พระพุทธเจ้า 5 พระองค์

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย thaiboy74, 1 พฤษภาคม 2011.

  1. thaiboy74

    thaiboy74 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    175
    ค่าพลัง:
    +207
    [FONT=&quot]บทความนี้เป็นการรวบรวม อ้างอิงจากหลาย ๆ แหล่ง เนื่องจากทางผมเห็นว่าเรื่องเหล่านี้ หาอ่านได้ค่อนข้างยากในเวป[/FONT]
    [FONT=&quot]และมักถูกกล่าวอ้างไปทางอิทธิฤทธิ์ เลยอยากให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงที่มาที่ไป และมองถึงความแตกต่าง[/FONT]
    [FONT=&quot]ที่มาที่ไปของความเชื่อเหล่านี้ด้วยปัญญา[/FONT]

    [FONT=&quot]ผมพบว่าเคยมีคนเอารายละเอียดเรื่องประวัติพระพุทธเจ้า [/FONT]5 [FONT=&quot]พระองค์ลงไว้แล้ว ตรงนี้เลยจะขอข้ามไป หาดูได้ใน[/FONT]

    http://palungjit.org/threads/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2-5-%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C.207891/

    [FONT=&quot]ทั้งนี้ ในการศึกษาเรื่องพระพุทธเจ้า [/FONT]5 [FONT=&quot]พระองค์นั้นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]ทั้งในมหายาน และเถรวาทก็ล้วนเชื่อตรงนี้เหมือน ๆ กัน แต่ความเชื่อส่วนใหญ่ที่ถูกกล่าว[/FONT]
    [FONT=&quot]และอ้างอิงมักเป็นความเชื่อที่ถูกพัฒนามาในสายมหายาน[/FONT]
    ([FONT=&quot]เถรวาทเรามองพระพุทธเจ้า [/FONT]5 [FONT=&quot]พระองค์ในแง่มนุษิพุทธเจ้า)[/FONT]

    [FONT=&quot]ข้อความด้านล่างอ้างอิงจาก[/FONT] [FONT=&quot]พระพุทธเจ้าในพุทธศาสนามหายาน พระพุทธเจ้า [/FONT]5 [FONT=&quot]พระองค์-วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล[/FONT]

    [FONT=&quot]ดังข้อความดังนี้[/FONT]

    [FONT=&quot]“พระพุทธเจ้าในพุทธศาสนามหายาน พระพุทธเจ้า[/FONT][FONT=&quot] 5 [/FONT][FONT=&quot]พระองค์[/FONT][FONT=&quot]

    1. [/FONT]
    [FONT=&quot]อาทิพุทธ[/FONT][FONT=&quot]คือ สิ่งแรก เป็นสภาวะอันอมตะ มีอยู่ทั่วไปในสรรพสิ่ง[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นกฏเกณฑ์ของชีวิตทั้งมวล หมายถึง พระพุทธเจ้าที่ทรงอุบัติมาพร้อมกับโลก[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]และประจำอยู่กับโลกชั่วนิรันดร เป็นผู้สร้างหรือเป็นแหล่งกำเนิดของพระพุทธเจ้า[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ทั้งหลายทั่วจักรวาล (สเถียร พันธรังสี[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]พุทธศาสนามหายาน[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ[/FONT][FONT=&quot], 2543, [/FONT][FONT=&quot]หน้า [/FONT][FONT=&quot]48)

