษต่าง ๆ ของ หลวงปู่ทิม อิสริโก จำนวนมาก ที่ อาจารย์ชินพร สุขสถิตย์ได้เก็บรักษาไว้ (ฆารวาสผู้สร้างพระกริ่งชินบัญชรอันลือลั่น ซึ่งท่านเป็นศิษย์เอกครอบครูจากหลวงปู่ทิม) ซึ่งหลวงปู่ทิม ท่านสั่งกับ คุณชินพร ว่า ถ้าให้ช่วยอะไรให้บอกกล่าว นี่จะลงมาทำให้

    4. ผงดำสัตตะนาเค ของ หลวงปู่ทิม ซึ่งคุณประชา ตรีพาสัย นำมาให้ อาจารย์ชินพร เก็บไว้เพื่อสร้างพระเครื่องในวาระต่างๆ เพื่อทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และ สาธารณประโยชน์อื่นๆ ผงสัตตะนาเคนี้หลวงปู่ทิมท่านจารลบผงจนบังเกิดเองเป็นรูปพญานาคราช 7 เศียร

    5. มวลสาร ที่พระชัยมงคล มอบให้ พอสังเขป เท่าที่จำได้กระเบื้องโบสถ์วัดใหญ่ชัยมงคล, กระเบื้องโบสถ์สมัยหลวงปู่เกษมลงปาติโมกข์, พระโคนสมอ , พระ12ลำพูน , พระคง2หน้า , พระแก้วหลวงพ่อเจียง , พระลีลากรุกังชาราว , แก้วโป้งขาม , เหล็กน้ำพี้ , ผงสมเด็จหลวงปู่ปั่น , ผงสมเด็จหลวงปู่นาค , ผงสมเด็จพระครูมูล , กรุคู้สลอด , ผงหลวงปู่เกษม , ผงหลวงปู่แว่น , ผงหลวงปู่หลวง , ผงหลวงปู่ชุบ , ผงหลวงปู่คำปัน , ผงพระเครื่องพระภัททันตธัมมานันทมหาเถระ อัครมหาบัณฑิต และที่จำไม่ได้อีก........ฯว่านว่านกระแจะจันทร์ , ว่านกวักพุทธเจ้าหลวง , ว่านกวักนางพญามหาเศรษฐี , ว่านเศรษฐีกอบทรัพย์ , ว่านเสน่ห์จันทน์หอม , ว่านเสน่ห์จันทน์ทอง , ว่านเสน่ห์จันทน์ขาว , ว่านเสน่ห์จันทน์เขียว , ว่านเสน่ห์จันทน์แดง , ว่านเสน่ห์จันทน์โพธ์ , ว่านนางมาควดีหรือว่านมหาโชค , ว่านหงสาวดีหรือว่านมหาลาภ , ว่านมหากวัก , ว่านหนุมาน , ว่านเพ็ชรนารายณ์หรือว่านนารายณ์ , ว่านนางคุ้มหรือว่านผู้เฒ่าเฝ้าบ้าน , ว่านนกคุ้ม ,ว่านไชยมงคล , ว่านมหาปราบ , ว่านกุมารทอง , ว่านม้าห้อ ,พวกดอกมะลิที่บูชาพระบรมธาตุและว่านที่จำไม่ได้อีกเช่นกัน

    6. ผงสาริกาหลงรัง ของเจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน วัดปากน้ำแหลมสิงห์ มอบให้ ผมได้นำผงนี้ไปวางที่รูปปั้น ท่านพ่อสุ่น วัดปากน้ำแหลมสิงห์ เพื่อขอบารมีท่านพ่อช่วยปลุกเสกให้อีกครั้ง ท่านพ่อสุ่น วัดปากน้ำแหลมสิงห์ ท่านเป็นพระยุคฝรั่งเศสยึดเมืองจันทบุรีเป็นเมืองขึ้น เสด็จพ่อรัชกาลที่ 5 ทรงเสร็จไปกราบท่านที่วัด พระพุทธเจ้าหลวงทรงตรัสว่า ที่จันทบุรีมีพระเก่งมากอยู่องค์หนึ่ง ซึ่งมีหลักฐานบันทึกพระราชดำรัสของท่านไว้ในประวัติศาสตร์ เมื่อครั้งประพาสต้น เป็นที่ทราบกันดีของคนจันทบุรีว่า ท่านพ่อสุ่น เป็นพระที่เมตตา และ แก่กล้าในวิชาอาคมยิ่งนัก เป็นที่ครั่นคร้ามเกรงขามขยาดกลัวของทหารฝรั่งเศสยิ่งนัก เมื่อเรือรบฝรั่งเศสไม่สามารถแล่นเรือเข้าไปโจมตีในตัวเมืองจันทบุรีได้ เมื่อเรือหยุดชงักไปต่อไม่ได้เมื่อผ่านวัดท่านพ่อสุ่น เนื่องด้วยท่านพอหยุดเรือรบด้วยพระเวทอาคม แม้แต่เรือปืนไฟของฝรั่งเศสก็ยังยอมสยบมิอาจระเบิด เป็นที่อัศจรรย์อย่างยิ่ง เมื่อ กระสุน ตกลงที่ปลายกระบอกปืนใหญ่ ลูกกระสุ่นยิ่งเข้าใส่วัดท่านพ่อสุ่นแต่ก็หาโดนเข้าวัดได้ไม่และมิอาจจะ ระเบิดใดๆ ทหารฝรังเศสโดนท่านพ่อต่อยสลบเพียงหมัดเดียว หมัดของทหารฝรั่งหาโดนท่านพ่อไม่ ท่านพ่อรูดใบมะขามเป็นตัวต่อตัวแตน ทหารวิ่งหนีกระเจิง แม้แต่ หลวงพ่ออ่ำ วัดหนองกระบอก ท่านยังบอกกับศิษย์ท่านว่า ท่านไปเรียนวิชากระสุนคตกับหลวงพ่อสุ่น แม้แต่หลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ ซึ่งท่านให้ความนับถือ ท่านพ่อสุ่นมาก หลวงพ่ออี้ท่านนับถือเป็นอาจารย์และนับถื่อหลวงพ่อสุ่นเป็นศิษย์ผู้พี่ ซึ่งทั้งสอง เป็นศิษย์อาจารย์เดียวกัน คือ หลวงปู่จันทร์ วัดบางสะเก้า ยอดปรมาจารย์เฒ่า แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์

    7. ข้าวตอกพระร่วงที่ตำละเอียดจาก สุโขทัย ผงวิเศษ หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย ผงวิเศษของหลวงพ่อแย้ม วัดสามง่าม ศิษย์ ท่านพ่อแช่ม วัดตาก้อง มีผู้มอบให้

    8. ด้านหลังจะมีโลหะรูประฆังและจะมีโค๊ตตอกทับที่ระฆังเพื่อกันการปลอมแปลง โลหะรูประฆังนี้จะมีมวลสารผสมจากก้านช่อ พระกริ่งชินบัญชร หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่

    9. ผงพระเครื่องวิเศษตำป่นละเอียด ของ หลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส จันทบุรี และ ผงลูกอมขมิ้นชัน หลวงพ่อสีนวล วัดเกวียนหัก สองพระอริยสงฆ์พระเกจิอาจารย์ขมังเวทย์ผู้มีกายแข็งประดุจหิน มิเน่าเปื่อยใด ๆ

    10. ผงเขียวของหลวงปู่ทิมซึ่งโยมสายเก็บไว้มอบให้เจ้าของ ซึ่งเจ้าของจะมอบให้ผม เพื่อนำไปผสมพระเครื่องครั้งนี้

    11. แร่ธาตุตะกูลเหล็กไหล มีผู้จะส่งมอบให้ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในหัวชนวนผงวิเศษ

    12. ผงวิเศษ จาก คุณ เนาว์ นรญาณ ซึ่งมีผงวิเศษจำนวนมาก ซึ่งคุณเนาว์จะนำผงมาผสมในครั้งนี้ด้วย อาทิเช่น ผงเจ้าคุณนรรัตน์ ผงเจดีย์สมเด็จพระนเรศวร ผงโสฬสมหาพรหมหลวงปู่ทิม ผงบางขุนพรหม สีผึ้งของขุนพันธรักษ์ราชเดช ที่ท่านได้มามีอายุร่วม 200 ปี และ อื่น ๆ

    13. ข้าวตอกพระร่วงและขี้เหล็กไหล จากป่าภูงัว จ.หนองคาย ปลุกเสกจากหลวงปู่หลุย จันทะสาโร วัดถ้ำผาปิ้ง จ.เลย และ หลวงพ่อ จวน กุละเชฏโฐ วัดภูทอก จ.หนองคายฯลฯ


    พิธีปลุกเสกพระขุนแผนพรายกุมารรุ่นระฆังทองและรายชื่อพระที่ปลุกเสก

    1. พิธีหล่อระฆังวัดละหารไร่ หลวงพ่อสิน วัดละหารใหญ่ หลวงพ่อสาคร วัดหนองกรับ 16 ก.พ. 2553

    2. พิธีที่เมืองกาญจน์ หลวงพ่อพยุงค์ ศิษย์พ่อเฒ่ายิ้ม วัดขุนแผน 25 ก.พ. 2553

    3.พิธีเสาร์ห้า วัดหนองกรับ หลวงพ่อสาคร 20 มี.ค. 2553

    4. พิธีวัดวังสรรพรส หลวงพ่อฟู วัดบางสมัครและเกจิรวม 9รูป 8 เม.ย. 2553

    5. พิธีวัดน้อยชมภู่ หลวงปู่นาม สุพรรณบุรี 10 พ.ค. 2553 หลวงปู่นามบอกว่า "หลวงปู่ทิมเก่ง ท่านลงมาช่วยทำให้ด้วย พระนี่ดีแล้ว ดีดี"

    6. พิธีบวงสรวงพระอาจารย์คง และขุนแผนแสนสะท้านที่วัดแค อ.ชินพรเป็นเจ้าพิธี พระครูปลัดธรรมวงศานุวัตร เจ้าอาวาสวัดแค และพระลูกวัดสวดเจริญพระพุทธมนต์ รวม11รูป 11 พ.ค. 2553

    7. พิธีญสส.วัดบวร หลวงพ่อบัว วัดเกาะตะเคียน จ.ตราด ปลุกเสกเดี่ยว 25 พ.ค. 2553

    8. พิธีวัดละหารใหญ่ หลวงพ่อสิน ปลุถเสกเดี่ยว 7 วัน 17-23 มิ.ย. 2553

    9. พิธีบวงสรวงพระเจ้าตากสินมหาราช ณ.ค่ายตากสิน จ.จันทบุรี พิธีพุทธาภิเษกและเทวาภิเษก หลวงพ่อเขียน วัดกระทิง และพระเกจิต่างๆรวม 32 รูป 24 มิ.ย. 2553

    10. พิธีวัดกลางเก่า ต. ตรอกนอง อ.ขลุง จ.จันทบุรี พระครูปภัสสรสุทธิธรรม (เจริญ ปภสฺสโร) เจ้าคณะอำเภอขลุง สายธรรมยุต ศิษย์หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง จ.ภูเก็ต 29 มิ.ย.- 7 ก.ค. 2553


    จำนวนการสร้างพระขุนแผนรุ่นระฆังทอง มีดังนี้


    1. ขุนแผนไม่มีตะกรุด จำนวนการสร้าง 920 องค์
    2. ขุนแผนตะกรุดทองแดง จำนวนการสร้าง 500 องค์
    3. ขุนแผนชุดบรอนซ์ 3 กษัตริย์ ใส่ตะกรุดทองแดง บรอนซ์ ทองคำ เงิน นาค สร้าง 100 ชุด 1 ชุด 3 องค์ จำนวนการสร้าง 300 องค์(สามกษัตริย์) มวลสารเข้มข้น ผสมว่านดอกทอง
    4. ขุนแผนตะกรุดเงิน จำนวนการสร้าง 392 องค์ มวลสารเข้มข้น
    5. ขุนแผนตะกรุดทองคำ จำนวนการสร้าง 333 องค์
    6. ขุนแผนพิมพ์ 2 หน้า ตะกรุดเงิน จำนวนการสร้าง 108 องค์
    7. ตะกรุดทองแดง พิมพ์ 2 หน้า จำนวนการสร้าง 48 องค์ เป็นส่วนหนึ่งในการแจกฟรีสำหรับผู้ช่วยค่าบล็อค และ ผู้ที่ส่งมวลสารมาช่วย)


    พุทธคุณครบเครื่องทั้งเมตตา แคล้วคลาด โชคลาภ
    องค์นี้ผมเคยมีประสบการณ์ด้านเมตตาครับ
    ปิดรายการครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ตุลาคม 2012
  6. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
  7. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 3

    ลูกอมพระสังกัจจายน์เพิ่มทรัพย์
    ครูบาอริยชาติ อริยจิตโต วัดแสงแก้วโพธิญาณ จ.เชียงราย

    เนื้อทองแดง จัดสร้างประมาณปี พ.ศ.๒๕๕๑

    [​IMG]

    ครูบาอริยชาติ อริยจิตโต ท่านเป็นนักบุญแห่งแดนล้านนาในยุคปัจจุบัน ผู้มุ่งหวังเดินตามทางพระโพธิสัตว์ แห่งวัดแสงแก้วโพธิญาณ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย เป็นที่ทราบกันโดยทั่วของนักปฏิบัติทางในว่า ครูบาอริยชาติ เป็นขวัญหน้าของครูบาศรีวิชัย(ซึ่งบำเพ็ญบารมีเป็นพระโพธิสัตว์ เพื่อจะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาลนี้) เพื่อสร้างบารมีให้ใกล้แดนพุทธให้เร็วยิ่งขึ้น เรียกกันว่า "ครูบาใหญ่ อยู่ในกายครูบาเล็ก" ท่านจึงอยู่กรรมเจริญนิโรธสมาบัติ เป็นประจำทุกปี

    ครู บาอริยชาติ ปัจจุบันแม้ท่านจะอายุกาลพรรษายังไม่มาก แต่คุณธรรมและบารมีของท่านไม่ธรรมดาเลยครับ ท่านสร้างวัดได้ใหญ่โต ท่านสามารถรู้ล่วงหน้าและท่านยังเข้านิโรธกรรมเป็นประจำทุกปี เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ว่าจะคนใกล้ไกลแม้ว่าในจังหวัดเชียงรายเอง หรือต่างจังหวัดถ้ามีโอกาศมาที่ อ.แม่สรวย ก็จะหาโอกาศมากราบทำบุญกับท่านเสมอ เพราะบารมีของท่านปัจจุบันนี้ขจรขจายไปทั่วครับ

    [​IMG]

    นอกจากนี้ครูบาท่านยังศึกษาวิชาและศาสตร์ทางล้านนานมามากมายจากหลายอาจารย์ ได้แก่ ครูบาจันติ๊บ, ครูบาชุ่ม, ครูบาดวงดี, ครูบาจันทร์แก้ว, ครูบาอินตา, ครูบาผัด ฯลฯ นับว่าท่านเป็นพระอาจารย์ที่แม้อายุยังน้อย แต่คงแก่เรียนมาก วิชาทั้งหลายที่ท่านศึกษามาท่านได้ทดลองแล้วว่าทำได้จริง และช่วยสงเคราะห์ผู้คนได้จริง หายากแล้วในปัจจุบันที่จะมีผู้รู้จริงแบบท่านครับ ปัจจุบันครูบาท่านยังปฎิบัติธรรมตามรอย ครูบาเจ้าศรีวิชัย ที่ท่านเคารพและเทอดทูน ท่ามกลางกระแสของโลกที่มีทั้งคนนินทาและสรรเสริญ แต่คุณธรรมของท่านนับวันยิ่งปรากฎให้เห็นว่าท่านเป็นพระดีจริงครับ


    มีลูกเดียวแบ่งบูชา 200 บาทครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Sang_resize.jpg
      Sang_resize.jpg
      ขนาดไฟล์:
      344.7 KB
      เปิดดู:
      3,858
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 ตุลาคม 2012
  8. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 4

    เหรียญเสมารูปเหมือนเนื้อทองแดง
    รุ่นบรรจุหัวใจครูบาศรีวิชัยองค์ใหญ่ที่สุดในโลก
    ครูบาอริยชาติ อริยจิตโต วัดแสงแก้วโพธิญาณ จ.เชียงราย

    (((คุณ
    tawatd บูชาแล้วครับ)))


    [​IMG]

