ประชาสัมพันธ์..หนังสือธรรมะสำหรับแจกเป็นธรรมทานครับ

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย trilakbooks, 30 พฤษภาคม 2012.

  1. trilakbooks

    trilakbooks เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,357
    ค่าพลัง:
    +414
    <TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>
    เกิดเลือกได้ถ้าตายเป็น-กฎแห่งกรรม (พิจิตร ฐิตวัณโณ)
    กฎแห่งกรรม เป็นเรื่องที่น่าศึกษามากอย่างหนึ่งในบรรดาคำสอน ทางพระพุทธศาสนา
    เพราะเกี่ยวกับชีวิตของคนเราทุกคน เป็นกฎธรรมชาติ ว่าด้วยเหตุและผล
    หรือกฎทางวิทยาศาสตร์ด้านจิตใจอย่างหนึ่งที่พระพุทธเจ้า ทรงค้นพบ เรียกว่า "กรรมนิยาม"
    เรื่องกฎแห่งกรรมนี้บางคนไม่เชื่อเอาเลย บางคนเชื่อบ้างไม่เชื่อบ้าง ยังลังเลสงสัยอยู่ บางคนก็เชื่้อสนิท แต่บางคนไปเชื่ออำนาจพระเจ้าหรือสิ่งที่ ตนคิดว่าจะศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ หรือไปเชื่ออำนาจดวงดาว
    ผู้ไม่เชื่อกฎแห่งกรรมก็เท่ากับว่าไม่เชื่อการเวียนว่ายตายเกิดไปด้วย เพราะเกี่ยวเนื่องกัน ชื่อว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิในพระพุทธศาสนา ย่อมเป็นอันตราย แก่ตนเองและสังคมส่วนรวมได้มาก เพราะไม่เชื่อเรื่องบุญเชื่อบาป
    พุทธศาสนิกชนที่แท้จริงย่อมเชื่อมมั่นในกฎแห่งกรรมที่เรียกว่า "กัมมสัทธา" (เชื่อกรรม) เพราะกฎแห่งกรรมนี้เป็นกฎธรรมชาติที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยตัวของ เราเอง แม้ไม่อาจจะพิสูจน์ได้ ในทุกกรณี เพราะความรู้ความสามารถจำกัดก็ตาม แต่เมื่อมีศรัทธาข้อนี้แล้วก็ย่อมมีศรัทธาข้ออื่นๆ ติดตามมาด้วยเพราะเกี่ยวเนื่องกัน
    >>อ่านต่อ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>
    ต่อนี้ไปเราจะทำจริง แน่วแน่จริงทุกๆอย่าง แม้ที่สุดแต่การเขียนบันทึกประจำวัน เล่มนี้ เป็นบันทึกประจำวันเล่มเดียวของท่านพุทธทาส ภิกขุ (เงื่อม อินทปัญโย)ที่เขียนตลอดปีไม่มีเว้น สมดังที่ท่านปรารภในวันแรกเขียน ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๕ อันเป็นปีที่ท่าน "มีอายุย่างเข้าปีที่ ๓๗ เราผ่านมา ๓ รอบปีเต็มๆ บริบูรณ์แล้ว เวลาสำหรับเป็นเด็กสำหรับศึกษาเบื้องต้น สำหรับทดลองนั้น เราอยากจะสิ้นสุดกันเสียที"ปีนั้น ท่านอาจารย์พุทธทาสใช้เวลาส่วนใหญ่พำนักอยุ่ที่หอสมุดวัดชยารามไชยา สลับกับที่สวนโมกขพลาราม พุมเรียง ด้วยกิจวัตรปกติตื่นแต่เช้าตรู่มาทำงานก่อนฉันเช้าและเพลตามมีตามอย่างได้ "PLAIN LIVING HIGH THINKING"กับการทำงานสารพัด โดยเฉพาะการศึกษา ค้นคว้าเผยแผ่ และพัมนา รวมทั้งการพักผ่อน "เล่น" และ "วันแสนสุขช" ที่ล้วน "เป็นบทเรียนที่เราจะต้องสอบผ่านไปให้ได้เพื่อให้มีความสามารถรอบตัวในการเอาชนะโลก" ท่านสวดมนต์ทำวัตรและบิณฑบาตน้อยวัน ฉันอะไรก็ได้เท่าที่ได้รับมา เช่นหัวมันหรือผลไม้ สรงน้ำตามโอกาสแห่งการงาน จำวัดอย่างง่ายที่สุดบนพื้นบนขอน ในขณะที่งานสำคัญคือการสร้างสโมสรคณะธรรมทาน พร้อมกับการเริ่มดูที่ดินสำหรับการก่อสร้างสวนโมกขพลารามไชยา ที่ด่านน้ำไหล เขาพุทธทอง เขานางเอ ก็เริ่มต้นในปีนี้ โดยมีแรงบันดาลใจหลายประการที่เกิดขึ้นในช่วงปีนี้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการคิดเป็นนักเขียนภาพ การฉายภาพประกาบการเผยแผ่และสอนธรรมที่ก่อตัวเป็นโรงมหรสพทางวิญญาณ การสวดมนต์ทำวัตรที่ออกมาเป็นคู่มืออุบาสก อุบาสิกา สวดมนต์ทำวัตรแปล และการก่อสร้างกุฎิหรือโรงธรรมที่รับแนวมาจากหัวหิน>>อ่านต่อ