    2. [/FONT]
    [FONT=&quot]พระฌานิพุทธเจ้า[/FONT][FONT=&quot]หรือ ธยานิพุทธเจ้า ไม่ประสงค์จะลงมาอุบัติในโลกมนุษย์[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เกิดจากอำนาจฌานของพระอาทิพุทธ พระฌานิพุทธเจ้าอยู่ด้วยฌานในพุทธเกษตรต่างๆ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]พระฌานิพุทธเจ้ามี [/FONT][FONT=&quot]5 [/FONT][FONT=&quot]พระองค์ ได้แก่[/FONT][FONT=&quot]
    1. [/FONT]
    [FONT=&quot]พระไวโรจนพุทธเจ้า มีวรรณะสีขาว ดำรงในท่าแสดงธรรมจักร มีสีห์เป็นพาหนะ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ประทับอยู่บนดอกบัวเขียว อยู่ตรงกลางดินแดนพุทธเกษตร[/FONT][FONT=&quot]
    2. [/FONT]
    [FONT=&quot]พระอักโษภยพุทธเจ้า มีวรรณะสีน้ำเงิน ดำรงในท่ามารวิชัย ทรงวัชระ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]มีช้างเป็นพาหนะ ประทับอยู่ดินแดนตะวันออกของพุทธเกษตร[/FONT][FONT=&quot]
    3. [/FONT]
    [FONT=&quot]พระรัตนสัมภวพุทธเจ้า มีวรรณะสีเหลือง ประทับในท่าประทานพร[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]มีม้าเป็นพาหนะ ทรงถือจินดามณี ประทับอยู่ดินแดนทิศใต้ของพุทธเกษตร[/FONT][FONT=&quot]
    4. [/FONT]
    [FONT=&quot]พระอมิตาภพุทธเจ้า มีวรรณะสีแดง ประทับในท่าสมาธิเพชร ทรงบาตร[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]มีนกยูงเป็นพาหนะ ประทับ ณ ดินแดงทิศตะวันตกของพุทธเกษตร[/FONT][FONT=&quot]
    5. [/FONT]
    [FONT=&quot]พระอโมฆสิทธิพุทธเจ้า มีวรรณะสีเขียว ประทับอยู่ในท่าประทานอภัย[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ทรงวิศววัชร ประทับอยู่ทางทิศเหนือดินแดนพุทธเกษตร[/FONT][FONT=&quot]

    3. [/FONT]
    [FONT=&quot]พระมานุษิพุทธเจ้า[/FONT][FONT=&quot]คือพระผู้ซึ่งได้สำเร็จโพธิญาณ โดยอาศัยที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์มาแล้วเป็นลำดับ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ตามคติมหายานกล่าวไว้ว่า พระมานุษิพุทธเจ้า ก็คือพระพุทธเจ้า ที่เสด็จมาประสูตร ตรัสรู้ และปรินิพพาน ในมนุสสภูมิ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]หรือ ในโลกมนุษย์ นั่นเอง ตัวอย่างเช่นพระพุทธเจ้าในกัปป์ปัจจุบัน ซึ่งเป็นกัปป์ที่มีพระพุทธเจ้า ถึง [/FONT][FONT=&quot]5 [/FONT][FONT=&quot]พระองค์[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ได้เสด็จลงมาแล้วถึง [/FONT][FONT=&quot]4 [/FONT][FONT=&quot]พระองค์ และจะเสด็จมาตรัสรู้ภายหน้าอีกพระองค์หนึ่ง (กัปป์ที่มีพระพุทธเจ้า [/FONT][FONT=&quot]5 [/FONT][FONT=&quot]พระองค์ เรียกว่าภัทรกัปป์)[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]ดังมีพระนามตามลำดับต่อไปนี้คือ[/FONT][FONT=&quot]
    1 [/FONT]
    [FONT=&quot]พระกกุสันโธ[/FONT][FONT=&quot]
    2 [/FONT]
    [FONT=&quot]พระโกนาคม[/FONT][FONT=&quot]
    3 [/FONT]
    [FONT=&quot]พระกัสสปะ[/FONT][FONT=&quot]
    4 [/FONT]
    [FONT=&quot]พระโคตมะ (ยุคปัจจุบัน)[/FONT][FONT=&quot]
    5 [/FONT]
    [FONT=&quot]พระศรีอาริยเมตไตรย์ (ยังไม่เสด็จลงมา)[/FONT]”

    [FONT=&quot](ในส่วนของรายละเอียดต่าง ๆ ด้านบนคงต้องขอข้ามไปเลย เพราะเคยมีคนรวบรวมในเวปนี้เยอะพอสมควรแล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]ในส่วนต่อไปจะขอกล่าวถึงเรื่องพระโพธิสัตว์ ซึ่งในที่นี้จะขอละไว้ซึ่งการอธิบายเกี่ยวกับ คุณสมบัติของพระโพธิสัตว์[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะมีกล่าวเยอะแล้วในเวปนี้เช่นเดียวกัน)[/FONT]

    [FONT=&quot]พระโพธิสัตว์ในแง่มหายาน[/FONT]
    [FONT=&quot]ข้อความด้านล่างจาก [/FONT]http://www.crs.mahidol.ac.th/thai/mahayana[FONT=&quot]21.[/FONT]htm