    ครูบาอริยชาติ ปัจจุบันแม้ท่านจะอายุกาลพรรษายังไม่มาก แต่คุณธรรมและบารมีของท่านไม่ธรรมดาเลยครับ ท่านสร้างวัดได้ใหญ่โต ท่านสามารถรู้ล่วงหน้าและท่านยังเข้านิโรธกรรมเป็นประจำทุกปี เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ว่าจะคนใกล้ไกลแม้ว่าในจังหวัดเชียงรายเอง หรือต่างจังหวัดถ้ามีโอกาศมาที่ อ.แม่สรวย ก็จะหาโอกาศมากราบทำบุญกับท่านเสมอ เพราะบารมีของท่านปัจจุบันนี้ขจรขจายไปทั่วครับ

    นอกจากนี้ครูบาท่านยังศึกษาวิชาและศาสตร์ทางล้านนานมามากมายจากหลายอาจารย์ ได้แก่ ครูบาจันติ๊บ, ครูบาชุ่ม, ครูบาดวงดี, ครูบาจันทร์แก้ว, ครูบาอินตา, ครูบาผัด ฯลฯ นับว่าท่านเป็นพระอาจารย์ที่แม้อายุยังน้อย แต่คงแก่เรียนมาก วิชาทั้งหลายที่ท่านศึกษามาท่านได้ทดลองแล้วว่าทำได้จริง และช่วยสงเคราะห์ผู้คนได้จริง หายากแล้วในปัจจุบันที่จะมีผู้รู้จริงแบบท่านครับ ปัจจุบันครูบาท่านยังปฎิบัติธรรมตามรอย ครูบาเจ้าศรีวิชัย ที่ท่านเคารพและเทอดทูน ท่ามกลางกระแสของโลกที่มีทั้งคนนินทาและสรรเสริญ แต่คุณธรรมของท่านนับวันยิ่งปรากฎให้เห็นว่าท่านเป็นพระดีจริงครับ


    [​IMG]

    เหรียญ นี้พุทธาภิเษกใน วันที่ 9 มกราคม 2554 เมื่อต้นปีที่ผ่านมา เนื่องในโอกาศอันเป็นมงคลคือการบรรจุหัวใจในรูปเหมือนครูบาศรีวิชัยองค์ใหญ่ ที่สุดในโลกที่ วัดแสงแก้วโพธิญาณ ครับ ด้านหน้าเป็นรูปเหมือนครูบาอริยชาติ ด้านหลังเป็นยันต์ประจำตัวของครูบาคือยันต์ยูงทองโพธิสัตว์ครับ

    ตำนานโมรปริตร(พญานกยูงทอง)

    [​IMG]

    สมัย ที่พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นนกยูงทอง ก่อนออกไปหากินในตอนเช้า จะต้องสวดโมรปริตรเสียก่อนและพอกลับมาในตอนเย็น ก็จะต้องสวดโมรปริตรอีกครั้งหนึ่ง ด้วยอำนาจแห่งโมรปริตรนั้นจึงทำให้นกยูงทองแคล้วคลาด จากภยันตรายทั้งปวง

    ท่านกล่าวกันว่า ครั้งหนึ่งพระเจ้าพรหมทัต สั่งให้จับนกยูงทองมาถวายเพราะพระอัครมเหสีใคร่จะทอดพระเนตร พวกนายพรานถึงแม้ว่าจะวางกับดักเพื่อจะจับนกยูงทองอย่างไรก็ตามแต่ก็หา สำเร็จไม่ บางครั้งพอนกยูงทองเข้ามาใกล้เครื่องดักเหล่านั้น ก็มีอันทำให้เครื่องดักเหล่านั้นล้มระเนระนาดลงไปเอง ดูเป็นที่น่าอัศจรรย์ ทั้งนี้ก็เป็นด้วยอานุภาพแห่งโมรปริตรที่นกยูงทองได้ สวดทุกเช้าค่ำนั่นเอง

    กล่าวฝ่ายพระอัครมเหสีของพระเจ้าพรหมทัต เมื่อไม่ได้ทอดพระเนตรนกยูงทองตามประสงค์ก็เสด็จทิวงคต ทำให้พระเจ้าพรหมทัตรู้สึกขัดเคืองพระราชหฤทัยเป็นที่ยิ่ง ด้วยทรงเห็นว่านกยูงทองเป็นต้นเหตุทำให้มเหสีของพระอ งค์ต้องมาถึงแก่ความตาย จึงหาอุบายที่จะฆ่านกยูงทองเสีย โดยได้แกล้งจารึกลงไปในแผ่นทองว่า

    "ถ้าผู้ใดได้กินเนื้อของนกยูงทอง ผู้นั้นจะไม่รู้จักแก่ ไม่รู้จักเจ็บ ไม่รู้จักตายเลย"

    เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว กษัตริย์องค์ต่อๆมาเมื่อพบคำจารึกนั้น ต่างก็ให้พวกนายพรานไปพยายามจับนกยูงทองตัวนั้นมาให้ ได้ แต่กาลล่วงเลยมาถึง 7 ช่วงกษัตริย์ก็ยังจับนกยูงทองนั้นไม่ได้ ทั้งนี้ก็เป็นด้วยอานุภาพของโมรปริตรคอยคุ้มครองป้องกันภัยให้กับนกยูงทอง ตัวนั้นอยู่

    จวบจนกระทั่งมาถึงกษัตริย์องค์ที่ 7 จึงได้มีนายพรานคนหนึ่ง ได้นำนางนกยูงไปล่อให้นกยูงทองนั้นลงมาที่เชิงเขา นกยูงทองพอได้ยินเสียงนางนกยูงร้องก็หลงใหลไปด้วยอำนาจแห่งกิเลส จึงลืมระลึกถึงมนตร์โมรปริตรดังที่ได้เคยปฏิบัติมา ผลปรากฏว่านกยูงทองเกิดไปติดบ่วงที่นายพรานดักไว้และถูกจับไปถวายพระราชาใน ที่สุด

    เมื่ออยู่ต่อหน้าพระราชา นกยูงได้ทูลถามถึงสาเหตุที่ทรงให้ดักจับ พระราชาก็ตรัสเล่าตามที่ปรากฏในคำจารึกนั้น นกยูงทองจึงทูลว่า "ทำไมพระองค์จึงทรงเชื่ออย่างนั้น ถ้าเนื้อของข้าพเจ้าวิเศษถึงกับทำให้คนกินไม่แก่ ไม่ตายจริงแล้ว ตัวข้าพเจ้าเองก็คงไม่ตายน่ะซิ แต่นี่ข้าพเจ้าเองยังต้องตาย ไฉนผู้กินเนื้อของข้าพเจ้าจะไม่ตายเล่า"

    หลังจากนกยูงทองได้เตือนสติพระราชาแล้ว ก็ได้แสดงให้เห็นอานิสงค์ของการไม่เบียดเบียนสัตว์ จนพระราชาเกิดความเลื่อมใส รับสั่งให้ปล่อยนกยูงทองไป และทรงออกหมายประกาศมิให้ผู้ใดทำร้ายสัตว์ในพระราชอาณาเขตของพระองค์อีกต่อ ไป เราจะเห็นได้ว่า ถึงแม้นกยูงทองจะถูกจับได้เพราะลิมสาธยายมนตร์แต่อาศัยที่ได้เคยสาธยายมนตร์ โมรปริตรมานาน จึงได้บันดาลให้ถูกปล่อยตัวในที่สุด

    ดังนั้นจึงเชื่อกันว่ามนตร์บทนี้มีผลทำให้ผู้สวดเกิด การแคล้วคลาดจากสรรพภัยภิบัติทั้งมวล จึงมีผู้นิยมสวดกันจนกระทั่งปัจจุบัน


    ผมมีอยู่เหรียญเดียว ตอกโค๊ด,รันหมายเลข เหรียญสวยมากครับ
    ปิดรายการครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ตุลาคม 2012
  9. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 5

    ผ้ายันต์รูปยูงทองโพธิสัตว์
    ครูบาอริยชาติ อริยจิตโต วัดแสงแก้วโพธิญาณ จ.เชียงราย
    เอาไว้ติดบ้านเรือนร้านค้า เป็นเมตตามหานิยม มหาโชคลาภครับ

    (((คุณ tawatd บูชาแล้วครับ)))

    [​IMG]

    ครูบาอริยชาติ ปัจจุบันแม้ท่านจะอายุกาลพรรษายังไม่มาก แต่คุณธรรมและบารมีของท่านไม่ธรรมดาเลยครับ ท่านสร้างวัดได้ใหญ่โต ท่านสามารถรู้ล่วงหน้าและท่านยังเข้านิโรธกรรมเป็นประจำทุกปี เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไม่ว่าจะคนใกล้ไกลแม้ว่าในจังหวัดเชียงรายเอง หรือต่างจังหวัดถ้ามีโอกาศมาที่ อ.แม่สรวย ก็จะหาโอกาศมากราบทำบุญกับท่านเสมอ เพราะบารมีของท่านปัจจุบันนี้ขจรขจายไปทั่วครับ

    นอกจากนี้ครูบาท่านยังศึกษาวิชาและศาสตร์ทางล้านนานมามากมายจากหลายอาจารย์ ได้แก่ ครูบาจันติ๊บ, ครูบาชุ่ม, ครูบาดวงดี, ครูบาจันทร์แก้ว, ครูบาอินตา, ครูบาผัด ฯลฯ นับว่าท่านเป็นพระอาจารย์ที่แม้อายุยังน้อย แต่คงแก่เรียนมาก วิชาทั้งหลายที่ท่านศึกษามาท่านได้ทดลองแล้วว่าทำได้จริง และช่วยสงเคราะห์ผู้คนได้จริง หายากแล้วในปัจจุบันที่จะมีผู้รู้จริงแบบท่านครับ ปัจจุบันครูบาท่านยังปฎิบัติธรรมตามรอย ครูบาเจ้าศรีวิชัย ที่ท่านเคารพและเทอดทูน ท่ามกลางกระแสของโลกที่มีทั้งคนนินทาและสรรเสริญ แต่คุณธรรมของท่านนับวันยิ่งปรากฎให้เห็นว่าท่านเป็นพระดีจริงครับ

    ตำนานโมรปริตร(พญานกยูงทอง)

    [​IMG]

    สมัย ที่พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นนกยูงทอง ก่อนออกไปหากินในตอนเช้า จะต้องสวดโมรปริตรเสียก่อนและพอกลับมาในตอนเย็น ก็จะต้องสวดโมรปริตรอีกครั้งหนึ่ง ด้วยอำนาจแห่งโมรปริตรนั้นจึงทำให้นกยูงทองแคล้วคลาด จากภยันตรายทั้งปวง

    ท่านกล่าวกันว่า ครั้งหนึ่งพระเจ้าพรหมทัต สั่งให้จับนกยูงทองมาถวายเพราะพระอัครมเหสีใคร่จะทอดพระเนตร พวกนายพรานถึงแม้ว่าจะวางกับดักเพื่อจะจับนกยูงทองอย่างไรก็ตามแต่ก็หา สำเร็จไม่ บางครั้งพอนกยูงทองเข้ามาใกล้เครื่องดักเหล่านั้น ก็มีอันทำให้เครื่องดักเหล่านั้นล้มระเนระนาดลงไปเอง ดูเป็นที่น่าอัศจรรย์ ทั้งนี้ก็เป็นด้วยอานุภาพแห่งโมรปริตรที่นกยูงทองได้ สวดทุกเช้าค่ำนั่นเอง

    กล่าวฝ่ายพระอัครมเหสีของพระเจ้าพรหมทัต เมื่อไม่ได้ทอดพระเนตรนกยูงทองตามประสงค์ก็เสด็จทิวงคต ทำให้พระเจ้าพรหมทัตรู้สึกขัดเคืองพระราชหฤทัยเป็นที่ยิ่ง ด้วยทรงเห็นว่านกยูงทองเป็นต้นเหตุทำให้มเหสีของพระอ งค์ต้องมาถึงแก่ความตาย จึงหาอุบายที่จะฆ่านกยูงทองเสีย โดยได้แกล้งจารึกลงไปในแผ่นทองว่า

    "ถ้าผู้ใดได้กินเนื้อของนกยูงทอง ผู้นั้นจะไม่รู้จักแก่ ไม่รู้จักเจ็บ ไม่รู้จักตายเลย"

    เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ว กษัตริย์องค์ต่อๆมาเมื่อพบคำจารึกนั้น ต่างก็ให้พวกนายพรานไปพยายามจับนกยูงทองตัวนั้นมาให้ ได้ แต่กาลล่วงเลยมาถึง 7 ช่วงกษัตริย์ก็ยังจับนกยูงทองนั้นไม่ได้ ทั้งนี้ก็เป็นด้วยอานุภาพของโมรปริตรคอยคุ้มครองป้องกันภัยให้กับนกยูงทอง ตัวนั้นอยู่

    จวบจนกระทั่งมาถึงกษัตริย์องค์ที่ 7 จึงได้มีนายพรานคนหนึ่ง ได้นำนางนกยูงไปล่อให้นกยูงทองนั้นลงมาที่เชิงเขา นกยูงทองพอได้ยินเสียงนางนกยูงร้องก็หลงใหลไปด้วยอำนาจแห่งกิเลส จึงลืมระลึกถึงมนตร์โมรปริตรดังที่ได้เคยปฏิบัติมา ผลปรากฏว่านกยูงทองเกิดไปติดบ่วงที่นายพรานดักไว้และถูกจับไปถวายพระราชาใน ที่สุด

    เมื่ออยู่ต่อหน้าพระราชา นกยูงได้ทูลถามถึงสาเหตุที่ทรงให้ดักจับ พระราชาก็ตรัสเล่าตามที่ปรากฏในคำจารึกนั้น นกยูงทองจึงทูลว่า "ทำไมพระองค์จึงทรงเชื่ออย่างนั้น ถ้าเนื้อของข้าพเจ้าวิเศษถึงกับทำให้คนกินไม่แก่ ไม่ตายจริงแล้ว ตัวข้าพเจ้าเองก็คงไม่ตายน่ะซิ แต่นี่ข้าพเจ้าเองยังต้องตาย ไฉนผู้กินเนื้อของข้าพเจ้าจะไม่ตายเล่า"

    หลังจากนกยูงทองได้เตือนสติพระราชาแล้ว ก็ได้แสดงให้เห็นอานิสงค์ของการไม่เบียดเบียนสัตว์ จนพระราชาเกิดความเลื่อมใส รับสั่งให้ปล่อยนกยูงทองไป และทรงออกหมายประกาศมิให้ผู้ใดทำร้ายสัตว์ในพระราชอาณาเขตของพระองค์อีกต่อ ไป เราจะเห็นได้ว่า ถึงแม้นกยูงทองจะถูกจับได้เพราะลิมสาธยายมนตร์แต่อาศัยที่ได้เคยสาธยายมนตร์ โมรปริตรมานาน จึงได้บันดาลให้ถูกปล่อยตัวในที่สุด

    ดังนั้นจึงเชื่อกันว่ามนตร์บทนี้มีผลทำให้ผู้สวดเกิด การแคล้วคลาดจากสรรพภัยภิบัติทั้งมวล จึงมีผู้นิยมสวดกันจนกระทั่งปัจจุบัน

    มีผืนเดียว
    ขนาดกว้าง 13 ซม. สูง 29 ซม.
    ปิดรายการครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ตุลาคม 2012
  10. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 6

    ลูกอมผงพรายกุมาร
    หลวงปู่ครูบาปัน โพธิรังสี วัดแม่ยะ จ.ตาก

    (((ปิดรายการให้ คุณ
    taobsd ครับ)))

    [​IMG]

    ลูกอมผงพรายกุมารของหลวงปู่ปัน วัดแม่ยะ ที่ลูกศิษย์ของท่านคือ คุณชินพร และคุณสุเทพ ได้นำผงพรายกุมารที่เหลือสะสมไว้จำนวนหนึ่ง หลังจากหลวงปู่ทิม วัดระหารไร่ ละสังขารแล้ว ด้นำผงนี้ไปมอบให้ หลวงปู่ปัน (ครูบาปัน โพธิรังสี) วัดแม่ยะ จังหวัดตาก เมื่อปี พ.ศ.2519 โดยสร้างเป็นลูกอมทาทองบรอนซ์และตอกโค้ดรูปยันต์ใบพัด ปลุกเสกเสร็จเรียบร้อยจึงแล้วนำออกให้บูชาที่วัดเมื่อปี 2521