    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>
    นิพพาน มิได้มีความหมายเป็นบ้านเมืองหรือโลกของพระเป็นเจ้าที่เต็มไปด้วยความสุขชนิดที่ใฝ่ฝันกันและเป็นอยู่อย่างนิรันดร
    นิพพานมิใช่มีความหมายเป็นการหลุดรอดของตัวตน จากโลกนี้ไปสู่โลกเช่นนั้น หรือภาวะแห่งความมีตัวตนเช่นนั้น
    แต่ว่า "นิพพาน" มีความหมาย เป็นความดับสนิทแห่งความเร่าร้อนเผาลน ความเสียบแทงยอกตำ และความผูกพัน ร้อยรัด อันมีอยู่ในจิตใจของมนุษย์ โดยตัดต้นเหตุแห่งความเป็นอย่างนั้นเสี่ยได้สิ้นเชิง ความเป็นอย่างนี้ อยู่อย่างเป็นอนันตกาล คือมีอยุ่ในที่ทุกแห่งและทุกเวลา พร้อมที่จะปรากฎแก่จิต ซึ่งปราศจากกิเลส อยู่เสมอ เราจึงกล่าวว่า นิพพาน มีสภาพเป็นนิรันดร มีอยู่ในที่ทุกแห่งทุกเวลาอย่างไม่ขาดระยะ ใกล้ชิดติดอยู่กับตัวเราในวัฏฏสงสารนี่เอง หากแต่เข้าไม่ถึงหรือมองไม่เห็น เพราะจิตมีกิเลส ซึ่งเป็น"เปลือก"ชนิดหนึ่งห่อหุ้มอยู่ มองย้อนดูอีกทางหนึ่ง จะเห็นว่ากิลเลสและความทุกขือาจจะมีอยู่ในสภาพแห่งความเป็นเช่นนั้น ฉะนั้้น จึงกล่าวว่า นิพพาน ไม่เป็นที่ตั้งอาศัยแห่งกิเลสและความทุกข์ แต่เป็นแดน ที่ดับสนิทของกิเลสและความทุกข์ มองดูกันอีกทางหนึ่ง
    เมื่อจิตประกอบด้วยปัญญา มองเห็นสภาพแห่งความเป็นเช่นนั้นของนิพพาน หน่วงเอานิพพานนั้นมาเป็นอารมณ์ โดยมีความ สลดสังเวชในความหลงของตนในกาลก่อนแล้ว กิเลสก็เริ่มเหือดแห้งไป ความทุกข์ก็เหือดแห้งไปตาม ฉะนั้น จึงกล่าวว่า นิพพาน เป็นธรรมเครื่องดับกิเลสแห่งความทุกข์ทั้งหลาย
    แต่เมื่อสรุปแล้ว นิพพานนั้นก็คือ สภาพอันเป็นความดับสนิทแห่งความเร่าร้อนเฝาลน ความเสียบแทงยอกตำ และความผักพันร้อยรัดของมนุษย์ ในทางจิตดังกล่าวแล้ว กิริยา ที่ความเร่าร้อนเป็นต้นเหล่านั้นดับลง นั้นคือ กิริยาที่จิตลุถึงความสิ้นกิเลส หรือลุถึงนิพพาน เรียกว่า การนิพพาน การนิพพานของมนุษย์เราโดย ที่แท้ก็คือความที่จิตของคนเราเข้าถึงสภาพแห่งความไม่มีความเร่าร้อนเผาลน ความเสียบแทงยอกตำ และความผูกพันร้อยรัดอย่างเด็ดขาดสิ้นเชิง โดยประการทั้งปวงนั่นเอง
    ภาวะแห่งนิพพาน และการนิพพาน ปรากฎขึ้นในโลกเป็นครั้งแรก เพราะการเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงความ ดับสนิทแห่งความเร่าร้อนเป็นต้นนั้น เป็นบุคคลแรกในโลก การเกิดของพระองค์ก็คือการประสูติ การตรัสรู้ และการปรินิพพาน รวมกันทั้ง ๓ อย่างนั่นเอง ฉะนั้น การประสูติ การตรัสรู้ และการปรินิพพาน จึงเป็นของอันเดียวกัน รวมเข้าด้วยกันแล้วก็เป็นชัยชนะของโลก .......>>>>อ่านต่อ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">.............................................................................
    เมื่อเราล้มป่วย
    เราไม่ได้ป่วยแต่กายเท่านั้นส่วนใหญ่มักป่วยใจด้วย เช่น ขึ้งเครียด วิตกกังวล
    ยิ่งป่วยหนัก ก็ยิ่งหวาดกลัว ตื่นตระหนก ความป่วยใจนี้เองที่ทำให้ร่างกายทรุดลงและเพิ่มพูนความทุกข์
    เป็นทวีตรีคูณ ในทางตรงข้ามหากเราตั้งสติได้ ยอมรับความจริงที่เกิดขึ้นไม่ปฏิเสธผลักไส ความทุกข์ก็จะ
    ลดลง และหากรู้จักทำสมาธิภาวนา ความปวดก็จะทุเลา นอกจากจะช่วยให้อยู่กับความทุกข์กายโดยใจ
    ไม่ทุกข์แล้ว ความสงบเย็นในจิตใจยังช่วยฟื้นฟูร่างกายให้ดีขึ้นด้วย