    [FONT=&quot]คำว่า[/FONT] “ [FONT=&quot]พระโพธิสัตว์[/FONT]” [FONT=&quot]แปลว่า ผู้ข้องอยู่ในโพธิ์[/FONT] [FONT=&quot]คือความรู้ คือผู้จักได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในเบื้องหน้า[/FONT]
    [FONT=&quot]ในการกล่าวอ้างเรื่องพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ สิ่งที่เรามักจะได้ยินเสมอคือ มักจะอ้างถึงพระฌานิพุทธเจ้า พระพุทธเจ้า พระฌานิโพธิสัตว์ด้วยกันเสมอ [/FONT]

    [FONT=&quot]ทั้งนี้พระโพธิสัตว์นั้นแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้[/FONT]

    [FONT=&quot]แบ่งโพธิสัตว์ออกเป็น [/FONT]2 [FONT=&quot]ประเภทคือ[/FONT]

    [FONT=&quot]1. [/FONT]
    [FONT=&quot]พระฌานิโพธิสัตว์[/FONT][FONT=&quot]เป็นพระโพธิสัตว์ผู้บำเพ็ญบารมีบริบูรณ์ครบถ้วนแล้ว[/FONT] [FONT=&quot]และสำเร็จเป็นพระธยานิโพธิสัตว์หรือพระโพธิสัตว์ในสมาธิโดยยับยั้งไว้ยังไม่[/FONT]
    [FONT=&quot]เสด็จเข้าสู่พุทธภูมิ[/FONT] [FONT=&quot]เพื่อจะโปรดสรรพสัตว์ต่อไปอีกไม่มีที่สิ้นสุด[/FONT] [FONT=&quot]พระธยานิโพธิสัตว์นี้เป็นทิพยบุคคลที่มีลักษณะดังหนึ่งเทพยดา[/FONT]
    [FONT=&quot]มีคุณชาติทางจิตเข้าสู่ภูมิธรรมขั้นสูงสุดและทรงไว้ซึ่งพระโพธิญาณอย่างมั่น[/FONT] [FONT=&quot]คง[/FONT] [FONT=&quot]จึงมีสภาวะที่สูงกว่าพระโพธิสัตว์ทั่วไป[/FONT]
    [FONT=&quot]พระธยานิโพธิสัตว์มักจะมีภูมิหลังที่ยาวนาน[/FONT] [FONT=&quot]เป็นพระโพธิสัตว์เจ้าที่สำเร็จเป็นพระโพธิสัตว์มาเนิ่นนานนับแต่สมัยพระอดีต[/FONT] [FONT=&quot]พุทธเจ้าองค์ก่อน[/FONT] [FONT=&quot]ๆ [/FONT]
    [FONT=&quot]สุดจะคณานับเป็นกาลเวลาได้[/FONT] [FONT=&quot]พระธยานิโพธิสัตว์ที่พุทธศาสนิกชนมหายานรู้จักดี[/FONT] [FONT=&quot]เป็นพระโพธิสัตว์ที่กำหนดไม่ได้ว่าเกิดเมื่อใด[/FONT]
    [FONT=&quot]แต่เกิดก่อนพระศากยมุนีพุทธเจ้า[/FONT] [FONT=&quot]เป็นผู้บรรลุพุทธภูมิแล้วแต่ไม่ไปเพราะมุ่งจะช่วยสัตว์ให้พ้นทุกข์[/FONT] [FONT=&quot]จึงไม่เสด็จเข้านิพพาน[/FONT] [FONT=&quot]พระฌานิโพธิสัตว์ที่สำคัญที่ควรทราบคือ[/FONT]
    1.
    [FONT=&quot]พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ คุณธรรมพิเศษคือ มหากรุณา[/FONT]
    2.
    [FONT=&quot]พระมัญชุศรีโพธิสัตว์ มีความสามารถพิเศษในการเทศนาให้คนเกิดปัญญา[/FONT]
    3.
    [FONT=&quot]พระมหาสถามปราปต์โพธิสัตว์ สามารถรู้ถึงความต้องการทางสติปัญญาของสรรพสัตว์[/FONT] [FONT=&quot]ทรงมีปัญญาเยี่ยม ใช้ปัญญาทำลายอวิชชา[/FONT]
    4.
    [FONT=&quot]พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ เป็นผู้ทรงไว้ซึ่งความกรุณาหน้าที่สำคัญคือ[/FONT] [FONT=&quot]การรื้อขนสัตว์ออกจากนรก[/FONT]
    5.
    [FONT=&quot]พระวัชรปาณีโพธิสัตว์ มีสัญลักษณ์เด่นคือ ทรงสายฟ้าในพระหัตถ์[/FONT] [FONT=&quot]เป็นสัญลักษณ์แห่งการฟาดฟันกิเลส ตัณหาทั้งปวง[/FONT]