    หลวง ปู่ปัน ท่านเป็นศิษย์ของ ครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา วัตถุมงคลของท่านมีดีที่เมตตาและโชคลาภครับ ปัจจุบันสายหลวงปู่ทิม เริ่มเสาะหาและเก็บตุนกันแล้ว ไม่ใช่แต่เพียงในประเทศ แม้แต่ต่างประเทศก็เริ่มให้ความสนใจกันแล้ว อีกหน่อยจะหายากและค่านิยมจะเพิ่มขึ้นอีกหลายเท่าตัว ตอนนี้ใครรู้แล้วก็หาเก็บๆกันไว้นะครับ

    ลูกอมของหลวงปู่ปัน วัดแม่ยะ นี้ สร้างตั้งแต่สมัยหลวงปู่ทิมมรณะภาพใหม่ๆ ผสมผงพรายกุมารเยอะมากๆเพราะตอนนั้นผงพรายกุมารยังมีเยอะและค่านิยมเล่นหา ยังไม่สูง ความนิยมยังไม่สูง จึงมีผงพรายกุมารผสมอยู่มาก ท่านที่ต้องการวัตถุมงคลที่ผสมผงพรายกุมารเข้มข้นพอๆกับยุคที่หลวงปู่ทิม สร้างเองไม่ควรพลาดครับ เป็นอีกชิ้นที่อยากแนะนำน่าใช้มากๆครับ


    เป็น อีกหนึ่งของดีราคาถูก ที่ใครหาผงพรายกุมารของ ลป.ทิม ไม่ได้ แนะนำเลยครับ ลูกอมนี้มีผงพรายกุมารเหมือนกันครับ บูชาได้สบายใจแถมสบายกระเป๋าด้วยครับ [​IMG]

    มีลูกเดียวเลี่ยมแสตนเลสให้พร้อมใช้ครับ
    ปิดรายการครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 ตุลาคม 2012
  11. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    ประวัติของหลวงปู่ปัน โพธิรังสี
    วัดแม่ยะ จ.ตาก
    (อายุ 102 ปี พรรษา 80)


    [​IMG]

    หลวง ปู่ปัน ได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ 15 ปี ก็ประมาณ พ.ศ. 2450 ที่วัดสันดอนรอม โดยมีครูบามาเป็นพระบรรพชา ให้ท่านอยู่วัดสันดอนรอม ไม่นานก็ย้ายไปอยู่วัดประตูลี้ หรือ วัดสังฆาราม ปัจจุบันนี้ ต่อมาพี่น้องของหลวงปู่ปันได้ขอร้องให้สึกเพื่อไปช่วยกันทำนา เพราะทางบ้านยากจนมาก แต่หลวงปู่ปันไม่สึก ได้ย้ายไปอยู่วัดชัยมงคล ขณะนั้นครูบาศรีวิชัยนักบุญแห่งลานนาไทย ได้มาเป็นประธานสร้างวิหารและเจดีย์พอดีท่านจึงถือโอกาสไปช่วยงานจนกระทั่ง อายุล่วงเข้า 22 ปี จึงได้อุปสมบท

    หลวง ปู่ปัน ท่านเป็นคนยากจนจึงไม่ได้อุปสมบทในเวลาอันควร เจ้าราชภาติกวงศ์เห็นว่า หลวงปู่ปันเป็นเณรโข่งก็สงสาร จึงเป็นเจ้าภาพอุปสมบทให้ โดยมี ครูบากัณฑา วัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน เป็นพระอุปัชฌาย์ และมีครูบากัณฑะวงศ์ กับ ครูบาตัน เป็นคู่สวด ท่านได้จำพรรษาอยู่วัดไชยมงคลหลายพรรษา จึงออกเดินทางมาอยู่จังหวัดตาก

    หลวงปู่ปัน ออกจากลำพูนมุ่งสู่จังหวัดลำปาง ต้องเดินทางผ่านดอยขุนตาลมา จนถึงจังหวัดลำปาง ได้พบกับหลวงปู่ฟ้าเยื้อนกำลังจะเดินทางไปนมัสการพระธาตุตะโก้ง ประเทศพม่าก็ขอเดินทางไปด้วย โดยเดินทางผ่านจังกวัดตากและเข้าประเทศพม่าทางอำเภอแม่สอด เมื่อไปนมัสการพระธาตุตะโก้งแล้ว ก็อยู่ในพม่าอีกหลายเดือน และได้กลับมาจังหวัดตาก ก่อนจะเข้าพรรษาในปีนั้นและได้กลับมาจำพรรษาอยู่วัดพร้าว อำเภอเมืองตาก จากนั้นไปวัดดงยาง อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก 1 พรรษา ต่อมาได้ไปอยู่วัดป่ายางกิ่ง อำเภอสามเงา จังหวัดตาก เมื่อเจ้าอาวาสวัดดงยางมรณภาพไป ทางวัดได้นิมนต์หลวงปู่ปันไปรักษาการแทนเจ้าอาวาสระยะหนึ่ง ต่อมาเมื่อทางวัดมีเจ้าอาสาวแล้ว หลวงปู่ปันก็ได้รับนิมนต์ไปอยู่วัดหัวบ้าน อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก (ขณะนี้เป็นวัดร้างไปแล้ว) ท่านอยู่ 2 พรรษาก็ป่วยเป็นไข้มาเลเรีย พระครูอินตา วัดป่ายางไปรับเอามารักษาตัวอยู่วัด แม่ยะ เมื่อหายดีแล้วก็เลยจำพรรษาอยู่ วัดแม่ยะ และอยู่ต่อมาจนกระทั่งเจ้าอาวาสวัดแม่ยะมรณภาพลง ท่านก็ได้เป็นเจ้าอาวาสแทนจนถึงปัจจุบันนี้ และได้มรณภาพที่วัดนี้สิริรวมอายุ 102 ปี พรรษา 80 รวมเวลาที่จำพรรษาที่วัดแม่ยะนี้ 64 ปี

    หลวงปู่ปัน ท่านชอบการศึกษาหาความรู้ทั้งทางอักษรศาสตร์โหราศาสตร์ และไสยศาสตร์ สมัยนั้นยังไม่มีโรงเรียนต้องไปหาครูเรียนที่วัด ท่านเรียนอักษรลานนา เมื่อบวชแล้วก็สวดปาฏิโมกข์ได้แม่นยำ สามารถสอนอักษรลานนาให้ลูกศิษย์ได้จำนวนมาก ท่านเดินทางไปพม่าหลายครั้ง ได้วิชาไสยาศาสตร์และโหราศาสตร์มาจากพม่า สามารถพูดภาษาพม่าได้ นอกจากนี้ยังมีความรู้ทางแพทย์แผนโบราณ ปรุงยาสมุนไพรช่วยรักษาผู้ป่วยได้ จนเป็นที่เลื่องลือของคนในละแวกนั้น ด้านการอบรมสั่งสอน ท่าน ได้อบรมศีลธรรม จารีตประเพณีให้แก่ศรัทธาประชาชนทั่วไป ตลอดจนญาติพี่น้อง จนทำให้การอบรมของท่านได้ผล ศรัทธาวัดแม่ยะ และหมู่บ้านใกล้เคียงใจบุญสุนทานมีความประพฤติปฏิบัติดี มีความสามัคคีกัน โจรผู้ร้ายไม่มีทุกคนมีความเชื่อถือในหลวงปู่ปันมาก ลูกศิษย์ของท่านเคารพยำเกรงขยันหมั่นเรียน จนเรียนจบชั้นสูงๆ ก้าวหน้าในการงาน บางคนได้ไปทำงานต่างประเทศ นำความผาสุกมาสู่ครอบครัว หมู่บ้านแม่ยะ จึงเป็นหมู่บ้านแผ่นดินทองแผ่นดินธรรมโดยแท้

    หลวงปู่ท่านมีความเมตตา กรุณา โอบอ้อมอารี ท่านช่วยเหลือผู้ที่มาของความช่วยเหลือเสมอ แม้ชาวเขาก็เคยลงมาขอความเมตตาจากท่านอยู่เสมอ แม้ว่าท่านจากลำพูนมานานแล้ว ท่านก็ยังไม่ลืมได้ไปทอดผ้าป่าทางโน้นอยู่เนืองนิตย์ ก่อนท่านจะมรณภาพ ท่านได้บริจาคเงินจำนวนหนึ่งช่วยสร้างเจดีย์วัดสังฆารามด้วย จึงนับว่าหลวงปู่ของเราเป็นนักบุญโดยแท้ ที่พวกเราจะลืมไม่ได้

    วาระสุดท้ายของชีวิต หลวงปู่ปัน ท่านป่วยด้วยโรคชรามีอาการอ่อนเพลีย และได้มรณภาพลงเมื่อวันที่ 6 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 สิริรวมอายุได้ 102 ปี.
     
  12. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 7

    พระขุนแผนเนื้อดินเผา ทาสีดำ (มีแบบทาสีทองด้วยครับ)
    หลวงปู่ครูบาดวงดี ยติโก วัดบ้านฟ่อน จ.เชียงใหม่

    (((คุณ
    twato บูชาแล้วครับ)))


    [​IMG]

    พระรุ่นนี้สร้างโดยพ่ออุ้ยหนานสม (คนที่่ผ่านการบวชมาแล้ว) ศิษย์ของหลวงปู่ครูบาดวงดี สร้างด้วยเนื้อดินเผาผสมผงมวลสารต่างๆที่เก็บสะสมมานาน สุมไฟเผาพระรุ่นนี้ภายในบริเวณวัดบ้านฟ่อน ด้านหลังองค์พระออฟชั่นเยอะครับ มีทั้ง เกศาของหลวงปู่ครูบาดวงดี, จีวร, ตะกรุด, พลอยเสก (พลอยกิ๋นบ่เสี้ยง) จากนั้นจารตัวเมืองด้านหลังกำกับ จากนั้นจึงถวายหลวงปู่ปลุกเสกครับ

    ปัจจุบัน หลวงปู่ท่านก็อายุกาลพรรษามากแล้ว (90 กว่าๆแล้วครับ) แต่ท่านก็ยังมีเมตตากับคนทุกชนชั้นที่มากราบทำบุญกับท่านเสมอ จนอาจจะเรียกได้ว่าถ้าพูดถึงพระอริยเจ้าเชียงใหม่ยุคปัจจุบันต้องมีชื่อ ท่านอยู่ด้วยครับ หลวงปู่ท่านสืบวิชาทางสายล้านนาเอาไว้มากเหมือนกัน วัตถุมงคลของท่านจึงเด่นเรื่องแคล้วคลาด และเมตตามหานิยมเป็นหลักครับ

    [​IMG]

    เดิมชื่อ ดวงดี สมด้วง
    เป็นบุตรของพ่อด้วง แม่คำป้อ สมด้วง
    เกิดที่บ้านฟ่อน หมู่ที่ ๒ ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชียงใหม่
    เมื่อ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๗
    มีพี่น้องร่วมท้องกันมามี ๔ คน คือ ๑. พ่อหนานเขียว ๒.แม่สา ๓.นางแฮ ๔.ครูบาดวงดี ยติโก เดิมชื่อ เด็กชายดวงดี สมด้วง พอมีอายุได้ ๑๒ ปี พ่อด้วง แม่คำป้อได้พาเอาเด็กชายดวงดี มาฝากเป็นลูกศิษย์ ครูบาอินตา สุทธิโก ได้เข้ามา ศึกษาเล่าเรียนกับท่านครูบาอินตาได้หนึ่งปี พออายุได้ ๑๓ ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณรได้ชื่อว่าสามเณรดวงดี สมด้วง โดยมีพระอธิการคำภีระ เป็นพระอุปัชฌาย์ ณ ที่วัดวุฑฒิราษฎร์ ( บ้านฟ่อน ) เมื่อวันที่ ๑๙ เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๗๑

    พอเป็นสามเณรแล้วก็ไม่นิ่งดูดาย และได้ศึกษาพระธรรมวินัย ทั้งปริยัติธรรม จนสามมารถ สอบนักธรรมชั้นโทได้ อยู่ต่อมาพออายุได้ ๒๐ ปี ถึงวาระที่จะอุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนาแล้ว
    แต่แล้วสามเณรดวงดี ได้เกิดอาพาธขึ้นมาเป็นเวลา ๕ ปี พอหายจากอาการอาพาธแล้ว อายุได้ ๒๕ ปี รู้สึกว่าสามเณรดวงดี สบายกายสบายใจแล้ว พ่อด้วง แม่คำป้อ และท่านเจ้าอาวาสก็ได้ปรึกษาหารือกันว่า สมควรแก่เวลาที่จะอุปสมบทสามเณรดวงดี เป็นพระภิกษุได้แล้วจึงได้อุปสมบทให้เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ โดยมี เจ้าอธิการอินถา อริโย วัดท้าวบุญเรืองเป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการโอ๊ด อภิชโย วัดตองกายเป็นพระกรรมวาจารย์ พระอธิการอินตา สุทธิโก วัดวุฑฒิราษฎร์ ( บ้านฟ่อน ) เป็นพระอนุสาวนาจารย์

    ได้รับฉายาว่า ยติโก

    อุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดโพธิ ( หนองควาย ) ขณะนั้นครูบาอินตาเป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านฟ่อนนี้

    เมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๒ -๒๔๙๒ ในสมัยนั้นมีพระอธิการคำมูล สิริวิชโย และครูบาดวงดี เป็นลูกศิษย์ หลังจากท่านครูบาอินตา มรณภาพลงก็มี พระอธิการคำมูล ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านฟ่อนแทนครูบาอินตา จนมาถึงปี พ.ศ.๒๕๒๕ พระอธิการคำมูล ได้มรณภาพลง
    ครูบาดวงดี ยติโก จึงได้รักษาการแทนเจ้าอาวาสจนถึงปี พ.ศ.๒๕๓๒
    หลวงปู่ท่านก็ได้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านฟ่อนเรื่อยมาจนถึงปัจจุบันนี้

    ครูบาดวงดีท่านเป็นพระนักพัฒนา และยังเป็นหมอยาแผนโบราณอีกด้วย โดยสมัยก่อนท่านทำยาแผนโบราณได้หลายอย่าง โดยท่านทำเองทั้งหมด ตั้งแต่ไปเก็บว่าน สมุนไพรต่างๆในป่า แล้วนำมาคั่วและบดทำเองทุกขั้นตอน รักษาชาวบ้านหายมานักต่อนักแล้วครับ หลวงปู่ท่านเป็นพระที่ปฏิบัติตนอยู่ในศีลในธรรมอย่างเคร่งครัด และได้คอยอบรมสั่งสอนพระเณรและศรัทธาญาติโยมของท่านอยู่มิขาด

    ท่านเป็นพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบมีจริยาวัตรอันงดงาม และเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังรูปหนึ่ง
    ที่มีศรัทธาญาติโยม มาเคารพสักการบูชา อยู่มิขาดได้ทุกวันโดยมีศรัทธาญาติโยมจากต่างตำบล ต่างอำเภอ ต่างจังหวัดเดินทางมาขอพรและประพรมน้ำพระพุทธมนต์มิได้ขาด

    ครูบาดวงดี ยติโก นับเป็นพระผู้มีอริยะคุณอันยอดเยี่ยมยิ่งที่หาได้ยากยิ่งแล้วในปัจจุบัน

    ใครอยากลองขุนแผนสายเหนือไว้บูชาติดบ้านติดตัวก็แนะนำองค์นี้เลยครับ แคล้วคลาด เมตตาครบเครื่องครับ


    ปล.ทั้งตะกรุด + รอยจารด้านหลัง อุ้ยหนานเป็นคนจารนะครับ ไม่ใช่หลวงปู่เพราะท่านอายุมากแล้วครับ

    ปิดรายการครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ตุลาคม 2012
  13. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 8

    ผ้ายันต์พระมหาจักรพรรตราธิราชเจ้า (สีเขียว)
    ท่านปู่พระอินทร์ - ท่านย่า
    พร้อมด้วยสมบัติจักรพรรดิ ๗ อย่าง

    ขนาดบูชา 9x9 นิ้ว

    (((คุณ tawatd บูชาแล้วครับ)))

    [​IMG]

    ผ้ายันต์พระมหาจักรพรรตราธิราชเจ้า จัดสร้างตามตำหรับโบราณเป็นพระยันต์ที่มีอานุภาพมากมาย ตามแบบฉบับวัดประดู่ทรงธรรม จ.พระนครศรีอยุธยา ในผ้ายันต์ประกอบด้วยภาพท่านปู่พระอินทร์-ท่านย่า พร้อมทั้งสมบัติจักรพรรดิทั้ง ๗ ประการคือ