    จาก...
    รักษาใจให้ไกลทุกข์..ธรรมะสำหรับผู้ป่วยและผู้เยียวยา //โดย พระไพศาล วิสาโล
    .............................................................................
    </TD><TD style="TEXT-ALIGN: right">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>
    พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร
    สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช (หนังสือ2ภาษา)
    เมื่อก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี ได้มีมหาบุรุษท่านหนึ่งเกิดขึ้นมาในโลก เป็นโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ และพระนางสิริมหามายา แห่งกรุงกบิลพัสดุ์ สักกชนบท ซึ่งบัดนี้ อยู่ในเขตประเทศเนปาล มีพระนามว่า "สิทธัตถะ"

    ต่อมาอีก ๓๕ ปี พระสิทธัตถะได้ตรัสรู้ธรรมได้พระนามตามความตรัสรู้ว่า "พุทธะ" ซึ่งไทยเราเรียกว่า "พระพุทธเจ้า" พระองค์ได้ทรงประกาศพระธรรมที่ได้ตรัสรู้แก่ประชาชนจึงเกิดพระพุทธศาสนา (คำสั่งสอนของพระพุทธะ) และบริษัท ๔ คือ ภิกษุ (สามเณร) อุบาสก อุบาสิกา ขึ้นมรในโลกจำเดิมแต่นั้น
    บัดนี้ในเมืองไทยมีแต่ภิกษุ (สามเณร) อุบาสก อุบาสิกา ภิกษุนั้นคือ ชายผู้ถือบวช ปฏิบัติพระวินัยของภิกษุ สามเณร นั้น คือชายผู้มีอายุยังไม่ครบ ๒๐ ปี หรือแม้อายุเกิน ๒๐ ปีแล้วเข้ามาถือบวชปฏิบัติสิกขาของสมเณร
    อุบาสก อุบาสิกา นั้นคือ คฤหัสถ์ชายหญิง ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ (ที่พึ่ง) และปกิบัติอยู่ในศีล สำหรับคฤหัสถ์
    บัดนี้ มีคำเรียกชายหญิง ทั้งเด็ก ทั้งผู้ใหญ่ ผู้ประกาศตนถึงพระพุทธเจ้า พร้อมทั้งพระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะว่า "พุทธมามกะ" "พุทธมามิกา" แปลว่า "ผู้ถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของตน"
    พระพุทธศาสนาได้แผ่ออกจากประเทศถิ่นที่เกิดไปในประเทศต่างๆ ในโลก
    หลักเคารพสูงสุดในพระพุทธศาสนาคือ พระรัตนตรัย (รัตนะ ๓) ได้แก่ พระพุทธเจ้า คือพระผู้ตรัสรู้พระธรรม แล้ว ทรงประกาศสั่งสอนตั้งพระพุทธศาสนาขึ้น พระธรรมคือสัจธรรม (ธรรมคือความจริง) ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ และได้ทรงประกาศสั่งสอนเป็นพระศาสนาขึ้น พระสงฆ์คือหมู่ชนผู้ได้ฟังคำสั่งสอน
    ได้ปกิบัติและได้รู้ตามพระพุทธเจ้า บางพวกออกบวชตามได้ช่วยนำพระพุทธศาสนา และสืบต่อวงศ์การบวชมาจนถึงปัจจุบันนี้....... (อ่านต่อ)
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    การพิมพ์หนังสือธรรมะเป็นหนังสืออนุสรณ์และหนังสือที่ระลึก นอกจากเป็นการจัดทำสิ่งซึ่ง เป็นประโยชน์ที่อยู่ยืนนานแล้ว ยังเป็นการบำเพ็ญธรรมทาน คือการให้ธรรมะที่ พระพุทธเจ้าตรัสสรรเสริญว่า เป็นทานอันยอดเยี่ยมอีกด้วย
    ผู้ปฏิบัติธรรมเช่นนี้ได้ชื่อว่า มีส่วนร่วมในการเผยแพร่ธรรม อัจจะอำนวยประโยชน์สูงสุด ที่แท้ัจริงแก่ประชาชน ท่านที่ประสงค์จะจัดพิมพ์หนังสือะรรมะที่ดีและมีคุณภาพ เป็นที่ระลึกในทุกโอกาสของงานประเพณี หรือจัดแจกเป็นธรรมทาน และธรรมบรรณาการ
    โปรดติดต่อที่ ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎก โดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์
    ทำเว็บ ทำเว็บไซต์ สร้างเว็บ สร้างเว็บไซต์ เว็บไซต์สำเร็จรูป เว็บสำเร็จรูป ออกแบบเว็บ ออกแบบเว็บไซต์ เขียนเว็บไซต์ สร้างเว็บฟรี เว็บฟรี ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในประเทศไทย โทร.02-482-7358 , 087-696-7771 , 085-819-4018 , 081-424-07891 เบอร์โทรสาร ของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ฯ 02-482-7358 E-MAIL ของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ฯ trilak_books@yahoo.com
    ................................................
    ไ ต ร ลั ก ษ ณ์ . . . มุ่ ง เ ผ ย เ เ พ ร่ . . . พ ร ะ ธ ร ร ม . . . ใ ห้ อ ยู่ คู่ โ ล ก
    ................................................
    การพิมพ์หนังสือธรรมะเป็นหนังสืออนุสรณ์และหนังสือที่ระลึก นอกจากเป็นการจัดทำสิ่งซึ่ง เป็นประโยชน์ที่อยู่ยืนนานแล้ว ยังเป็นการบำเพ็ญธรรมทาน คือการให้ธรรมะที่ พระพุทธเจ้าตรัสสรรเสริญว่า เป็นทานอันยอดเยี่ยมอีกด้วย
    ผู้ปฏิบัติธรรมเช่นนี้ได้ชื่อว่า มีส่วนร่วมในการเผยแพร่ธรรม อัจจะอำนวยประโยชน์สูงสุด ที่แท้ัจริงแก่ประชาชน ท่านที่ประสงค์จะจัดพิมพ์หนังสือะรรมะที่ดีและมีคุณภาพ เป็นที่ระลึกในทุกโอกาสของงานประเพณี หรือจัดแจกเป็นธรรมทาน และธรรมบรรณาการ
    โปรดติดต่อที่ ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎก โดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์
    ทำเว็บ ทำเว็บไซต์ สร้างเว็บ สร้างเว็บไซต์ เว็บไซต์สำเร็จรูป เว็บสำเร็จรูป ออกแบบเว็บ ออกแบบเว็บไซต์ เขียนเว็บไซต์ สร้างเว็บฟรี เว็บฟรี ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในประเทศไทย โทร.02-482-7358 , 087-696-7771 , 085-819-4018 , 081-424-07891 เบอร์โทรสาร ของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ฯ 02-482-7358 E-MAIL ของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ฯ trilak_books@yahoo.com
    ................................................
    ไ ต ร ลั ก ษ ณ์ . . . มุ่ ง เ ผ ย เ เ พ ร่ . . . พ ร ะ ธ ร ร ม . . . ใ ห้ อ ยู่ คู่ โ ล ก
    ................................................
    [​IMG]
    <TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">ราคาตู้พระไตรปิฎก ที่เผยแพร่ โดยศูนย์ฯไตรลักษณ์

    ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแผ่นแท้
    สำหรับใส่ หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
    ราคา 8,500.-

    ตู้พระไตรปิฎกลวดลายทองพื้นแดง-ทรงป้าน

    สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
    ราคา 8,500.-

    ตู้พระไตรปิฎกลวดลายทองพื้นแดง-ทรงตรง

    สำหรับใส่ หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
    ราคา 8,000.-

    ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแผ่นแท้

    ใส่พระไตรฯ 91ล. ราคา12,500.-


    ตู้สำหรับใส่ชุดหนังสือธรรมโฆษณ์

    ของหลวงพ่อพุทธทาส 79 เล่ม
    และ/หรือ ใส่หนังสือพระไตรปิฎก 91 เล่ม ราคา 10,000.-
    </TD><TD style="TEXT-ALIGN: left">ราคากลางหนังสือพระไตรปิฎก ที่เผยแพร่ ณ ปัจจุบัน
    ราคาหนังสือพระไตรปิฎกฉ.เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
    ครองราชย์ครบ 60ปี จัดพิมพ์โดยมหาเถระสมาคม
    45 เล่มภาษาไทย วัดเทวราชฯ เผยแพร่ ราคา 15,000 บาท

    หนังสือพระไตรปิฎก ฉ.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ภาษาไทย
    มหาจุฬาฯ เผยแพร่ใน ราคา15,000 บาท

    ชุด..หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทยพร้อมอรรถกถา 91 เล่ม
    ของมหามกุฏราชวิทยาลัย มหามกุฏฯเผยแพร่ ราคา 25,000 บาท

    ราคาหนังสือพระไตรปิฎก บาลี 45 เล่ม
    โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย ราคา 9,500 บาท

    ราคาหนังสือพระไตรปิฎก ฉ.สธรรมภักดี 100 เล่ม ราคา 24,000 บาท

    ราคาหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับประชาชน 1 เล่ม ราคา 500 บาท
    </TD></TR></TBODY></TABLE>คำถวายหนังสือพระไตรปิฎกพร้อมทั้งตู้

    <CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><CENTER><CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER></CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER></CENTER><CENTER>ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ (ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน)</CENTER><CENTER>ตั้งอยู่ เลขที่ 19/5 ม3. ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม 73210</CENTER><CENTER>ตั้งอยู่ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม (ติดวัดญาณเวศกวัน (ใกล้พุทธมณฑลสถาน องค์พระ))</CENTER><CENTER>เบอร์โทรศัพท์ติดต่อโดยตรง . 087-696-7771, 085-819-4018, 081-424-0781, 02-482-7358 </CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>
    พระไตรปิฎก (ฉบับสำหรับประชาชน)
    ย่อความจากพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี ๔๕ เล่ม รวมเล่มเดียวจบสุชีพ ปุญญานุภาพ จัดทำ (มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์)
    ..............................................................................................................................................................

    พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน เดิม ย่อจากพระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม เป็นภาษาไทย ๕ เล่ม แล้วรวม ๕ เล่มนั้นพิมพ์ให้เป็นเล่มเดียว เพื่อมิให้กระจัดกระจาย ถ้าจะคิดถึงการพิมพ์เมื่อเป็น ๕ เล่มด้วย ก็นับเป็น การพิมพ์ครั้งที่ ๑๐ ในคราวนี้ แต่ถ้าคิดเฉพาะที่รวมพิมพ์เป็นเล่มเดียวจบ ก็นับเป็นครั้งที่ ๘ ในการพิมพ์รวมเล่มตั้งแต่ครั้งที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นต้นม พิมพ์ครั้งละ ๑๐,๐๐๐ เล่ม และจำหน่ายหมดภายในเวลาประมาณ ๑ ปี ในแต่ละ ครั้งแสดงว่า ได้รับความสนใจและสนับสนุนจากท่านพระภิกษุสามเณร และประชาชน ผู้เห็น ความสำคัญในการศึกษาสาระสำคัญแห่งพระไตรปิฎกซึ่งเป็นตำราอันเป็นหลักแห่งพระพุทธศาสนา บางคราวด้วยความเร่งร้อน เจ้าหน้าที่โรงพิมพ์ได้จัดพิมพ์ไปก่อนโดยไม่ทันได้แก้ไข ถ้อยคำบางคำที่ข้าพเจ้าขอให้แก้ไข แต่ในคราวนี้ได้แก้ไขหลายแห่ง และจะพยายามแก้ไขเพิ่มเติมอีกในการพิมพ์ครั้งต่อๆไป เพื่อให้ถูกต้องสมบูรณ์ ยิ่งขึ้น ในการจัดพิมพ์ครั้งที่ ๘ นี้ ข้าพเจ้าเจาะจงถวายส่วนกุศลในการจัดทำและจัดพิมพ์หนังสือนี้ บูชาพระคุณท่านเจ้าคุณพระธรรมเจติยาจารย์ (วงศ์ โอทาตวัณณเถระ) วัดเสนหาจังหวัดนครปฐม พระอาจารย์ ผู้เป็นที่เคารพบูชาอย่างสูงยิ่งของข้าพเจต้า ข้อที่นับว่า สำคัญก็คือ ท่านเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนให้ข้าพเจ้าได้ศึกษาภาษาบาลี จนมีโอกาสบำเพ็ญประโยชน์ แก่พระพุทธศาสนาได้บ้างตามควรแก่อัตภาพและสติปัญญาอันน้อยการกล่าวถวายส่วนกุศลบูชา พระคุรท่านเจ้าคุรอาจารย์ในการพิมพ์ครั้งนี้ ก็เพราะในระหว่างการเตรียมจัดพิมพ์ครั้งที่ ๘ นี้ ท่านได้มรณภาพ ล่วงลับไปในเช้าวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๒๗ เมื่อมีชนมายุ ๑๐๒ โดยปี หรือคิดเป็นอายุชำระก็ ๑๐๑ ปี ๕ เดือน กับ ๑๑ วัน
    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>พระไตรปิฎกฉบับนี้เป็นสุตตันตปิฎก
    ส่วนที่เป็นทีฆนิกายทั้งหมด และส่วนที่เป็น
    มัชฌิมนิกาย ๒ ส่วนใน ๓ ส่วน.. **ที่ใช้คำว่า
    "ฉบับที่ทำให้ง่ายแล้ว" นั้น
    เป็นการนำข้อความในพระไตรปิฎกมาเล่าให้
    ใช้ภาษาร่วมสมัย เป็นการย่อความเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น
    พระไตรปิฎกฉบับแปลของสำนักต่างๆ
    ยังอ่านยากอยู่มากสำหรับ
    ผู้ใหม่ต่อสำนวนภาษาบาลี เพราะท่านแปลตามตัวอักษร
    ภาษาบาลีทุกประโยค เพื่อรักษาพยัญชนะไว้ให้ได้เท่าเดิม
    ตามพระไตรปิฎกภาษาบาลี ซึ่งจะมีข้อความซ้ำๆ
    กันเป็นจำนวนมาก
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">[​IMG]</TD><TD>CD/MP3 ชุด คำ อธิบายขยายความ พระสูตรจากพระไตรปิฎก
    โดยท่าน...พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ)
    วัดบวรนิเวศวิหาร

