ผลแห่งความเพลิดเพลินและไม่เพลิดเพลิน

ในห้อง 'พระไตรปิฎก' ตั้งกระทู้โดย f-35, 12 มีนาคม 2012.

  1. f-35

    f-35 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    205
    ค่าพลัง:
    +160
    [​IMG]
    ภิกษุทั้งหลาย !
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน รูป
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน เวทนา
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน สัญญา
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน สังขารทั้งหลาย
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน วิญญาณ
    ผู้นั้น เท่ากับเพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้.
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑๗
    พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    หน้าที่ ๓๐/๓๑๐ข้อที่ ๖๔-๖๗
    ภิกษุทั้งหลาย !
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน จักษุ(ตา)
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน โสตะ(หู)
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน ฆานะ(จมูก)
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน ชิวหา(ลิ้น)
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน กายะ(กาย)
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน มนะ(ใจ)
    ผู้นั้น เท่ากับ เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    เรากล่าวว่า
    ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมไม่หลุดพ้นไปได้จากทุกข์ ดังนี้.
    (ในพระสูตรต่อไป ได้ตรัสถึงในกรณีแห่ง อายตนะภายนอก ๖ซึ่งมีข้อความเหมือนในกรณีแห่งอายตนะภายใน ๖ ทุกประการโดยลักษณะการตรัสตรงนี้ คือทรงตรัสแยกเป็นกรณี ๆ จนครบ
    ซึ่งผู้อ่านควรจะทำความเข้าใจแยกไปตามกรณีจนครบเช่นกันการที่ละไว้ด้วย ... ก็เพื่อให้รู้ว่ามีข้อความสรุปที่เหมือนกัน)
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑๘
    พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐ สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
    หน้าที่ ๑๑/๔๐๒ข้อที่ ๑๙

    ภิกษุทั้งหลาย !
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน รูป
    ผู้นั้น เท่ากับไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมหลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน เวทนา
    ผู้นั้น เท่ากับไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมหลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สัญญา
    ผู้นั้น เท่ากับไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมหลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สังขารทั้งหลาย
    ผู้นั้น เท่ากับไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมหลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน วิญญาณ
    ผู้นั้น เท่ากับไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมหลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    เรากล่าวว่า
    “ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมหลุดพ้นไปได้จากทุกข์” ดังนี้.
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑๗
    พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    หน้าที่ ๓๐/๓๑๐ข้อที่ ๖๔-๖๗

    ภิกษุทั้งหลาย !
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน จักษุ
    ผู้นั้น เท่ากับ ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมหลุดพ้นไปได้จากทุกข์
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน โสตะ
    ผู้นั้น เท่ากับ ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน ฆานะ
    ผู้นั้น เท่ากับ ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน ชิวหา
    ผู้นั้น เท่ากับ ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน กายะ
    ผู้นั้น เท่ากับ ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ในมนะ
    ผู้นั้น เท่ากับ ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์...
    เรากล่าวว่า
    ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์ผู้นั้น ย่อมหลุดพ้นไปได้จากทุกข์ ดังนี้.
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 6.jpg
      6.jpg
      ขนาดไฟล์:
      95.4 KB
      เปิดดู:
      212

แชร์หน้านี้

Loading...