    ๑.ช้างแก้ว ช้างของพระเจ้าจักรพรรดิมีกำลังมากมหาศาล
    ๒.ม้าแก้ว ม้าศึกของพระเจ้าจักรพรรดิ
    ๓.ขุนพลแก้ว ยอดขุนศึกของพระเจ้าจักรพรรดิ รบที่ใดไม่เคยแพ้
    ๔.ขุนคลังแก้ว เปรียบเสมือนคลังสมบัติของพระเจ้าจักรพรรดิ
    ๕.นางแก้ว นางคู่บารมีพระเจ้าจักรพรรดิ สิริโฉมงดงามที่สุดในแผ่นดิน
    ๖.จักรแก้ว อาวุธทิพย์ของพระเจ้าจักรพรรดิ สามารถบินไปปราบศัตรูได้ตามปราถนา
    ๗.แก้วจักรพรรดิ ปราถนาสิ่งใด อธิษฐานกับแก้วนี้ก็สำเร็จทุกประการ


    ผ้า ยันต์ชุดนี้มีทั้งหมด ๓ สี คือ สีเหลือง, สีเขียว และ สีชมพู เป็นผ้ายันต์ที่สร้างถวายแก่วัดต่างๆ เพื่อช่วยในงานก่อสร้างตามสาธารณกุศล

    ผ้ายันต์ชุดนี้ได้รับการอธิษฐานจิตโดย:

    ๑.สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) วัดสระเกศ กรุงเทพฯ
    ๒.สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง) วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
    ๓.หลวงปู่แผ้ว ปวโร วัดกำแพงแสน จ.นครปฐม
    ๔.พระครูธรรมธรเล็ก สุธัมมปัญโญ (พิธีเสาร์ 5 เป่ายันต์เกราะเพชร วันที่ 21 ม.ค. 2551)
    ๕.พระอาจารย์สมปอง สุธัมมสันตจิตโต อาศรมสบายใจ(บ้านสบายใจ) ต.ท่าซุง อ.เมือง จ.อุทัยธานี


    *ส่วน ผ้ายันต์ที่ผมนำมาให้บูชานี้เป็นส่วนที่ทางท่านเจ้าภาพได้ถวายไว้ที่ วัดถ้ำป่าอาชาทอง ซึ่ง ครูบาเหนือชัย โฆษิโต พระขี่ม้าบิณฑบาตร ท่านได้เมตตาอธิษฐานจิตซ้ำให้อีกครับ

    ทางคณะผู้จัดสร้างได้บอกมาว่า

    ผ้ายันต์สีเหลือง - เงินทอง โชคลาภ การค้า หน้าที่การงาน
    สีเขียว - มหาอำนาจ วาสนา เกียรติยศ
    สีชมพู - สมบัติจักรพรรดิของท่านปู่ท่านย่า


    คณะผู้จัดสร้างได้ยันต์นี้มาจากตำราโบราณ และมีคำกล่าวไว้ว่า

    "ณ สถานที่ใดมียันต์มหาจักรพรรดิและสมบัติพระเจ้าจักรพรรดิ สถานที่นั้นหรือบ้านเรือนนั้นและวงศ์ตระกูลจะมีแต่ความอุดมสมบูรณ์ มั่งคั่ง และสำเร็จสมความปรารถนาทุกประการ"

    มีให้บูชาผืนเดียวครับ
    ปิดรายการครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ตุลาคม 2012
  14. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 9

    เหรียญฉลองอายุ ๕๐ ปี พ.ศ.๒๕๓๘
    หลวงพ่อวิชัย เขมิโย วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย
    เนื้อโลหะกะไหล่ทอง


    (((คุณ tawatd บูชาแล้วครับ)))

    [​IMG][​IMG]

    หลวงพ่อวิชัย เขมิโย ท่านเป็นพระกรรมฐานที่ทรงคุณอีกรูปหนึ่งในปัจจุบัน ท่านพำนักจำพรรษาอยู่ที่วัดถ้ำผาจม ที่ อ.แ่ม่สาย จ.เชียงราย ท่านเป็นพระอีกรูปหนึ่งที่ หลวงตามหาบัว แห่งวัดป่าบ้านตาด กล่าวรับรองว่าเป็นเนื้อนาบุญของโลก ดังข้อความนี้

    อ้างอิง:
    <table border="0" cellpadding="6" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="alt2" style="border:1px inset"> อริยสงฆ์ที่ยังดำรงขันธ์อยู่..ที่หลวงตามหาบัว...กล่าวว่าเป็นเนื้อนาบุญของโลก..

    เรียบเรียงโดย แดนโลกธาตุ

    พระอริยสงฆ์ที่องค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (พระอรหันต์แห่งประวัติชาติไทยองค์ปัจจุบัน แห่งวัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ) ได้กล่าวถึงว่าท่านเหล่านี้ได้ปฏิบัติธรรมจนสามารถทำจิตให้บริสุทธิ์, และหมดแห่งกิจที่ควรทำแล้ว ก็จะมีครูบาอาจารย์ต่างๆในสายพระกรรมฐานสายหลวงปู่มั่นมากมาย ที่ท่านหลวงตามหาบัวได้กล่าวถึงประจำ แต่ในบางครั้งท่านเหล่านั้นจะไม่พูดว่าได้ขั้นไหน ๆ แล้วเพราะท่านอาจจะมองเห็นปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น คนมารุมตอม.ไม่เว้นแต่ละวันทำให้ท่านไม่ได้พักผ่อน

    ยกตัวอย่างเหตุการณ์ ในวันนั้นที่ข้าพเจ้าถามพระเถระพระป่า (ไม่ขอเอ่ยนามท่าน) ข้าพเจ้าถามว่า.....ดังนี้

    ..หลวงปู่เป็นพระอรหันต์หรอครับ....
    ท่านก็จะตอบว่า..........ดูเอานี่ไงหันซ้ายหันขวา..
    แล้วท่านก็.....จะทำท่าหันไปข้างซ้าย...หันไปข้างขวาให้เราดู...
    คนถามก็จะอดหัวเราะไปกับท่านไม่ได้ครับ........

    แล้วท่านก็เมตตาบอกว่า....ไม่สำคัญที่จะไปถามว่าพระรูปไหนสำเร็จอะไร เราจะไปกังวลถามทำไม....เราปฏิบัติเองเรารู้เอง..ไม่ต้องถามคนอื่น...ทิ้ง ท้ายท่านเมตตาบอกว่า

    แต่บุญที่ทำกับพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสนั้นได้กุศลมากเลยทีเดียวนะ....
    เหตุการณ์หนึ่งที่ผู้เขียนได้รับฟังมาจากหูโดยตรง....จากพระธรรมเทศฯองค์ หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ท่านได้รับรองว่าท่านนั้น ท่านนี้เป็นพระอริยบุคคลหมดกิเลส หลายรูปครับ

    ผู้เขียนจึงอดที่จะเอาเอาเทศนาของหลวงตามหาบัว นั้น มาให้ผู้อ่านรู้ด้วยไม่ได้ครับ ดังนี้ครับ........

    "พระหมดกิเลสในสายหลวงปู่มั่น นี้ก็ไม่ใช่น้อย แต่ท่านไม่เปล่งบอกใครเพราะเกี่ยวกับอรรถกับธรรมเห็นธรรมดีเลิศกว่า แต่ที่เราบอกเราก็ไม่ได้อวดอุตริ ใดๆ ทั้งสิ้น จริงคือจริงไม่มีปิดบัง ไม่สงสัยในธรรม ใครจะเอาตำราไหนมาอ้าง ก็ให้มันเอามาได้เลย ที่วัดป่าบ้านตาด เราไม่สะทกสะเทือน จะชี้แจงแถลงไขให้เข้าใจเอง เอ้าเชิญมา....."

    ที่ได้ฟังท่านเปรย ๆ มาก็พอจับใจความมาว่าท่านไหนได้แล้ว...เสียดายที่ไม่ได้อัดเทปไว้ครับ...


    และนี่ก็คือท่านเปรยว่าล้วนแล้วแต่เป็นพระอริยสงฆ์เนื้อนาบุญของโลกเลยทีเดียวท่านบอกว่า

    1. ท่านอาจารย์เจี๊ยะ จุนโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าภูริทัตปฏิปทาราม อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
    2. หลวงปู่ลี กุสลธโร วัดภูผาแดง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    3. หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร วัดป่าประชาชุมพลพัฒนาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี
    4. หลวงปู่ขาล ฐานวโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านเหล่า อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย
    5. พระอาจารย์แบน ธนากโร วัดดอยธรรมเจดีย์ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
    6. หลวงปู่หลวง กตปุญโญ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดคีรีสุบรรพต จ.ลำปาง
    7. อาจารย์เหรียญ วรลาโภ (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง) วัดอรัญบรรพต อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
    8. อาจารย์สมชาย ฐิตวิริโย (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง) วัดเขาสุกิม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    9. หลวงปู่หลอด ประโมทิโต วัดสิริกมลาวาส (วัดใหม่เสนานิคม) เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร
    10. หลวงปู่มหาเนียม สุวโจ วัดเจริญสมณกิจ (หลังศาลภูเก็ต ) อ.เมือง จ.ภูเก็ต
    11. หลวงปู่มหาเจิม ปัญญาพโล วัดสระมงคล อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม
    12. หลวงปู่ศรี มหาวีโร วัดประชาคมวนาราม อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด
    13. พระอาจารย์สายทอง เตชธัมโม วัดป่าห้วยกุ่ม (ใกล้เขื่อนจุฬาภรณ์ ) อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ
    14. หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป วัดป่าประทีปปุญญาราม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร
    15. พระอาจารย์ประสิทธิ์ ปุญมากโร วัดป่าหมู่ใหม่ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    16. พระอาจารย์เลี่ยม ฐิตธัมโม วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
    17. หลวงปู่ทา จารุธัมโม วัดถ้ำซับมืด จ.นครราชสีมา (มรณภาพแล้ว)
    18. พระอาจารย์เพียร วิริโย วัดป่าหนองกอง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    19. อาจารย์สาย เขมธัมโม วัดป่าพรหมวิหาร อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู
    20. อาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดอรัญวิเวก อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    21. หลวงปู่วิริยังค์ สิรินธโร วัดธรรมมงคล เขตพระโขนง จ.กรุงเทพมหานคร
    22. อาจารย์พวง สุขินทริโย วัดศรีธรรมมาราม อ.เมือง จ.ยโสธร
    23. หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถ้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู
    24. หลวงตาแตงอ่อน กัลป์ยาณธัมโม วัดป่าโชคไพศาล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร
    25. หลวงปู่บุญหนา ธัมทินโน วัดป่าโสตถิผล อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    26. หลวงปุ่บุญพิน กตปุญโญ วัดผาเทพนิมิตร อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร
    27. หลวงปู่ลี ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดเหสลึก อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    28. หลวงปู่แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    29. หลวงปู่บุญจันทร์ กมโล (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าสันติกาวาส อ.ไชยวาน จ.อุดรธานี
    30. หลวงปู่จันทร์ศรี จันททีโป วัดโพธิ์สมภรณ์ อ.เมือง จ.อุดรธานี
    31. พระอาจารย์ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน อ.เมือง จ.เลย
    32. พระอาจารย์อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    33. พระอาจารย์คำบ่อ ฐิตปัญโญ วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    34. พระอาจารย์อุทัย สิรินธโร วัดถ้ำพระ อ.เซกา จ.หนองคาย
    35. หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต สำนักสงฆ์สวนทิพย์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    36. พระอาจรย์วิไล เขมิโย วัดถ้ำพณาช้างเผือก อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ
    37. หลวงปู่จันทา ถาวโร วัดป่าเขาน้อย อ.วังทรายพูล จ.พิจิตร
    38. อาจารย์อ่ำ ธัมกาโม วัดธุดงคสถานสันติวรญาณ อ.วังโป่ง จ.เพรชบูรณ์
    39. หลวงปู่ถวิล จ.อุดรธานี (ไม่ทราบที่อยู่และฉายาท่าน)
    40. อาจารย์อินทร์ถวาย สันตุสโก วัดป่านาคำน้อย อ.นายูง จ.อุดรธานี
    41. อาจารย์วันชัย วิจิตโต วัดภูสังโฆ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    42. หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    43. อาจารย์เสน ปัญญาธโร วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    44. อาจารย์คำแพง อัตสันโต วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    45. พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    46. หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    47. อาจารย์เสน ปัญญาธโร วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    48. อาจารย์คำแพง อัตสันโต วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    49. พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    50. ท่านฤาษีลิงดำ (พระราชพรหมญาณ ) (ท่านมรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ ) วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี (หลวงปู่สิม เคยปรารภให้อาจารย์มหาบัวฟัง)
    51. หลวงปู่สังวาลย์ เขมโก จ.สุพรรณบุรี
    52. หลวงปู่วัดพระพุทธบาทตากผ้า (อันนี้หนังสือไม่ชัดครับเล่มนี้เก่ามากครับ )
    53. พระอาจารย์มหาโส กัสโป วัดป่าคำแคนเหนือ อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น
    54. หลวงปู่คำฟอง เขมจาโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดกุดเรือคำ อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร
    55. หลวงปู่บุญเพ็ง กัปโป วัดป่าวิเวกธรรม (วัดป่าช้าเหล่างา) อ.เมือง จ.ขอนแก่น
    56. หลวงปู่จันทร์แรม เขมสิริ วัดเกาะแก้วะดงคสถาน อ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย์
    57. คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) สำนักชีบ้านห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร
    58. พระอาจารย์ทุย (ปรีดา) ฉันทกโร วัดป่าดานวิเวก อ.โซ่พิสัย จ.หนองคาย
    59. พระอาจารย์สรวง สิริปุญโญ วัดป่าศรีฐานใน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร
    60. พระอาจารย์สาคร ธัมวุธโธ วัดป่ามณีกาญจ์ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
    61. พระอาจารย์จันทร์โสม กิตติกาโม วัดป่านาสีดา อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี (มรณภาพแล้ว)
    62. พระอาจารย์แยง สุขกาโม วัดเจติยาคีรีวิหาร (ภูทอก) อ.ศรีวิไล จ.หนองคาย
    63. หลวงปู่แฟ็บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร
    64. พระอาจารย์จันทร์เรียน คุณวโร วัดถ้ำสหายธรรมจันทร์นิมิตร อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    65. หลวงปู่ผาง โกสโล วัดภูหินแตก อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    66. หลวงปู่หล้า เขมปัตโต (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดบนนพตคีรี (ภูจ้อก้อ) อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร
    67. ท่านพระอาจารย์สิงทอง ธัมวโร(มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    68. หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร วัดถ้ำประทุน ต.เขาไม้แก้ว อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
    69. หลวงปู่ต้น สุทธิกาโม วัดบึงพลาราม ต.บ้านว่าน อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย
    70. หลวงปู่สมศักดิ์ ปัณฑิโต วัดบูรพาราม ( วัดหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ) ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์
    71. หลวงปู่ทอง จันทสิริ วัดอโศการาม ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการ
    72. หลวงปู่ทองใบ ปภสฺสโร สำนักวิปัสสนาธุระ (ภูย่าอู่) บ.นาหลวง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    73. หลวงปู่คูณ สุเมโธ วัดป่าภูทอง ต.บ้านผือ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    74. พระอาจารย์ฟัก สันติธัมโมวัดพิชัยพัฒนาราม ( วัดป่าเขาน้อยสามผาน ) ต.สองพี่น้อง อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    75. หลวงปู่สุทัศน์ โกสโล วัดกระโจมทอง ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
    76. หลวงปู่อ้ม สุขกาโม วัดภูผาผึ้ง อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร
    77. ท่านพระอาจารย์สุธรรม สุธัมโม วัดป่าหนองไผ่ ต.ดงมะไฟ อ.เมือง จ.สกลนคร
    78. ท่านพระอาจารย์หลอ นาถกโรวัดถ้ำอภัยดำรงธรรม(วัดถ้ำพวง วัดพระอาจารย์วัน อุตโม) อ.ส่องดาว จ.สกลนคร
    79. หลวงพ่อทองคำ กาญวันวัณโณ วัดถ้ำบูชา อ.เซกา จ.หนองคาย
    80. หลวงปู่ถิร ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดทิพยรัฐนิมิตร (วัดป่าบ้านจิก) อ.เมือง จ.อุดรธานี
    81. พระอาจารย์ทองอินทร์ กตปุญฺโญ วัดป่ากุง (วัดป่าประชาคมวนาราม ) อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด
    82. หลวงปู่เผย วิริโย วัดถ้ำผาปู่ ต.นาอ้อ จ.เลย
    83. หลวงปู่คำพอง ขันติโก วัดป่าอัมพวัน จ.เลย
    84. หลวงปู่อว้าน เขมโก วัดป่านาคนิมิตร อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
    85. ท่านพระอาจารย์วิชัย เขมิโย วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย

    [​IMG]
    86. พระอาจารย์บุญทัน ปุญทัตโต (ท่านเพิ่งจะมรณภาพ เดือน ธค.49 ) วัดป่าสามัคคีสันติธรรม อ.ฝาง จ.ขอนแก่น
    87. หลวงปู่พิศดู ธรรมจารีย์ วัดเทพธารทอง ต.พลวง กิ่งอ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี
    88. หลวงปู่เนย สมจิตฺโต วัดป่าโนนแสนคำ บ.ทุ่งคำ ต.เจริญศิลป์ อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร
    89. หลวงปู่สังข์ สังกิจโจ วัดป่าพระอาจารย์ตื้อ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    90. ท่านพระอาจารย์อุทัย ธมฺมวโร วัดภูย่าอู่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    91. หลวงปู่ประสาร สุมโน วัดป่าหนองไคร้ ต.หนองหิน อ.เมือง จ.ยโสธร
    </td> </tr> </tbody></table>
    เหรียญจริงสภาพสวยกว่าในรูปครับ ผมมีเหรียญเดียว
    ปิดรายการครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ตุลาคม 2012
  15. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 10

    เหรียญฉลองอายุ ๕๐ ปี พ.ศ.๒๕๓๘
    หลวงพ่อวิชัย เขมิโย วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย
    เนื้อโลหะกะไหล่เงิน

    (((คุณ tawatd บูชาแล้วครับ)))

    [​IMG]

    หลวงพ่อวิชัย เขมิโย ท่านเป็นพระกรรมฐานที่ทรงคุณอีกรูปหนึ่งในปัจจุบัน ท่านพำนักจำพรรษาอยู่ที่วัดถ้ำผาจม ที่ อ.แ่ม่สาย จ.เชียงราย ท่านเป็นพระอีกรูปหนึ่งที่ หลวงตามหาบัว แห่งวัดป่าบ้านตาด กล่าวรับรองว่าเป็นเนื้อนาบุญของโลก ดังข้อความนี้

    อ้างอิง:
    <table border="0" cellpadding="6" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="alt2" style="border:1px inset"> อริยสงฆ์ที่ยังดำรงขันธ์อยู่..ที่หลวงตามหาบัว...กล่าวว่าเป็นเนื้อนาบุญของโลก..

    เรียบเรียงโดย แดนโลกธาตุ

    พระอริยสงฆ์ที่องค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (พระอรหันต์แห่งประวัติชาติไทยองค์ปัจจุบัน แห่งวัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ) ได้กล่าวถึงว่าท่านเหล่านี้ได้ปฏิบัติธรรมจนสามารถทำจิตให้บริสุทธิ์, และหมดแห่งกิจที่ควรทำแล้ว ก็จะมีครูบาอาจารย์ต่างๆในสายพระกรรมฐานสายหลวงปู่มั่นมากมาย ที่ท่านหลวงตามหาบัวได้กล่าวถึงประจำ แต่ในบางครั้งท่านเหล่านั้นจะไม่พูดว่าได้ขั้นไหน ๆ แล้วเพราะท่านอาจจะมองเห็นปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น คนมารุมตอม.ไม่เว้นแต่ละวันทำให้ท่านไม่ได้พักผ่อน

    ยกตัวอย่างเหตุการณ์ ในวันนั้นที่ข้าพเจ้าถามพระเถระพระป่า (ไม่ขอเอ่ยนามท่าน) ข้าพเจ้าถามว่า.....ดังนี้

    ..หลวงปู่เป็นพระอรหันต์หรอครับ....
    ท่านก็จะตอบว่า..........ดูเอานี่ไงหันซ้ายหันขวา..
    แล้วท่านก็.....จะทำท่าหันไปข้างซ้าย...หันไปข้างขวาให้เราดู...
    คนถามก็จะอดหัวเราะไปกับท่านไม่ได้ครับ........

    แล้วท่านก็เมตตาบอกว่า....ไม่สำคัญที่จะไปถามว่าพระรูปไหนสำเร็จอะไร เราจะไปกังวลถามทำไม....เราปฏิบัติเองเรารู้เอง..ไม่ต้องถามคนอื่น...ทิ้ง ท้ายท่านเมตตาบอกว่า

    แต่บุญที่ทำกับพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสนั้นได้กุศลมากเลยทีเดียวนะ....
    เหตุการณ์หนึ่งที่ผู้เขียนได้รับฟังมาจากหูโดยตรง....จากพระธรรมเทศฯองค์ หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ท่านได้รับรองว่าท่านนั้น ท่านนี้เป็นพระอริยบุคคลหมดกิเลส หลายรูปครับ

    ผู้เขียนจึงอดที่จะเอาเอาเทศนาของหลวงตามหาบัว นั้น มาให้ผู้อ่านรู้ด้วยไม่ได้ครับ ดังนี้ครับ........

    "พระหมดกิเลสในสายหลวงปู่มั่น นี้ก็ไม่ใช่น้อย แต่ท่านไม่เปล่งบอกใครเพราะเกี่ยวกับอรรถกับธรรมเห็นธรรมดีเลิศกว่า แต่ที่เราบอกเราก็ไม่ได้อวดอุตริ ใดๆ ทั้งสิ้น จริงคือจริงไม่มีปิดบัง ไม่สงสัยในธรรม ใครจะเอาตำราไหนมาอ้าง ก็ให้มันเอามาได้เลย ที่วัดป่าบ้านตาด เราไม่สะทกสะเทือน จะชี้แจงแถลงไขให้เข้าใจเอง เอ้าเชิญมา....."

    ที่ได้ฟังท่านเปรย ๆ มาก็พอจับใจความมาว่าท่านไหนได้แล้ว...เสียดายที่ไม่ได้อัดเทปไว้ครับ...


    และนี่ก็คือท่านเปรยว่าล้วนแล้วแต่เป็นพระอริยสงฆ์เนื้อนาบุญของโลกเลยทีเดียวท่านบอกว่า

    1. ท่านอาจารย์เจี๊ยะ จุนโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าภูริทัตปฏิปทาราม อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
    2. หลวงปู่ลี กุสลธโร วัดภูผาแดง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    3. หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร วัดป่าประชาชุมพลพัฒนาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี
    4. หลวงปู่ขาล ฐานวโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านเหล่า อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย
    5. พระอาจารย์แบน ธนากโร วัดดอยธรรมเจดีย์ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
    6. หลวงปู่หลวง กตปุญโญ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดคีรีสุบรรพต จ.ลำปาง
    7. อาจารย์เหรียญ วรลาโภ (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง) วัดอรัญบรรพต อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
    8. อาจารย์สมชาย ฐิตวิริโย (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง) วัดเขาสุกิม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    9. หลวงปู่หลอด ประโมทิโต วัดสิริกมลาวาส (วัดใหม่เสนานิคม) เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร
    10. หลวงปู่มหาเนียม สุวโจ วัดเจริญสมณกิจ (หลังศาลภูเก็ต ) อ.เมือง จ.ภูเก็ต
    11. หลวงปู่มหาเจิม ปัญญาพโล วัดสระมงคล อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม
    12. หลวงปู่ศรี มหาวีโร วัดประชาคมวนาราม อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด
    13. พระอาจารย์สายทอง เตชธัมโม วัดป่าห้วยกุ่ม (ใกล้เขื่อนจุฬาภรณ์ ) อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ
    14. หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป วัดป่าประทีปปุญญาราม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร
    15. พระอาจารย์ประสิทธิ์ ปุญมากโร วัดป่าหมู่ใหม่ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    16. พระอาจารย์เลี่ยม ฐิตธัมโม วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
    17. หลวงปู่ทา จารุธัมโม วัดถ้ำซับมืด จ.นครราชสีมา (มรณภาพแล้ว)
    18. พระอาจารย์เพียร วิริโย วัดป่าหนองกอง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    19. อาจารย์สาย เขมธัมโม วัดป่าพรหมวิหาร อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู
    20. อาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดอรัญวิเวก อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    21. หลวงปู่วิริยังค์ สิรินธโร วัดธรรมมงคล เขตพระโขนง จ.กรุงเทพมหานคร
    22. อาจารย์พวง สุขินทริโย วัดศรีธรรมมาราม อ.เมือง จ.ยโสธร
    23. หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถ้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู
    24. หลวงตาแตงอ่อน กัลป์ยาณธัมโม วัดป่าโชคไพศาล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร
    25. หลวงปู่บุญหนา ธัมทินโน วัดป่าโสตถิผล อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    26. หลวงปุ่บุญพิน กตปุญโญ วัดผาเทพนิมิตร อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร
    27. หลวงปู่ลี ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดเหสลึก อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    28. หลวงปู่แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    29. หลวงปู่บุญจันทร์ กมโล (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าสันติกาวาส อ.ไชยวาน จ.อุดรธานี
    30. หลวงปู่จันทร์ศรี จันททีโป วัดโพธิ์สมภรณ์ อ.เมือง จ.อุดรธานี
    31. พระอาจารย์ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน อ.เมือง จ.เลย
    32. พระอาจารย์อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    33. พระอาจารย์คำบ่อ ฐิตปัญโญ วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    34. พระอาจารย์อุทัย สิรินธโร วัดถ้ำพระ อ.เซกา จ.หนองคาย
    35. หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต สำนักสงฆ์สวนทิพย์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    36. พระอาจรย์วิไล เขมิโย วัดถ้ำพณาช้างเผือก อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ
    37. หลวงปู่จันทา ถาวโร วัดป่าเขาน้อย อ.วังทรายพูล จ.พิจิตร
    38. อาจารย์อ่ำ ธัมกาโม วัดธุดงคสถานสันติวรญาณ อ.วังโป่ง จ.เพรชบูรณ์
    39. หลวงปู่ถวิล จ.อุดรธานี (ไม่ทราบที่อยู่และฉายาท่าน)
    40. อาจารย์อินทร์ถวาย สันตุสโก วัดป่านาคำน้อย อ.นายูง จ.อุดรธานี
    41. อาจารย์วันชัย วิจิตโต วัดภูสังโฆ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    42. หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    43. อาจารย์เสน ปัญญาธโร วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    44. อาจารย์คำแพง อัตสันโต วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    45. พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    46. หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    47. อาจารย์เสน ปัญญาธโร วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    48. อาจารย์คำแพง อัตสันโต วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    49. พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    50. ท่านฤาษีลิงดำ (พระราชพรหมญาณ ) (ท่านมรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ ) วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี (หลวงปู่สิม เคยปรารภให้อาจารย์มหาบัวฟัง)
    51. หลวงปู่สังวาลย์ เขมโก จ.สุพรรณบุรี
    52. หลวงปู่วัดพระพุทธบาทตากผ้า (อันนี้หนังสือไม่ชัดครับเล่มนี้เก่ามากครับ )
    53. พระอาจารย์มหาโส กัสโป วัดป่าคำแคนเหนือ อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น
    54. หลวงปู่คำฟอง เขมจาโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดกุดเรือคำ อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร
    55. หลวงปู่บุญเพ็ง กัปโป วัดป่าวิเวกธรรม (วัดป่าช้าเหล่างา) อ.เมือง จ.ขอนแก่น
    56. หลวงปู่จันทร์แรม เขมสิริ วัดเกาะแก้วะดงคสถาน อ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย์
    57. คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) สำนักชีบ้านห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร
    58. พระอาจารย์ทุย (ปรีดา) ฉันทกโร วัดป่าดานวิเวก อ.โซ่พิสัย จ.หนองคาย
    59. พระอาจารย์สรวง สิริปุญโญ วัดป่าศรีฐานใน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร
    60. พระอาจารย์สาคร ธัมวุธโธ วัดป่ามณีกาญจ์ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
    61. พระอาจารย์จันทร์โสม กิตติกาโม วัดป่านาสีดา อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี (มรณภาพแล้ว)
    62. พระอาจารย์แยง สุขกาโม วัดเจติยาคีรีวิหาร (ภูทอก) อ.ศรีวิไล จ.หนองคาย
    63. หลวงปู่แฟ็บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร
    64. พระอาจารย์จันทร์เรียน คุณวโร วัดถ้ำสหายธรรมจันทร์นิมิตร อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    65. หลวงปู่ผาง โกสโล วัดภูหินแตก อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    66. หลวงปู่หล้า เขมปัตโต (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดบนนพตคีรี (ภูจ้อก้อ) อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร
    67. ท่านพระอาจารย์สิงทอง ธัมวโร(มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    68. หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร วัดถ้ำประทุน ต.เขาไม้แก้ว อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
    69. หลวงปู่ต้น สุทธิกาโม วัดบึงพลาราม ต.บ้านว่าน อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย
    70. หลวงปู่สมศักดิ์ ปัณฑิโต วัดบูรพาราม ( วัดหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ) ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์
    71. หลวงปู่ทอง จันทสิริ วัดอโศการาม ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการ
    72. หลวงปู่ทองใบ ปภสฺสโร สำนักวิปัสสนาธุระ (ภูย่าอู่) บ.นาหลวง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    73. หลวงปู่คูณ สุเมโธ วัดป่าภูทอง ต.บ้านผือ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    74. พระอาจารย์ฟัก สันติธัมโมวัดพิชัยพัฒนาราม ( วัดป่าเขาน้อยสามผาน ) ต.สองพี่น้อง อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    75. หลวงปู่สุทัศน์ โกสโล วัดกระโจมทอง ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
    76. หลวงปู่อ้ม สุขกาโม วัดภูผาผึ้ง อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร
    77. ท่านพระอาจารย์สุธรรม สุธัมโม วัดป่าหนองไผ่ ต.ดงมะไฟ อ.เมือง จ.สกลนคร
    78. ท่านพระอาจารย์หลอ นาถกโรวัดถ้ำอภัยดำรงธรรม(วัดถ้ำพวง วัดพระอาจารย์วัน อุตโม) อ.ส่องดาว จ.สกลนคร
    79. หลวงพ่อทองคำ กาญวันวัณโณ วัดถ้ำบูชา อ.เซกา จ.หนองคาย
    80. หลวงปู่ถิร ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดทิพยรัฐนิมิตร (วัดป่าบ้านจิก) อ.เมือง จ.อุดรธานี
    81. พระอาจารย์ทองอินทร์ กตปุญฺโญ วัดป่ากุง (วัดป่าประชาคมวนาราม ) อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด
    82. หลวงปู่เผย วิริโย วัดถ้ำผาปู่ ต.นาอ้อ จ.เลย
    83. หลวงปู่คำพอง ขันติโก วัดป่าอัมพวัน จ.เลย
    84. หลวงปู่อว้าน เขมโก วัดป่านาคนิมิตร อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
    85. ท่านพระอาจารย์วิชัย เขมิโย วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย

    [​IMG]
    86. พระอาจารย์บุญทัน ปุญทัตโต (ท่านเพิ่งจะมรณภาพ เดือน ธค.49 ) วัดป่าสามัคคีสันติธรรม อ.ฝาง จ.ขอนแก่น
    87. หลวงปู่พิศดู ธรรมจารีย์ วัดเทพธารทอง ต.พลวง กิ่งอ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี
    88. หลวงปู่เนย สมจิตฺโต วัดป่าโนนแสนคำ บ.ทุ่งคำ ต.เจริญศิลป์ อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร
    89. หลวงปู่สังข์ สังกิจโจ วัดป่าพระอาจารย์ตื้อ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    90. ท่านพระอาจารย์อุทัย ธมฺมวโร วัดภูย่าอู่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    91. หลวงปู่ประสาร สุมโน วัดป่าหนองไคร้ ต.หนองหิน อ.เมือง จ.ยโสธร
    </td> </tr> </tbody></table>
    เหรียญจริงสภาพสวยกว่าในรูปครับ ผมมีเหรียญเดียว
    ปิดรายการครับ

    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ตุลาคม 2012
  16. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 11

    พระสมเด็จเกสรดอกไม้ หลังยันต์หัวใจเศรษฐี
    หลวงพ่อวิชัย เขมิโย วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย

    (((คุณ khachin บูชาแล้วครับ)))

    [​IMG]

    เป็นพระชุดที่สำคัญอีกชุดเพราะทาง วัดพึ่งค้นเจอครับ ตอนแรกนึกว่าหมดจากวัดไปนานแล้วเป็นรุ่นที่มีมวลสารเยอะมากแถมเป็นพระยุค ต้นๆของหลวงพ่อด้วยครับ

    หลวง พ่อวิชัย เขมิโย ท่านเป็นพระกรรมฐานที่ทรงคุณอีกรูปหนึ่งในปัจจุบัน ท่านพำนักจำพรรษาอยู่ที่วัดถ้ำผาจม ที่ อ.แ่ม่สาย จ.เชียงราย ท่านเป็นพระอีกรูปหนึ่งที่ หลวงตามหาบัว แห่งวัดป่าบ้านตาด กล่าวรับรองว่าเป็นเนื้อนาบุญของโลก ดังข้อความนี้

    อ้างอิง:
    <table border="0" cellpadding="6" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="alt2" style="border:1px inset"> อ้างอิง:
    อริยสงฆ์ที่ยังดำรงขันธ์อยู่..ที่หลวงตามหาบัว...กล่าวว่าเป็นเนื้อนาบุญของโลก..