    มีทั้งหมด 500 เรื่อง ความยาว 500 ชั่วโมง

    ซึ่งรวบรวม พระสูตรสำคัญจากพระไตรปิฎก
    และนำมาอธิบายขยายความเพื่อความง่ายแก่การเข้าใจ การศึกษาพระพระไตรปิฎก ในพระสูตรต่างๆ
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
    มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่
    หนังสือ ปกแข็ง หุ้มหนังอย่างดี เย็บกี่
    กระดาษ ถนอมสายตาสีครีม
    จำนวน 1242 หน้า
    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>หนังสือชื่อ “กฎแห่งกรรม” รวม 7 เล่ม ซึ่งเขียนไว้โดย ท.เลียงพิบูลย์
    ซึ่งท่านผู้นี้คือ บิดา ของ พล.ร.อ.ทวีชัย นั่นเอง
    แต่ละเล่ม มีบทความจาก ชีวิตจริง เขียนเอาไว้หลายเรื่องด้วยกัน
    เล่มแรก มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นของตน มีทั้งสิ้น 37 เรื่อง
    เล่มที่สอง มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นแดนเกิด มีทั้งสิ้น 27 เรื่อง
    เล่มที่สาม มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธ์ุ มีทั้งสิ้น 40 เรื่อง
    เล่มที่สี่ มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย มีทั้งสิ้น 47 เรื่อง
    เล่มที่ห้า มีชื่อว่า เรามีกรรมเป็นมรดกตกทอด มีทั้งสิ้น 43 เรื่อง
    เล่มที่หก มีชื่อว่า เรามีกรรมใดย่อมได้รับผลกรรมนั้น มีทั้งสิ้น 27 เรื่อง
    และ เล่มที่เจ็ด มีชื่อว่า เราจักล่วงพ้นจากกรรมไปไม่ได้เลย มีทั้งสิ้น 40 เรื่อง
    รวมเจ็ดชุดมี 261 เรื่อง


    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">[​IMG]</TD><TD>พระเจ้า500ชาติ ฉบับสมบูรณ์
    อดีตชาติก่อนที่จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า รวมชาดกจากพระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม
    ครบสมบูรณ์ 547 พระชาติ
    หนังสือ ชาดกพระเจ้า 500 ชาติ จากพระไตรปิฎก เล่มนี้ เป็นคำสอนในทางพระพุทธศาสนา
    ที่ได้รับการยกย่องและยอมรับจากพระพุทธศาสนิกชนทั้งหลายแล้วว่า เป็นชาดกนิทานที่เป็นตัวอย่างที่ดี
    ที่บิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ใช้ในการอบรม และสั่งสอน บุตรธิดา และ อนุศิษย์
    ให้ดำรงตนอยู่ในศีลธรรม ให้รู้จักละชั่ว ทำดี รักษาใจให้บริสุทธิ์
    เป็นหนังสือ ปกแข็งเย็บกี่ เคลือบ PVC ด้าน และ ลง UVSPOT อย่างดี ขนาด 31.5x21.5 cm
    จำนวน 1158 หน้า ด้วยวัสดุกระดาษปอนด์ สีขาวนวลสายตา
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>
    "คนเราถ้ามันจะขลัง ต้องขลังกระทั่งเยี่ยว...เอ้า! ยิงเลย"
    ว่าแล้วปฏิบัติการทดสอบ "ความขลัง" ของหลวงปู่ตื้อก็เริ่มขึ้น
    กลุ่มชายฉกรรจ์ เปิดฉากสับไกยิงหัวตอ ที่หลวงปู่ตื้อเพิ่งเยี่ยวใส่
    ผลคือ ...ยิงไม่ออก ! ลูกศิษย์คนหนึ่งรู้ข่าว
    จึงขอทดสอบความขลังกับเขาด้วย ปรากฎว่า...ยิงไม่ออก
    สมคำร่ำลือ ! อารามตกใจ ลนลานไปถาม....
    "หลวงปู่ ! ผมเอาปืนยิงหัวตอ ที่หลวงปู่เยี่ยวใส่...
    ทำไมยิงไม่ออกล่ะครับ ?" "มึงก็ไปถามหัวตอสิว่ะ...
    จะมาถามกูทำไม!!" ... (จากตอน "ไปถามหัวตอ" /หลวงปู่ตื้อ)