    [FONT=&quot]2. [/FONT]
    [FONT=&quot]พระมานุษิโพธิสัตว์[/FONT][FONT=&quot]เป็นพระโพธิสัตว์ที่อยู่ในสภาพมนุษย์ทั่วไป[/FONT] [FONT=&quot]หรือเป็นสิ่งมีชีวิตในรูปแบบอื่น ๆ[/FONT] [FONT=&quot]ยังต้องฝึกอบรมตนเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]และทำหน้าที่ช่วยเหลือผู้อื่นไปพร้อมๆ[/FONT] [FONT=&quot]กัน[/FONT] [FONT=&quot]เป็นผู้ที่กำลังบำเพ็ญสั่งสมบารมีอันยิ่งใหญ่เพื่อพระโพธิญาณอันประเสริฐ[/FONT] [FONT=&quot]ถ้าตามมติของฝ่ายเถรวาทก็คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้ที่ยังเวียนว่ายอยู่ในวัฏสงสารเพื่อบำเพ็ญ[/FONT] [FONT=&quot]ทศบารมี ๑๐ ประการให้บริบูรณ์[/FONT] [FONT=&quot]เหมือนเมื่อครั้งสมเด็จพระผู้มีพระภาคได้ทรงกระทำมาในอดีต[/FONT]
    [FONT=&quot]โดยที่ทรงเสวยพระชาติเป็นทั้งมนุษย์และสัตว์จนได้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ[/FONT] [FONT=&quot]เป็นพระศากยมุนีพุทธเจ้า[/FONT] [FONT=&quot]การบำเพ็ญบารมีดังกล่าวนี้เป็นความยากลำบากแสนสาหัส[/FONT]
    [FONT=&quot]สำเร็จได้ด้วยโพธิจิต[/FONT] [FONT=&quot]อีกทั้งวิริยะและความกรุณาอันหาที่เปรียบมิได้[/FONT] [FONT=&quot]ต้องอาศัยระยะเวลายาวนานนับด้วยกัปอสงไขย สิ้นภพสิ้นชาติสุดจะประมาณได้[/FONT][FONT=&quot]”[/FONT]


    [FONT=&quot]ในทางพุทธศิลป์ เราจะสังเกตอิทธิพลของความเชื่อเหล่านี้ได้จากงานสถาปัตยกรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]ซึ่งอิทธิพลในส่วนนี้ยังได้แผ่ขยายมาในประเทศไทยด้วย ดังจะได้อธิบายต่อไป[/FONT]

    [FONT=&quot]ในเริ่องความเชื่อนั้น มักกล่าวถึงพระฌานิพุทธเป็นยุค ๆ ไป ในปัจจุบัน อยู่ในยุคพระอามิตาภพุทธเจ้า ซึ่งมีพระสมณโคดมตรัสรู้และมีพระโพธิสัตว์คู่บุญคือ พระอวโลกิเตศวร[/FONT]
    [FONT=&quot]ในยุคต่อไปที่ทุกท่านทราบก็คือยุคของพระศรีอริยเมตตรัย [/FONT]

    [FONT=&quot]ในทางสถาปัตยกรรมและพุทธศิลปะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ในทางศิลปะและสถาปัตยกรรม จะกำหนดความแตกต่างของพระพุทธเจ้าทั้ง 5 นี้ด้วย สี ตำแหน่ง(ในที่นี้คือทิศต่าง ๆ ) ลักษณะปาง พาหนะ [/FONT]