    เรียบเรียงโดย แดนโลกธาตุ

    พระอริยสงฆ์ที่องค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (พระอรหันต์แห่งประวัติชาติไทยองค์ปัจจุบัน แห่งวัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ) ได้กล่าวถึงว่าท่านเหล่านี้ได้ปฏิบัติธรรมจนสามารถทำจิตให้บริสุทธิ์, และหมดแห่งกิจที่ควรทำแล้ว ก็จะมีครูบาอาจารย์ต่างๆในสายพระกรรมฐานสายหลวงปู่มั่นมากมาย ที่ท่านหลวงตามหาบัวได้กล่าวถึงประจำ แต่ในบางครั้งท่านเหล่านั้นจะไม่พูดว่าได้ขั้นไหน ๆ แล้วเพราะท่านอาจจะมองเห็นปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น คนมารุมตอม.ไม่เว้นแต่ละวันทำให้ท่านไม่ได้พักผ่อน

    ยกตัวอย่างเหตุการณ์ ในวันนั้นที่ข้าพเจ้าถามพระเถระพระป่า (ไม่ขอเอ่ยนามท่าน) ข้าพเจ้าถามว่า.....ดังนี้

    ..หลวงปู่เป็นพระอรหันต์หรอครับ....
    ท่านก็จะตอบว่า..........ดูเอานี่ไงหันซ้ายหันขวา..
    แล้วท่านก็.....จะทำท่าหันไปข้างซ้าย...หันไปข้างขวาให้เราดู...
    คนถามก็จะอดหัวเราะไปกับท่านไม่ได้ครับ........

    แล้วท่านก็เมตตาบอกว่า....ไม่สำคัญที่จะไปถามว่าพระรูปไหนสำเร็จอะไร เราจะไปกังวลถามทำไม....เราปฏิบัติเองเรารู้เอง..ไม่ต้องถามคนอื่น...ทิ้ง ท้ายท่านเมตตาบอกว่า

    แต่บุญที่ทำกับพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสนั้นได้กุศลมากเลยทีเดียวนะ....
    เหตุการณ์หนึ่งที่ผู้เขียนได้รับฟังมาจากหูโดยตรง....จากพระธรรมเทศฯองค์ หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ท่านได้รับรองว่าท่านนั้น ท่านนี้เป็นพระอริยบุคคลหมดกิเลส หลายรูปครับ

    ผู้เขียนจึงอดที่จะเอาเอาเทศนาของหลวงตามหาบัว นั้น มาให้ผู้อ่านรู้ด้วยไม่ได้ครับ ดังนี้ครับ........

    "พระหมดกิเลสในสายหลวงปู่มั่น นี้ก็ไม่ใช่น้อย แต่ท่านไม่เปล่งบอกใครเพราะเกี่ยวกับอรรถกับธรรมเห็นธรรมดีเลิศกว่า แต่ที่เราบอกเราก็ไม่ได้อวดอุตริ ใดๆ ทั้งสิ้น จริงคือจริงไม่มีปิดบัง ไม่สงสัยในธรรม ใครจะเอาตำราไหนมาอ้าง ก็ให้มันเอามาได้เลย ที่วัดป่าบ้านตาด เราไม่สะทกสะเทือน จะชี้แจงแถลงไขให้เข้าใจเอง เอ้าเชิญมา....."

    ที่ได้ฟังท่านเปรย ๆ มาก็พอจับใจความมาว่าท่านไหนได้แล้ว...เสียดายที่ไม่ได้อัดเทปไว้ครับ...


    และนี่ก็คือท่านเปรยว่าล้วนแล้วแต่เป็นพระอริยสงฆ์เนื้อนาบุญของโลกเลยทีเดียวท่านบอกว่า

    1. ท่านอาจารย์เจี๊ยะ จุนโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าภูริทัตปฏิปทาราม อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
    2. หลวงปู่ลี กุสลธโร วัดภูผาแดง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    3. หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร วัดป่าประชาชุมพลพัฒนาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี
    4. หลวงปู่ขาล ฐานวโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านเหล่า อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย
    5. พระอาจารย์แบน ธนากโร วัดดอยธรรมเจดีย์ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
    6. หลวงปู่หลวง กตปุญโญ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดคีรีสุบรรพต จ.ลำปาง
    7. อาจารย์เหรียญ วรลาโภ (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง) วัดอรัญบรรพต อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
    8. อาจารย์สมชาย ฐิตวิริโย (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง) วัดเขาสุกิม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    9. หลวงปู่หลอด ประโมทิโต วัดสิริกมลาวาส (วัดใหม่เสนานิคม) เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร
    10. หลวงปู่มหาเนียม สุวโจ วัดเจริญสมณกิจ (หลังศาลภูเก็ต ) อ.เมือง จ.ภูเก็ต
    11. หลวงปู่มหาเจิม ปัญญาพโล วัดสระมงคล อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม
    12. หลวงปู่ศรี มหาวีโร วัดประชาคมวนาราม อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด
    13. พระอาจารย์สายทอง เตชธัมโม วัดป่าห้วยกุ่ม (ใกล้เขื่อนจุฬาภรณ์ ) อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ
    14. หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป วัดป่าประทีปปุญญาราม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร
    15. พระอาจารย์ประสิทธิ์ ปุญมากโร วัดป่าหมู่ใหม่ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    16. พระอาจารย์เลี่ยม ฐิตธัมโม วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
    17. หลวงปู่ทา จารุธัมโม วัดถ้ำซับมืด จ.นครราชสีมา (มรณภาพแล้ว)
    18. พระอาจารย์เพียร วิริโย วัดป่าหนองกอง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    19. อาจารย์สาย เขมธัมโม วัดป่าพรหมวิหาร อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู
    20. อาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดอรัญวิเวก อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    21. หลวงปู่วิริยังค์ สิรินธโร วัดธรรมมงคล เขตพระโขนง จ.กรุงเทพมหานคร
    22. อาจารย์พวง สุขินทริโย วัดศรีธรรมมาราม อ.เมือง จ.ยโสธร
    23. หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถ้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู
    24. หลวงตาแตงอ่อน กัลป์ยาณธัมโม วัดป่าโชคไพศาล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร
    25. หลวงปู่บุญหนา ธัมทินโน วัดป่าโสตถิผล อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    26. หลวงปุ่บุญพิน กตปุญโญ วัดผาเทพนิมิตร อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร
    27. หลวงปู่ลี ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดเหสลึก อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    28. หลวงปู่แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    29. หลวงปู่บุญจันทร์ กมโล (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าสันติกาวาส อ.ไชยวาน จ.อุดรธานี
    30. หลวงปู่จันทร์ศรี จันททีโป วัดโพธิ์สมภรณ์ อ.เมือง จ.อุดรธานี
    31. พระอาจารย์ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน อ.เมือง จ.เลย
    32. พระอาจารย์อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    33. พระอาจารย์คำบ่อ ฐิตปัญโญ วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    34. พระอาจารย์อุทัย สิรินธโร วัดถ้ำพระ อ.เซกา จ.หนองคาย
    35. หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต สำนักสงฆ์สวนทิพย์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    36. พระอาจรย์วิไล เขมิโย วัดถ้ำพณาช้างเผือก อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ
    37. หลวงปู่จันทา ถาวโร วัดป่าเขาน้อย อ.วังทรายพูล จ.พิจิตร
    38. อาจารย์อ่ำ ธัมกาโม วัดธุดงคสถานสันติวรญาณ อ.วังโป่ง จ.เพรชบูรณ์
    39. หลวงปู่ถวิล จ.อุดรธานี (ไม่ทราบที่อยู่และฉายาท่าน)
    40. อาจารย์อินทร์ถวาย สันตุสโก วัดป่านาคำน้อย อ.นายูง จ.อุดรธานี
    41. อาจารย์วันชัย วิจิตโต วัดภูสังโฆ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    42. หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    43. อาจารย์เสน ปัญญาธโร วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    44. อาจารย์คำแพง อัตสันโต วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    45. พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    46. หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    47. อาจารย์เสน ปัญญาธโร วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    48. อาจารย์คำแพง อัตสันโต วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    49. พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    50. ท่านฤาษีลิงดำ (พระราชพรหมญาณ ) (ท่านมรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ ) วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี (หลวงปู่สิม เคยปรารภให้อาจารย์มหาบัวฟัง)
    51. หลวงปู่สังวาลย์ เขมโก จ.สุพรรณบุรี
    52. หลวงปู่วัดพระพุทธบาทตากผ้า (อันนี้หนังสือไม่ชัดครับเล่มนี้เก่ามากครับ )
    53. พระอาจารย์มหาโส กัสโป วัดป่าคำแคนเหนือ อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น
    54. หลวงปู่คำฟอง เขมจาโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดกุดเรือคำ อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร
    55. หลวงปู่บุญเพ็ง กัปโป วัดป่าวิเวกธรรม (วัดป่าช้าเหล่างา) อ.เมือง จ.ขอนแก่น
    56. หลวงปู่จันทร์แรม เขมสิริ วัดเกาะแก้วะดงคสถาน อ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย์
    57. คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) สำนักชีบ้านห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร
    58. พระอาจารย์ทุย (ปรีดา) ฉันทกโร วัดป่าดานวิเวก อ.โซ่พิสัย จ.หนองคาย
    59. พระอาจารย์สรวง สิริปุญโญ วัดป่าศรีฐานใน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร
    60. พระอาจารย์สาคร ธัมวุธโธ วัดป่ามณีกาญจ์ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
    61. พระอาจารย์จันทร์โสม กิตติกาโม วัดป่านาสีดา อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี (มรณภาพแล้ว)
    62. พระอาจารย์แยง สุขกาโม วัดเจติยาคีรีวิหาร (ภูทอก) อ.ศรีวิไล จ.หนองคาย
    63. หลวงปู่แฟ็บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร
    64. พระอาจารย์จันทร์เรียน คุณวโร วัดถ้ำสหายธรรมจันทร์นิมิตร อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    65. หลวงปู่ผาง โกสโล วัดภูหินแตก อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    66. หลวงปู่หล้า เขมปัตโต (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดบนนพตคีรี (ภูจ้อก้อ) อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร
    67. ท่านพระอาจารย์สิงทอง ธัมวโร(มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    68. หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร วัดถ้ำประทุน ต.เขาไม้แก้ว อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
    69. หลวงปู่ต้น สุทธิกาโม วัดบึงพลาราม ต.บ้านว่าน อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย
    70. หลวงปู่สมศักดิ์ ปัณฑิโต วัดบูรพาราม ( วัดหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ) ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์
    71. หลวงปู่ทอง จันทสิริ วัดอโศการาม ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการ
    72. หลวงปู่ทองใบ ปภสฺสโร สำนักวิปัสสนาธุระ (ภูย่าอู่) บ.นาหลวง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    73. หลวงปู่คูณ สุเมโธ วัดป่าภูทอง ต.บ้านผือ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    74. พระอาจารย์ฟัก สันติธัมโมวัดพิชัยพัฒนาราม ( วัดป่าเขาน้อยสามผาน ) ต.สองพี่น้อง อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    75. หลวงปู่สุทัศน์ โกสโล วัดกระโจมทอง ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
    76. หลวงปู่อ้ม สุขกาโม วัดภูผาผึ้ง อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร
    77. ท่านพระอาจารย์สุธรรม สุธัมโม วัดป่าหนองไผ่ ต.ดงมะไฟ อ.เมือง จ.สกลนคร
    78. ท่านพระอาจารย์หลอ นาถกโรวัดถ้ำอภัยดำรงธรรม(วัดถ้ำพวง วัดพระอาจารย์วัน อุตโม) อ.ส่องดาว จ.สกลนคร
    79. หลวงพ่อทองคำ กาญวันวัณโณ วัดถ้ำบูชา อ.เซกา จ.หนองคาย
    80. หลวงปู่ถิร ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดทิพยรัฐนิมิตร (วัดป่าบ้านจิก) อ.เมือง จ.อุดรธานี
    81. พระอาจารย์ทองอินทร์ กตปุญฺโญ วัดป่ากุง (วัดป่าประชาคมวนาราม ) อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด
    82. หลวงปู่เผย วิริโย วัดถ้ำผาปู่ ต.นาอ้อ จ.เลย
    83. หลวงปู่คำพอง ขันติโก วัดป่าอัมพวัน จ.เลย
    84. หลวงปู่อว้าน เขมโก วัดป่านาคนิมิตร อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
    85. ท่านพระอาจารย์วิชัย เขมิโย วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย

    [​IMG]
    86. พระอาจารย์บุญทัน ปุญทัตโต (ท่านเพิ่งจะมรณภาพ เดือน ธค.49 ) วัดป่าสามัคคีสันติธรรม อ.ฝาง จ.ขอนแก่น
    87. หลวงปู่พิศดู ธรรมจารีย์ วัดเทพธารทอง ต.พลวง กิ่งอ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี
    88. หลวงปู่เนย สมจิตฺโต วัดป่าโนนแสนคำ บ.ทุ่งคำ ต.เจริญศิลป์ อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร
    89. หลวงปู่สังข์ สังกิจโจ วัดป่าพระอาจารย์ตื้อ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    90. ท่านพระอาจารย์อุทัย ธมฺมวโร วัดภูย่าอู่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    91. หลวงปู่ประสาร สุมโน วัดป่าหนองไคร้ ต.หนองหิน อ.เมือง จ.ยโสธร
    </td> </tr> </tbody></table>
    มีองค์เดียว
    ปิดรายการครับ

    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2012
  17. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 12

    พระสมเด็จนะเมตตา
    กลุ่มศรัทธาสร้างธรรม สร้างถวาย พ.ศ.๒๕๓๗
    หลวงพ่อวิชัย เขมิโย วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย

    (((คุณ khachin บูชาแล้วครับ)))

    [​IMG]

    พระสมเด็จรุ่นนี้ทางวัดติดป้ายบอกไว้ ว่า 'เด่นทางเมตตามหานิยมและโชคลาภ' แต่จะอย่างไรก็ตามขอให้เป็นพระที่หลวงพ่อวิชัย ท่านได้เมตตาพุทธคุณก็ครอบคลุมแล้วครับ กระแสจิตของพระอริยเจ้าอธิษฐานอะไรก็ศักดิ์สิทธิ์ครับ

    หลวง พ่อวิชัย เขมิโย ท่านเป็นพระกรรมฐานที่ทรงคุณอีกรูปหนึ่งในปัจจุบัน ท่านพำนักจำพรรษาอยู่ที่วัดถ้ำผาจม ที่ อ.แ่ม่สาย จ.เชียงราย ท่านเป็นพระอีกรูปหนึ่งที่ หลวงตามหาบัว แห่งวัดป่าบ้านตาด กล่าวรับรองว่าเป็นเนื้อนาบุญของโลก ดังข้อความนี้

    อ้างอิง:
    <table border="0" cellpadding="6" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="alt2" style="border:1px inset"> อ้างอิง:
    อริยสงฆ์ที่ยังดำรงขันธ์อยู่..ที่หลวงตามหาบัว...กล่าวว่าเป็นเนื้อนาบุญของโลก..