    >>อ่านต่อ
    </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    ๑.ปัจจัยที่ทำให้บุคคลไม่อาจบรรลุเป้าหมายในพระพุทธศาสนา
    (หรือแม้บรรลุแล้วก็ไม่อาจดำรงรักษาไว้ได้)
    ๒.สภาวะสูงสุดแห่งการบรรลุเป้าหมายในพุทธศาสนา
    ๓.การทำให้แจ้ง ซึ่ง "อริยสัจ" (รู้อริยสัจ ๔ ตามเป็นจริง)
    ๔. สภาวะแห่ง "สุญญตา" ที่ต้องเข้าถึงด้วย "ภาวนา"
    ๕.สภาวะแห่ง "นิพพาน" ที่ต้องเห็นด้วยตนเอง
    ๖. การถึง "สัญญาเวทยิตนิโรธ" ประสบการณ์ แห่งการบรรลุเป้าหมายสูงสุดของสมาธิภาวนา
    ๗.การสิ้นอาสวะ เป้าหมายสุดท้ายของ "สมาธิภาวนา"
    ที่ต้องเห็นได้ด้วยตัวเองในสมาธิ
    ๘.การบรรลุ "อรหัตตผล"
    ๙. อุตตริมนุสสธรรม
    ๑๐. พุทธกับเทวะ พุทธศาสนากับเทพยดาและศาสนาพราหมณ์ (ฮินดู)
    ๑๑.สาธุชนควรทำบุญอย่างไรจึงได้ผลบุญมาก
    ที่สุดแห่งประสบการณ์การเดินทางของจิต ตามเส้นทางที่พระพุทธเจ้าชี้บอกไว้ในพระไตรปิฎก ในพระพุทธศาสนาไม่มีการผูกขาดความรู้ ความฉลาด และความสามารถในการตรัสรู้สัจธรรมไว้เพื่อผู้หนึ่งผู้ใดโดยเฉพาะ ผู้ใดบำเพ็ญบารมีเพียงพอ ก็อาจเป็นพระพุทธเจ้าได้ทั้งนั้น สัจธรรมจึงเป็นของกลางผู้ใดหมั่นพินิจพิจารณาค้นคว้า ก็สามารถตรัสรู้ได้​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </CENTER></CENTER></CENTER><CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD style="TEXT-ALIGN: justify"><CENTER>ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ ร่วมสนับสนุนตู้พระไตรปิฎก จำนวน 3 หลัง
    ให้แด่ผู้ชนะเลิศรายการ แฟนพันธุ์แท้ ตอน "พุทธทาสภิกขุ"

    ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎก โดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ร่วมสนับสนุน
    ตู้สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกลวดลายทอง ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก </CENTER><CENTER>และตู้สำหรับใส่หนังสือชุดธรรมโฆษณ์ ของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุจำนวน 3 ตู้ ให้แก่ ผู้ที่ชนะการแข่งขันในรายการ </CENTER><CENTER>แฟนพันธุ์แท้ ตอน หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุออกอากาศเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2555</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD></TD><TD>[​IMG]</TD><TD>พุทธภาษิต หมายถึง คำสอนของพระพุทธเจ้าที่ตรัสสอนบุคคลต่างๆ เป็นคำสอนในรูปคาถาบ้าง </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: #f5e479; WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD>
    ขั้นตอนง่ายๆ สำหรับการสั่งพิมพ์หนังสือ แจก เป็นธรรมทานเนื่องในโอกาสพิเศษต่างๆ

    1. เลือกหนังสือธรรมะ หรือหนังสือสวดมนต์ ที่มีอยู่ใน ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาแห่งนี้ ว่าเราจะแจกหนังสือเล่มไหนดี
    2. กำหนดจำนวนหนังสือธรรมะ หรือจำนวนหนังสือสวดมนต์ ที่จะใช้แจก ในงานที่ระลึกนั้นๆ ว่าจะใช้จำนวนเท่าไหร่ดี
    3. ถ้าหากมี "ส่วนเพิ่มหน้า" ที่จะต้องพิมพ์เฉพาะแทรกไว้ด้านหน้าแรกของหนังสือที่เลือก เช่น แทรก 1 , 2 , 4 , 8 , 12 หน้าตามขนาดของหนังสือนั้น
    3.1 ให้พิมพ์ข้อความดังกล่าวใส่ลงไปใน โปรแกรมเวิร์ด ,โปรแกรมสิ่งพิมพ์อื่นๆ
    หรือ ให้พิมพ์เฉพาะข้อความ ที่จะพิมพ์แทรกเข้าไป เช่น "อนุสรณ์ เนื่องในงานฌาปนกิจศพ , งานพระราชทานเพลิงศพ ฯลฯ"
    3.2 ถ้าเป็นงาน อนุสรณ์ เนื่องในงานฌาปนกิจศพ หรือ งานพระราชทานเพลิงศพ ก็ให้ พิมพ์ ณ เมรุวัด หรือ ณ ฌาปนสถาน ส่งมาได้เลย
    3.3 ถ้ามีรูปภาพจะทำการพิมพ์แทรกด้วย แนะนำให้ เป็นภาพ ขนาด 300 Kb ขึ้นไป
    4. ส่งรายละเอียดทั้งหมด มาที่ E-mail : trilak_books@yahoo.com (พร้อมแจ้ง**กำหนดวันรับหนังสือ )
    5. ให้โทรสั่งงาน โดยเร็ว ก่อนหรือหลังที่จะสั่งพิมพ์งานทุกครั้ง ที่เบอร์ 02-482-7358, 087-696-7771, 081-424-0781 ,085-819-4018
    6. ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎกไตรลักษณ์ บริการจัดส่ง หนังสือธรรมะทั่วประเทศ (ให้ระบุสถานที่ที่จะให้ส่ง)

    สะดวกและรวดเร็ว ด้วยการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะที่มีอยู่แล้ว

