ถาม-ตอบปัญหาธรรม (สติปัฏฐาน)...สุวัฒน์ พิทักษ์วงษ์

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย nondanun, 4 สิงหาคม 2007.

  1. nondanun

    nondanun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    5,980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    13
    ค่าพลัง:
    +32,612
    ถาม-ตอบปัญหาธรรม
    ( สติปัฏฐาน)



    ถาม-ตอบปัญหาธรรมะนี้ คัดมาจากหนังสือมนุษย์...เกิดมาทำไม (เล่ม ๔) ซึ่งรวบรวมและเรียบเรียงโดย คุณสุวัฒน์ พิทักษ์วงษ์


    คำถามที่ ๑

    ถาม : ทำไมจึงกล่าวว่า
     
  2. nondanun

    nondanun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    5,980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    13
    ค่าพลัง:
    +32,612
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top>ทางสายกลาง หรือมัชฌิมาปฏิปทา

    - ทางสายกลางที่แท้จริงมีหลักที่แน่นอน ความแน่นอนของทางสายกลางนั้น อยู่ที่ความมีจุด

    หมาย หรือเป้าหมายที่แน่ชัด

    เมื่อมีเป้าหมายหรือจุดหมายที่แน่นอนแล้ว ทางที่นำไปสู่จุดหมายนั้น หรือการกระทำที่ตรงจุด

    พอเหมาะพอดีที่จะให้ผลตามเป้าหมายนั้นแหละ คือ ทางสายกลาง

    ทางสายกลางที่เรียกว่ามัชฌิมาปฏิปทานี้ มีจุดหมายที่แน่นอน คือ ความดับทุกข์ หรือภาวะ

    หลุดพ้นเป็นอิสระไร้ปัญหา

    - มรรค คือ ระบบความคิด และ การกระทำ หรือ การดำเนินชีวิตที่ตรงจุดพอเหมาะพอดีให้

    ได้ผลสำเร็จตามเป้าหมาย คือ ความดับทุกข์นี้ จึงเป็นทางสายกลาง
    หรือมัชฌิมาปฏิปทา

    พุทธธรรม หน้า 582

    http://www.dhammachak.com/viewforum.php?f=5</TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top>เพราะฉะนั้น ทางสายกลาง จึงเป็นทางแห่งปัญญา และจึง

    เริ่มต้นด้วยสัมมาทิฏฐิ คือ เริ่มด้วยการเข้าใจปัญหาของตนและรู้จักจุดหมายที่จะเดินทางไป

    โดยนัยนี้ ทางสายกลางจึงเป็นทางแห่งความรู้ และความมีเหตุผล เป็นทางแห่งการรู้เข้าใจ

    ยอมรับและกล้าเผชิญหน้ากับความจริง

    เมื่อมนุษย์มีความรู้ความเข้าใจและกล้าเผชิญหน้ากับความจริงของโลกและชีวิตแล้ว มนุษย์ก็

    จะสามารถจัดการกับชีวิตด้วยมือของตนเอง หรือสามารถดำเนินชีวิตให้ถูกต้องดีงามกันได้

    เอง โดยไม่ต้องคอยหวังพึ่งอำนาจศักดิ์สิทธิ์ฤทธานุภาพดลบันดาลจากภายนอก

    และเมื่อมนุษย์มีความมั่นใจด้วยอาศัยปัญญาเช่นนี้แล้ว มนุษย์ก็จะไม่ต้องไปหมกมุ่นวุ่นวายอยู่
    กับสิ่งที่ห่วงกังวลว่าจะมีอยู่นอกเหนือวิสัยของมนุษย์ ท่าทีแห่งความมั่นใจเช่นนี้แหละ คือ

    ลักษณะอย่างหนึ่งของความเป็นทางสายกลาง
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...