    เรียบเรียงโดย แดนโลกธาตุ

    พระอริยสงฆ์ที่องค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน (พระอรหันต์แห่งประวัติชาติไทยองค์ปัจจุบัน แห่งวัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ) ได้กล่าวถึงว่าท่านเหล่านี้ได้ปฏิบัติธรรมจนสามารถทำจิตให้บริสุทธิ์, และหมดแห่งกิจที่ควรทำแล้ว ก็จะมีครูบาอาจารย์ต่างๆในสายพระกรรมฐานสายหลวงปู่มั่นมากมาย ที่ท่านหลวงตามหาบัวได้กล่าวถึงประจำ แต่ในบางครั้งท่านเหล่านั้นจะไม่พูดว่าได้ขั้นไหน ๆ แล้วเพราะท่านอาจจะมองเห็นปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น คนมารุมตอม.ไม่เว้นแต่ละวันทำให้ท่านไม่ได้พักผ่อน

    ยกตัวอย่างเหตุการณ์ ในวันนั้นที่ข้าพเจ้าถามพระเถระพระป่า (ไม่ขอเอ่ยนามท่าน) ข้าพเจ้าถามว่า.....ดังนี้

    ..หลวงปู่เป็นพระอรหันต์หรอครับ....
    ท่านก็จะตอบว่า..........ดูเอานี่ไงหันซ้ายหันขวา..
    แล้วท่านก็.....จะทำท่าหันไปข้างซ้าย...หันไปข้างขวาให้เราดู...
    คนถามก็จะอดหัวเราะไปกับท่านไม่ได้ครับ........

    แล้วท่านก็เมตตาบอกว่า....ไม่สำคัญที่จะไปถามว่าพระรูปไหนสำเร็จอะไร เราจะไปกังวลถามทำไม....เราปฏิบัติเองเรารู้เอง..ไม่ต้องถามคนอื่น...ทิ้ง ท้ายท่านเมตตาบอกว่า

    แต่บุญที่ทำกับพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสนั้นได้กุศลมากเลยทีเดียวนะ....
    เหตุการณ์หนึ่งที่ผู้เขียนได้รับฟังมาจากหูโดยตรง....จากพระธรรมเทศฯองค์ หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี ท่านได้รับรองว่าท่านนั้น ท่านนี้เป็นพระอริยบุคคลหมดกิเลส หลายรูปครับ

    ผู้เขียนจึงอดที่จะเอาเอาเทศนาของหลวงตามหาบัว นั้น มาให้ผู้อ่านรู้ด้วยไม่ได้ครับ ดังนี้ครับ........

    "พระหมดกิเลสในสายหลวงปู่มั่น นี้ก็ไม่ใช่น้อย แต่ท่านไม่เปล่งบอกใครเพราะเกี่ยวกับอรรถกับธรรมเห็นธรรมดีเลิศกว่า แต่ที่เราบอกเราก็ไม่ได้อวดอุตริ ใดๆ ทั้งสิ้น จริงคือจริงไม่มีปิดบัง ไม่สงสัยในธรรม ใครจะเอาตำราไหนมาอ้าง ก็ให้มันเอามาได้เลย ที่วัดป่าบ้านตาด เราไม่สะทกสะเทือน จะชี้แจงแถลงไขให้เข้าใจเอง เอ้าเชิญมา....."

    ที่ได้ฟังท่านเปรย ๆ มาก็พอจับใจความมาว่าท่านไหนได้แล้ว...เสียดายที่ไม่ได้อัดเทปไว้ครับ...


    และนี่ก็คือท่านเปรยว่าล้วนแล้วแต่เป็นพระอริยสงฆ์เนื้อนาบุญของโลกเลยทีเดียวท่านบอกว่า

    1. ท่านอาจารย์เจี๊ยะ จุนโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าภูริทัตปฏิปทาราม อ.สามโคก จ.ปทุมธานี
    2. หลวงปู่ลี กุสลธโร วัดภูผาแดง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    3. หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร วัดป่าประชาชุมพลพัฒนาราม อ.เมือง จ.อุดรธานี
    4. หลวงปู่ขาล ฐานวโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านเหล่า อ.เวียงเชียงรุ้ง จ.เชียงราย
    5. พระอาจารย์แบน ธนากโร วัดดอยธรรมเจดีย์ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
    6. หลวงปู่หลวง กตปุญโญ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดคีรีสุบรรพต จ.ลำปาง
    7. อาจารย์เหรียญ วรลาโภ (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง) วัดอรัญบรรพต อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
    8. อาจารย์สมชาย ฐิตวิริโย (มรณภาพแล้วยังไม่ประชุมเพลิง) วัดเขาสุกิม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    9. หลวงปู่หลอด ประโมทิโต วัดสิริกมลาวาส (วัดใหม่เสนานิคม) เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร
    10. หลวงปู่มหาเนียม สุวโจ วัดเจริญสมณกิจ (หลังศาลภูเก็ต ) อ.เมือง จ.ภูเก็ต
    11. หลวงปู่มหาเจิม ปัญญาพโล วัดสระมงคล อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม
    12. หลวงปู่ศรี มหาวีโร วัดประชาคมวนาราม อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด
    13. พระอาจารย์สายทอง เตชธัมโม วัดป่าห้วยกุ่ม (ใกล้เขื่อนจุฬาภรณ์ ) อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ
    14. หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป วัดป่าประทีปปุญญาราม อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร
    15. พระอาจารย์ประสิทธิ์ ปุญมากโร วัดป่าหมู่ใหม่ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    16. พระอาจารย์เลี่ยม ฐิตธัมโม วัดหนองป่าพง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี
    17. หลวงปู่ทา จารุธัมโม วัดถ้ำซับมืด จ.นครราชสีมา (มรณภาพแล้ว)
    18. พระอาจารย์เพียร วิริโย วัดป่าหนองกอง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    19. อาจารย์สาย เขมธัมโม วัดป่าพรหมวิหาร อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู
    20. อาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป วัดอรัญวิเวก อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    21. หลวงปู่วิริยังค์ สิรินธโร วัดธรรมมงคล เขตพระโขนง จ.กรุงเทพมหานคร
    22. อาจารย์พวง สุขินทริโย วัดศรีธรรมมาราม อ.เมือง จ.ยโสธร
    23. หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถ้ำกลองเพล อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู
    24. หลวงตาแตงอ่อน กัลป์ยาณธัมโม วัดป่าโชคไพศาล อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร
    25. หลวงปู่บุญหนา ธัมทินโน วัดป่าโสตถิผล อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    26. หลวงปุ่บุญพิน กตปุญโญ วัดผาเทพนิมิตร อ.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร
    27. หลวงปู่ลี ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดเหสลึก อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    28. หลวงปู่แปลง สุนทโร วัดป่าอุดมสมพร อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    29. หลวงปู่บุญจันทร์ กมโล (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าสันติกาวาส อ.ไชยวาน จ.อุดรธานี
    30. หลวงปู่จันทร์ศรี จันททีโป วัดโพธิ์สมภรณ์ อ.เมือง จ.อุดรธานี
    31. พระอาจารย์ท่อน ญาณธโร วัดศรีอภัยวัน อ.เมือง จ.เลย
    32. พระอาจารย์อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    33. พระอาจารย์คำบ่อ ฐิตปัญโญ วัดใหม่บ้านตาล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    34. พระอาจารย์อุทัย สิรินธโร วัดถ้ำพระ อ.เซกา จ.หนองคาย
    35. หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต สำนักสงฆ์สวนทิพย์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี
    36. พระอาจรย์วิไล เขมิโย วัดถ้ำพณาช้างเผือก อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ
    37. หลวงปู่จันทา ถาวโร วัดป่าเขาน้อย อ.วังทรายพูล จ.พิจิตร
    38. อาจารย์อ่ำ ธัมกาโม วัดธุดงคสถานสันติวรญาณ อ.วังโป่ง จ.เพรชบูรณ์
    39. หลวงปู่ถวิล จ.อุดรธานี (ไม่ทราบที่อยู่และฉายาท่าน)
    40. อาจารย์อินทร์ถวาย สันตุสโก วัดป่านาคำน้อย อ.นายูง จ.อุดรธานี
    41. อาจารย์วันชัย วิจิตโต วัดภูสังโฆ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    42. หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    43. อาจารย์เสน ปัญญาธโร วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    44. อาจารย์คำแพง อัตสันโต วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    45. พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    46. หลวงปู่มี (เกล้า) ประมุตโต วัดดอยเทพนิมิตร (วัดถ้ำเกีย ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    47. อาจารย์เสน ปัญญาธโร วัดป่าหนองแซง อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    48. อาจารย์คำแพง อัตสันโต วัดป่าหนองวัวซอ (วัดบุญญานุสรณ์ ) อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    49. พระอาจารย์ปัญญาวัฒโท (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    50. ท่านฤาษีลิงดำ (พระราชพรหมญาณ ) (ท่านมรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ ) วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี (หลวงปู่สิม เคยปรารภให้อาจารย์มหาบัวฟัง)
    51. หลวงปู่สังวาลย์ เขมโก จ.สุพรรณบุรี
    52. หลวงปู่วัดพระพุทธบาทตากผ้า (อันนี้หนังสือไม่ชัดครับเล่มนี้เก่ามากครับ )
    53. พระอาจารย์มหาโส กัสโป วัดป่าคำแคนเหนือ อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น
    54. หลวงปู่คำฟอง เขมจาโร (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดกุดเรือคำ อ.วานรนิวาส จ.สกลนคร
    55. หลวงปู่บุญเพ็ง กัปโป วัดป่าวิเวกธรรม (วัดป่าช้าเหล่างา) อ.เมือง จ.ขอนแก่น
    56. หลวงปู่จันทร์แรม เขมสิริ วัดเกาะแก้วะดงคสถาน อ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย์
    57. คุณแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) สำนักชีบ้านห้วยทราย อ.คำชะอี จ.มุกดาหาร
    58. พระอาจารย์ทุย (ปรีดา) ฉันทกโร วัดป่าดานวิเวก อ.โซ่พิสัย จ.หนองคาย
    59. พระอาจารย์สรวง สิริปุญโญ วัดป่าศรีฐานใน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร
    60. พระอาจารย์สาคร ธัมวุธโธ วัดป่ามณีกาญจ์ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
    61. พระอาจารย์จันทร์โสม กิตติกาโม วัดป่านาสีดา อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี (มรณภาพแล้ว)
    62. พระอาจารย์แยง สุขกาโม วัดเจติยาคีรีวิหาร (ภูทอก) อ.ศรีวิไล จ.หนองคาย
    63. หลวงปู่แฟ็บ สุภัทโท วัดป่าดงหวาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร
    64. พระอาจารย์จันทร์เรียน คุณวโร วัดถ้ำสหายธรรมจันทร์นิมิตร อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี
    65. หลวงปู่ผาง โกสโล วัดภูหินแตก อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    66. หลวงปู่หล้า เขมปัตโต (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดบนนพตคีรี (ภูจ้อก้อ) อ.หนองสูง จ.มุกดาหาร
    67. ท่านพระอาจารย์สิงทอง ธัมวโร(มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ)วัดป่าแก้วชุมพล อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร
    68. หลวงปู่อ่อนศรี ฐานวโร วัดถ้ำประทุน ต.เขาไม้แก้ว อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
    69. หลวงปู่ต้น สุทธิกาโม วัดบึงพลาราม ต.บ้านว่าน อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย
    70. หลวงปู่สมศักดิ์ ปัณฑิโต วัดบูรพาราม ( วัดหลวงปู่ดูลย์ อตุโล ) ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์
    71. หลวงปู่ทอง จันทสิริ วัดอโศการาม ต.ท้ายบ้าน อ.เมือง จ.สมุทรปราการ
    72. หลวงปู่ทองใบ ปภสฺสโร สำนักวิปัสสนาธุระ (ภูย่าอู่) บ.นาหลวง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    73. หลวงปู่คูณ สุเมโธ วัดป่าภูทอง ต.บ้านผือ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    74. พระอาจารย์ฟัก สันติธัมโมวัดพิชัยพัฒนาราม ( วัดป่าเขาน้อยสามผาน ) ต.สองพี่น้อง อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    75. หลวงปู่สุทัศน์ โกสโล วัดกระโจมทอง ต.วัดชลอ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี
    76. หลวงปู่อ้ม สุขกาโม วัดภูผาผึ้ง อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร
    77. ท่านพระอาจารย์สุธรรม สุธัมโม วัดป่าหนองไผ่ ต.ดงมะไฟ อ.เมือง จ.สกลนคร
    78. ท่านพระอาจารย์หลอ นาถกโรวัดถ้ำอภัยดำรงธรรม(วัดถ้ำพวง วัดพระอาจารย์วัน อุตโม) อ.ส่องดาว จ.สกลนคร
    79. หลวงพ่อทองคำ กาญวันวัณโณ วัดถ้ำบูชา อ.เซกา จ.หนองคาย
    80. หลวงปู่ถิร ฐิตธัมโม (มรณภาพแล้วอัฐิแปรเป็นพระธาตุ) วัดทิพยรัฐนิมิตร (วัดป่าบ้านจิก) อ.เมือง จ.อุดรธานี
    81. พระอาจารย์ทองอินทร์ กตปุญฺโญ วัดป่ากุง (วัดป่าประชาคมวนาราม ) อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด
    82. หลวงปู่เผย วิริโย วัดถ้ำผาปู่ ต.นาอ้อ จ.เลย
    83. หลวงปู่คำพอง ขันติโก วัดป่าอัมพวัน จ.เลย
    84. หลวงปู่อว้าน เขมโก วัดป่านาคนิมิตร อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร
    85. ท่านพระอาจารย์วิชัย เขมิโย วัดถ้ำผาจม จ.เชียงราย

    [​IMG]
    86. พระอาจารย์บุญทัน ปุญทัตโต (ท่านเพิ่งจะมรณภาพ เดือน ธค.49 ) วัดป่าสามัคคีสันติธรรม อ.ฝาง จ.ขอนแก่น
    87. หลวงปู่พิศดู ธรรมจารีย์ วัดเทพธารทอง ต.พลวง กิ่งอ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี
    88. หลวงปู่เนย สมจิตฺโต วัดป่าโนนแสนคำ บ.ทุ่งคำ ต.เจริญศิลป์ อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร
    89. หลวงปู่สังข์ สังกิจโจ วัดป่าพระอาจารย์ตื้อ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
    90. ท่านพระอาจารย์อุทัย ธมฺมวโร วัดภูย่าอู่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    91. หลวงปู่ประสาร สุมโน วัดป่าหนองไคร้ ต.หนองหิน อ.เมือง จ.ยโสธร
    </td> </tr> </tbody></table>
    มีองค์เดียว มาพร้อมกล่องเดิมๆครับ
    ปิดรายการครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2012
  18. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 13

    รูปหล่อพระเจ้าทันใจ (ก้นอุดผง) หน้าตักประมาณ 1 cm
    รุ่นฉลองสมโภชน์พระธาตุสันขวาง ปี ๕๓
    ก้นอุดผงและฝังพลอยโมซัมมิค
    หลวงปู่คำแสง อธิจิตโต วัดพระธาตุสันขวาง จ.เชียงราย


    เหลืออีก 2 องค์ครับ

    [​IMG][​IMG]

    พระเจ้าทันใจ ถือเป็นพระพุทธรูปสำคัญองค์หนึ่งในวัดพระธาตุสันขวาง โดยได้กระทำการสร้างแบบล้านนาโบราณแท้ๆ คือมีการขึ้นรูปองค์พระให้สำเร็จภายในหนึ่งคืน และมีการบรรจุหัวใจขององค์พระพร้อมกับบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ ภายในองค์พระพร้อมกับการสวดพุทธาภิเษกทั้งคืน การสร้างพระพุทธรูปแบบนี้ทางล้านนาเรียกว่า 'พระเจ้าทันใจ' หรือ 'พระเจ้าดั่งใจ๋' (พระพุทธรูปภาษาล้านนาเรียกกันว่า พระเจ้า) ซึ่งเป็นเคล็ดแห่งความสำเร็จทุกประการโดยฉับพลันนั้นเอง รูปหล่อพระเจ้าทันใจนี้ได้จำลองรูปแบบมาจากพระเจ้าทันใจที่วัดพระธาตุสัน ขวาง พุทธลักษณะขององค์พระเป็นแบบพระสิงห์ ๑ ล้านนา

    [​IMG]