    [FONT=&quot]ดังแผนภูมิด้านล่าง [/FONT]
    [FONT=&quot](ขออภัยที่ชื่อบางอย่างต้องเขียนด้วยอักษรโรมัน เนื่องจากผู้เขียนไม่ทราบตัวเขียนในอักษรไทยเกรงว่าอาจมีการผิดพลาด หากมีผู้ใดนำไปอ้างอิงต่อ)[/FONT]
    [FONT=&quot]ด้านล่างจะปรากฏเป็นรายชื่อต่าง ๆ พร้อมรายละเอียดประจำตัวของพระอาทิพุทธต่าง ๆ

    [/FONT] [FONT=&quot]แถวแรก[/FONT] [FONT=&quot] คือ ชื่อทิศ[/FONT]
    [FONT=&quot]แถวที่ 2 คือ ชื่อพระธยานิพุทธ[/FONT]
    [FONT=&quot]แถวที่ 3 คือ สัมโภคกาย[/FONT][FONT=&quot] (ชื่อพระโพธิสัตว์คู่บุญ)[/FONT]
    [FONT=&quot]แถวที่ 4 คือ นิรมานกาย (ชื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ลงมาตรัสรู้และเทศนาสั่งสอนจนสรรพสัตว์บรรลุธรรม)[/FONT]
    [FONT=&quot]แถวที่ 5 คือ พุทธลักษณะ ปางประจำพระองค์[/FONT]
    [FONT=&quot]แถวที่ 6 คือ สีพระวรกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]แถวที่ 7 คือ สัญลักษณ์ธาตุ[/FONT]
    [FONT=&quot]แถวที่ 8 คือ พาหนะทรง [/FONT]
    [FONT=&quot]แถวทื่ 9 คือ ศักดิ

    วิธีการสังเกตุและแยะแยะว่าใครเป็นใครก็สามารถดูได้จากรายละเอียดข้างต้น
    เนื่องจากจะทรงประจำตามทิศที่กำหนดมาแต่โบราณและจะทรงทำท่า หรือปางประจำพระองค์ต่าง ๆ กันไป ซึ่งคงสังเกตุได้ง่าย
    [/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      88.9 KB
      เปิดดู:
      288
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 พฤษภาคม 2011
  2. thaiboy74

    thaiboy74 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    175
    ค่าพลัง:
    +207
    สำหรับการพัฒนาของวิธีคิดในกลุ่มความเชื่อนี้
    เริ่มแรกเป็นที่กล่าวถึงในสาย โยคาจาร ซึ่งนิกายนี้เกิดหลังจากท่านนาคารชุณโดยประมาณ 100 ปี
    การพัฒนาทางความคิดในเรื่องนี้ เพื่อเป้นการรองรับคติ ความเชื่อในเรื่องตรีกายอย่างเป็นรูปธรรม
    พร้อมทั้งสร้างมันดาลา หรือมณฑลประจำตัวของเหล่าพระพุทธเจ้าเหล่านั้น เป็นต้นกำเนิดของเหล่ามันดาลา พุทธเกษตรต่าง ๆ สืบต่อมายังปัจจุบัน
    ซึ่งคติเหล่านี้ส่วนใหญ่เจริญรุ่งเรืองอยู่ทางอินเดียตอนเหนือ ที่ซึ่งมหายานเจริญรุ่งเรือง

    ในส่วนของเถรวาทเอง อย่างที่ได้อธิบายข้างต้นไปแล้ว
    ทางเราจะมองพระพุทธเจ้าในแง่มนุษย์มากกว่า ความเชื่อที่ตกทอดมาก็จะมองถึงพระพุทธเจ้าที่ลงมาตรัสรู้แต่ละพระองค์ แต่ทั้งนี้ ในทางพุทธศิลปฺ ก็ยังได้มีการแลกเปลี่ยนตามอิทธิพลในมหายาน มองได้จากปางพระพุทธรูปต่าง ๆ และทิศประจำของพระพุทธเหล่านั้น ซึ่งมีความเหมือนหรือคล้ายคลึงกัน
     
  3. biww

    biww เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    84
    ค่าพลัง:
    +202
    เป็นความรู้ที่ดีมากครับ อีกมุมมองของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานครับ ขอบคุณสำหรับข้อมูลคับ
     
  4. cheapamazon

    cheapamazon สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2011
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +17

แชร์หน้านี้

Loading...