    1. การทำหนังสือเพื่อแจกเป็นธรรมทาน 1 ครั้ง โดยเลือกหนังสือที่มีอยู่แล้ว จะทำให้ช่วยลด ราคา หนังสือ ต่อ 1 เล่มลงไป ทำให้การทำจัดพิมพ์หนังสือแต่ละครั้ง ไม่แพงจนเกินไป เนื่องจากไม่จำเป็นจะต้องพิมพ์ใหม่ทั้งเล่ม
    2. ไม่จำเป็นต้องพิมพ์หนังสือธรรมะใหม่ ก็สามารถทำหนังสือธรรมะเพื่อแจกเป็นธรรมทานได้ทันที
    3. เพียงพิมพ์ข้อความ หน้างานที่จะพิมพ์แทรกลงไปในหนังสือที่ต้องการจะแจก ก็เป็นหนังสือ งาน ของเราได้ทันที
    4. ใช้เวลาเพียงไม่กี่วัน ก็สามารถ รับ หรือส่งหนังสือได้ทันตามเวลาที่กำหนดได้ทันท่วงที ในระยะเวลาที่กำหนดได้อย่างไม่มีปัญหา

    สำหรับท่านที่พิมพ์หนังสือเสร็จแล้วเป็นเล่ม ในรูปแบบ PDF
    สามารถนำไฟล์ PDF ที่พิมพ์เรียบร้อยแล้วพิมพ์จริง ส่งมายังศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ได้ทันที
    เมื่อได้รับไฟล์ PDF หนังสือจากลูกค้าแล้วทางศูนย์ฯจะประเมินราคาต่อไปเพื่อเตรียมสู่กระบวนการพิมพ์ต่อ


    **** กรณีต้องส่งหนังสือ ไปต่างจังหวัด****
    จำเป็นต้องเผื่อเวลาการส่งประมาณ2-3วันเพื่อให้หนังสือที่สั่งทำนั้นส่งทันเวลาหรือส่งก่อนเวลาที่จะใช้งานจริง ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับท่านลูกค้าที่ประสงค์จะพิมพ์หนังสือธรรมะแจกเนื่องในงานต่างๆ ที่จะต้องรีบดำเนินการวางแผน การพิมพ์งานตั้งแต่เนิ่นๆ เพื่อความสะดวกและทันต่อเวลางานที่จะใช้

    **** กรณีต้องส่งภายในเขต กรุงเทพมหานคร****
    สามารถดำเนินการส่ง อย่างเร็วและได้ทันท่วงที แต่ก็เช่นกัน หากวางแผนแล้วว่าจะพิมพ์หนังสือธรรมะแจกเนื่องในโอกาสต่างๆ ก็ให้ดำเนินการวางแผนงานโดยเร็ว หรืออาจจะโทรปรึกษา เพื่อการวางแผนการพิมพ์หนังสือแจกเนื่องในงานที่ระลึกได้ที่เบอร์ 081-424-0781, 02-482-7358​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><TABLE border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    <TABLE style="WIDTH: 790px" border=0><TBODY><TR><TD style="TEXT-ALIGN: left">ราคาตู้พระไตรปิฎก ที่เผยแพร่ โดยศูนย์ฯไตรลักษณ์

    ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแผ่นแท้
    สำหรับใส่ หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
    ราคา 8,500.-

    ตู้พระไตรปิฎกลวดลายทองพื้นแดง-ทรงป้าน

    สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
    ราคา 8,500.-

    ตู้พระไตรปิฎกลวดลายทองพื้นแดง-ทรงตรง

    สำหรับใส่ หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม
    ราคา 8,000.-

    ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแผ่นแท้

    ใส่พระไตรฯ 91ล. ราคา12,500.-


    ตู้สำหรับใส่ชุดหนังสือธรรมโฆษณ์

    ของหลวงพ่อพุทธทาส 79 เล่ม
    และ/หรือ ใส่หนังสือพระไตรปิฎก 91 เล่ม ราคา 10,000.-
    </TD><TD style="TEXT-ALIGN: left">ราคากลางหนังสือพระไตรปิฎก ที่เผยแพร่ ณ ปัจจุบัน
    ราคาหนังสือพระไตรปิฎกฉ.เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
    ครองราชย์ครบ 60ปี จัดพิมพ์โดยมหาเถระสมาคม
    45 เล่มภาษาไทย วัดเทวราชฯ เผยแพร่ ราคา 15,000 บาท

    หนังสือพระไตรปิฎก ฉ.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ภาษาไทย
    มหาจุฬาฯ เผยแพร่ใน ราคา15,000 บาท

    ชุด..หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทยพร้อมอรรถกถา 91 เล่ม
    ของมหามกุฏราชวิทยาลัย มหามกุฏฯเผยแพร่ ราคา 25,000 บาท

    ราคาหนังสือพระไตรปิฎก บาลี 45 เล่ม
    โดยมหามกุฏราชวิทยาลัย ราคา 9,500 บาท

    ราคาหนังสือพระไตรปิฎก ฉ.สธรรมภักดี 100 เล่ม ราคา 24,000 บาท

    ราคาหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับประชาชน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    กราบโมทนา สาธุ ๆ
    ในการเผยแพร่พระธรรม
    ของพุทธศาสนาด้วยครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...