    ส่วน หลวงปู่คำแสง อธิจิตโต ปัจจุบันท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดพระธาตุสันขวาง ปัจจุบันท่านอายุกาลพรรษา 94 ปีแล้วครับ เป็นพระปฎิับัติดีปฎิบัติชอบอีกรูปหนึ่งของ จ.เชียงราย ที่เข้าเกณฑ์ "ช้างเผือกย่อมอยู่ในป่า" จริงๆ ผมและเพื่อนสมัยที่ยังเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้พบและทำบุญกับท่านบ่อยๆ ได้พบปาฎิหารย์ของท่านก็มากครับ ซึ่งคนละแวกนั้นจะรู้กันดีว่าท่านเป็นพระที่ไม่ธรรมดาอีกรูปหนึ่งเลยครับ ปัจจุบันเกศากับฟันของธาตุก็กำลังแปรเป็นพระธาตุแล้วนะครับ

    พระ เจ้าทันใจลอยองค์ รุ่น 1 พระรุ่นนี้ปลุกเสกในงานฉลองสมโภชบูรณะองค์พระธาตุสันขวาง และเป็นรุ่นที่ผมคิดว่า หลวงปู่คำแสง ท่านตั้งใจมากๆครับ เพราะทางวัดจัดให้มีพิธีปลุกเสก 3 รอบ ในหนึ่งคืน และมีการสวดเบิกหรือสวดพุทธาภิเษกแบบล้านนาตลอดทั้งคืน โดยหมุนเวียนครูบาอาจารย์มาอธิษฐานจิต โดยทางวัดก็จะนิมนต์หลวงปู่ท่านมานั่งอธิษฐานให้แค่รอบเดียว เพราะท่านชรามากแล้ว (ตอนนั้นท่านอายุ 92 ปี)

    [​IMG]

    ซึ่ง พอจบรอบแรกท่านก็กลับเข้ากุฏิไป จนเวลาผ่านไปถึงพิธีปลุกเสกรอบที่ 2 น่าจะประมาณเที่ยงคืนตอนนั้นฝนตกลงมาหนักมาก แต่หลวงปู่ท่านกลับเปิดประตูออกมานั่งอธิษฐานจิตให้ต่อ พวกเราที่รู้ตกใจมากไม่นึกว่าท่านจะตั้งใจกับพิธีนี้ขนาดนี้ครับ จนเสร็จพิธีรอบ 2 ก็ดึกมากแล้ว พวกเราเลยนิมนต์ท่านเข้ากุฎิ พอท่านกลับเข้ากุฎิท่านยังหันมาถามว่าปลุกเสกรอบ 3 กี่โมง พวกเราไม่ยอมบอกท่าน บอกให้ท่านพักผ่อน ท่านก็เงียบแล้วเข้ากุฎิไป ปรากฎว่าพอรอบที่ 3 ท่านก็จะออกมาปลุกเสกให้อีก แต่ตอนนั้นฝนตกมากยังไม่ยอมหยุด พวกเราก็อ้อนวอนให้หลวงปู่ไม่ต้องออกมาเพราะกลัวท่านจะอาพาธ ท่านก็ตกลง แต่ท่านกลับไม่พักผ่อน กลับเดินไปนั่งสมาธิในกุฎิต่อซะอย่างนั้น (ผมเชื่อว่าท่านคงนั่งปรกให้ในกุฎิอีก) รุ่นนี้ถือว่าเป็นรุ่นที่น่าเก็บครับที่สุดของท่านเลยครับ

    รายชื่อครูบาอาจารย์องค์หลักๆที่นั่งปรกอธิษฐานจิต :

    1.หลวงปู่คำแสง อธิจิตโต วัดพระธาตุสันขวาง จ.เชียงราย
    2.ครูบาเหนือชัย โฆสิโต วัดถ้ำป่าอาชาทอง จ.เชียงราย
    3.ครูบาบุญยวง วัดฝั่งหมิ่น จ.เชียงราย
    4.ครูบาหล้า วัดถ้ำผาบ่อง จ.เชียงราย
    5.ครูบาดวงคำ ฐานิสสโร วัดป่าไม้แดง จ.เชียงใหม่
    6.หลวงพ่อทองพูน ปุญญกาโม วัดป่าอภัยวัน จ.ขอนแก่น


    รายละเอียดชนวนมวลสารต่างๆ :

    [​IMG]

    1.แผ่นทองจารและอธิษฐานจิตโดย หลวงปู่คำแสง วัดพระธาตุสันขวาง จ.เชียงราย
    2.แผ่นทองจารและอธิษฐานจิตโดย หลวงพี่บุญธรรม วัดพระธาตุสันขวาง จ.เชียงราย
    3.แผ่นทองจารและอธิษฐานจิตโดย พระครูบาเหนือชัยโฆษิโต วัดถ้ำป่าอาชาทอง จ.เชียงราย
    4.แผ่นทองจารและอธิษฐานจิตโดย พระอาจารย์พรชัย ฐิตชโย วัดพระธาตุแสนคำฟู อ.เชียงแสน จ.เชียงราย และชนวนมวลสารหล่อพระพุทธรูป และโลหะต่างๆที่พระอาจารย์ได้เก็บรวบรวมไว้
    5.แผ่นทองจารและอธิษฐานจิตโดย ครูบาหล้า วัดถ้ำผาบ่อง จ.เชียงราย
    6.แผ่นทอง เงิน ทองแดง จารและอธิษฐานจิตโดย พระอาจารย์อรุณ วัดร้องหลอด
    7.แผ่นทองจารและอธิษฐานจิตโดย หลวงตาม้า วัดถ้ำเมืองนะ
    8.ชนวนโลหะต่างๆที่หลวงพี่บุญธรรมสะสมจาก เชียงใหม่ - เชียงราย - ลำพูน - ลำปาง
    9.เจดีย์ทองเหลืองจำลองชำรุด 9 องค์


    [​IMG]

    องค์นี้เป็นเนื้อโลหะชุบทอง ก้นอุดผงและพลอยโมซัมมิค
    จำนวนจัดสร้างแบบอุดพลอยโมซัมมิค มีแค่ 199 องค์ครับ (น้อยมาก)
    แบ่งบูชา 2 องค์ องค์ละ 400 บาท
    ถือเป็นพระรุ่นสุดท้ายที่หลวงปู่ได้เมตตาอย่างเต็มที่ครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2012
  19. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 14

    พระผงรูปเหมือนหลังโต๊ะหมู่รุ่นแรก ติดจีวร
    หลวงปู่นนท์ วราโภ วัดเหนือวน จ.ราชบุรี

    (((คุณ อาณัติ จองแล้วครับ)))

    [​IMG]

    "พระครูวราโภคพินิต หรือหลวงปู่นนท์ วราโภ" พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งวัดเหนือวน ต.คุ้งน้ำวน จ.ราชบุรี อายุ 96 ปี พรรษา 76 ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส

    "หลวงปู่นนท์" เป็นประทีปธรรมของชาวบ้านคุ้งน้ำวนเป็นพระสุปฏิปันโนปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ท่านเชี่ยวชาญการเจริญสมาธิ วิปัสสนากัมมัฏฐาน กระทั่งเป็นที่กล่าวขานเลื่องลือในหมู่ศิษยานุศิษย์ผู้ชิดใกล้ ว่าท่านเป็นพระอริยสงฆ์ทรงคุณวิเศษหลายประการ มีจิตตานุภาพอยู่ในระดับสูง เป็นที่เคารพนับถือแม้ในหมู่พระเถระ

    พระเกจิอาจารย์ร่วมสมัยที่อยู่ในยุคเดียวกัน ยังยอมรับว่าท่านมีปฎิปทาเป็นเลิศงดงามด้วยศีลาจารวัตร เป็นที่ยกย่องสรรเสริญเป็นแบบอย่างของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาที่เพียบพร้อม สมบูรณ์ด้วยไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ และปัญญา ผู้ใดได้มีโอกาสไปกราบไหว้สักการบูชาอย่างใกล้ชิด จะเกิดความรู้สึกปิติใจที่ได้พบเห็นสมณะอันประเสริฐ และถ้าได้ร่วมบุญกุศลใดใดกับท่านแล้วอานิสงส์จะบังเกิดสมกับกุศลเจตนาโดยแท้

    [​IMG]

    หลวงปู่นนท์เกิดเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2453 ณ บ้านเตาอิฐ หมู่ที่ 1 ต.เตาอิฐ (ปัจจุบันคือ ต.วังเย็น) อ.บางแพ จ.ราชบุรี เป็นบุตรของนายพลอย นางคำ ศรีจันทร์สุก ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากหลวงพ่อเงิน เจ้าอาวาสวัดหนองม่วง

    นอกจากศึกษาเล่าเรียนเขียนอ่านอักขระตามสมัยนิยมแล้ว ยังได้รับการถ่ายทอดวิชาอาคมจากหลวงพ่อเงินอีกด้วย เพราะหลวงพ่อเงินเป็นพระเกจิอาจารย์อาคมขลังมีชื่อเสียงโด่งดังในยุคนั้น

    วัดหนองม่วงอยู่ในเขต อ.บางแพ จ.ราชบุรี เคยมีเจ้าอาวาสเป็นพระเกจิอาจารย์เรืองนามระดับแนวหน้าของเมืองไทยคือพระครู อนุรักษ์วรคุณ (หลวงพ่อสง่า) ภายหลังท่านย้ายไปจำพรรษาอยู่ที่วัดบ้านหม้อ อำเภอโพธารามและไปละสังขารที่วัดดังกล่าว เพราะเป็นวัดบ้านเกิดของท่าน หลวงพ่อสง่า วัดหนองม่วงเป็นสหธรรมิกรุ่นน้องหลวงพ่อนนท์ วัดเหนือวน มีความสนิทสนมกันเป็นอย่างดี

    หลวงปู่นนท์ในวัยเด็กได้มาเรียนหนังสือต่อที่วัดสัตตนารถปริวัตร อยู่ในตัวจังหวัดราชบุรี โดยพระครูใบฎีกา (วอน) วัดโสมนัสวิหาร กทม. เป็นผู้นำมาฝาก ในสมัยนั้นพระพุทธวิริยากร (จิตร) เป็นเจ้าอาวาส ต่อมาพระครูใบฎีกา (วอน) ย้ายมาจำพรรษาที่วัดเหนือวน

    เด็กชายนนท์จึงติดตามมาอยู่วัดเหนือวนด้วย และได้บรรพชาเป็นสามเณรเมื่อ พ.ศ.2470 โดยพระครูอุดมธีรคุณ (เงิน) วัดสัตนารถฯ เป็นพระอุปัชฌาย์ ศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมที่วัดสนามพราหมณ์ จังหวัดเพชรบุรี สอบได้นักธรรมตรี ขณะกำลังเรียนนักธรรมชั้นโทพระครูใบฎีกา (วอน) เจ้าอาวาสวัดเหนือวน อาพาธหนัก สามเณรนนท์จึงกลับมาดูแลอาการของพระอาจารย์กระทั่งมรณภาพ สามเณรนนท์จึงจำพรรษาอยู่ที่วัดเหนือวนตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา

    นับว่าเป็นโชควาสนาของท่านขณะที่อยู่วัดเหนือวน หลวงปู่บุดดา ถาวโร วัดกลางชูศรีเจริญสุข จ.สิงห์บุรี พร้อมด้วยพระสหธรรมิกได้ธุดงควัตรผ่านมา และจำพรรษาอยู่ที่วัดเหนือวน สามเณรนนท์จึงได้มีโอกาสฝึกฝนการเจริญกัมมัฏฐานตามแบบฉบับของหลวงปู่บุดดา พระอริยสงฆ์ที่ทรงคุณด้านวิปัสสนาธุระเป็นที่ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั่ว ประเทศ

    เมื่ออายุครบ 20 ปี พ.ศ.2474 จึงอุปสมบท โดยพระครูอุดมธีรคุณ (เงิน) วัดสัตตนารถปริวัตร เป็นพระอุปัชฌาย์

    (ภายหลังได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะที่พระธรรมเสนานี (เงิน) พระครูเมธีธรรมานุยุติ (เม้ย) วัดลาดเมธังกรเป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอธิการเฉื่อย วัดเหนือวน เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า "วราโภภิกขุ"

    พ.ศ.2500 ท่านได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดเหนือวนแทนหลวงพ่อเฉื่อยที่มรณภาพ ด้วยโรคชรา ขณะนั้นหลวงปู่นนท์อายุ 47 ปี พรรษา 26 ได้ใช้ความรู้ความสามารถที่มีสร้างศรัทธาหลอมรวมใจของชาวบ้านให้มาช่วยกัน พัฒนาวัดเหนือวน กระทั่งมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับ วัดเหนือวนในปัจจุบันสะอาด สงบ ร่มเย็น มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยเป็นที่เจริญศรัทธายิ่งนัก


    การมรณภาพ

    หลังจากถูกโรครุมเร้าจนต้อง<wbr>เข้าๆ ออกๆ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กรุงเทพมหานคร อยู่ประมาณ 3 เดือน โดยอยู่ในความอุปถัมภ์ของสม<wbr>เด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ

    ท่านก็ละสังขารลงอย่างสงบด้<wbr>วยโรคชรา ในเวลาประมาณ 4 โมงเย็น ของวันพุธที่ 10 มกราคม พ.ศ.2550 ท่ามกลางความโศกเศร้าของศิษ<wbr>ยานุศิษย์และพุทธศาสนิกชนทั<wbr>่วไปเป็นยิ่งนัก สิริอายุรวม 96 ปี 9 เดือน 19 วัน พรรษา 76 กำหนดพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ<wbr> วันที่ 11 มกราคม ณ วัดเหนือวน

    ถึงหลวงปู่นนท์จะจากไป แต่ชาวบ้านและลูกศิษย์ที่เค<wbr>ารพนับถือทั้งหลายต่างเชื่อ<wbr>มั่นในความศักดิ์สิทธิ์ที่ท<wbr>่านแสดงให้เห็น และสร้างความมั่นใจว่าหลวงป<wbr>ู่นนท์ยังอยู่ในใจ และคอยปกป้องรักษาคุ้มภัยช่<wbr>วยเหลือทุกคน


    มีองค์เดียวแบ่งบูชาองค์ละ 200 บาท พร้อมเลี่ยมกรอบแสตนเลสครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 ธันวาคม 2012
  20. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,156
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,352
    รายการที่ 15

    ลูกนิมิตจำลอง
    หลวงพ่อพระมหาอาวรณ์ ภูริปัญโญ วัดปันเสา จ.เชียงใหม่

    (((ปิดรายการครับ)))

    [​IMG]

    หลวงพ่อพระมหาอาวรณ์ ท่านเป็นพระนักเทศน์ นักปฎิบัติชื่อดังแห่งเมืองเชียงใหม่ ท่านเป็นผู้ที่บูรณะวัดปันเสา จากวัดร้างกลางเมืองเชียงใหม่จนกลายเป็นวัดที่เจริญรุ่งเรืองและมีผู้คนแวะ เวียนมาปฎิบัติธรรมไม่ขาดสาย ดูเผินๆท่านอาจจะเหมือนพระภิกษุหนุ่มธรรมดาๆองค์หนึ่ง แต่ทว่ากลับเป็นเช่นนั้นไม่ เพราะเมื่อที่ท่านได้พรมน้ำมนต์ไปยังที่ใดจะมี 'พระธาตุ' เสด็จออกมาจากโถน้ำมนต์ทุกๆครั้ง หรือแม้แต่บางครั้งพระธาตุก็ยังเสด็จมาบนพื้นวิหารในวัดบ่อยครั้งจนเป็น เรื่องปกติชินตา ถึงขนาดมีรายการหนึ่งบุกไปพิสูจน์มาแล้ว (วู้ดดี้เกิดมาคุย) ก็ยังหาคำตอบไม่ได้ว่าพระธาตุเหล่านั้นมาจากไหน

    [​IMG]

    เรื่อง นี้ผมเคยไปพิสูจน์มาแล้ว เคยแวะไปเที่ยวอยู่หลายครั้งแต่ไม่เคยพบท่าน แต่พื้นวิหารที่ไม่มีอะไร หลังจากก้มกราบองค์พระประธานเสร็จแล้วสักพัก ก็จะเห็นวัตถุใสๆสีสันแพรวพราวตกอยู่ตรงพื้นประมาณ 10 องค์ ซึ่งเป็นเรื่องน่าแปลก เพราะก่อนจะก้มกราบพระประธานผมมองดูทั่วด้านหน้าตัวเองแล้ว ว่าไม่มีอะไรแน่ๆ เรื่องนี้คงต้องพิสูจน์ด้วยตัวท่านเองแล้วครับ

    ลูกนิมิตจำลองวัดปันเสาเนื้อผงปิดทอง
    ปิดรายการครับ
    ช่วยค่าส่ง EMS 50 บาทครับผม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ธันวาคม 2012
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...