ตำราหนูกัดผ้า ความเชื่อที่มีมาก่อนพุทธกาล แต่สืบต่อมาถึงปัจจุบันในไทย

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย เอกอิสโร, 26 สิงหาคม 2010.

  1. เอกอิสโร

    เอกอิสโร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,051
    ค่าพลัง:
    +3,809
    [​IMG] เอกอิสโร วรุณศรี
    รูรั่ว รอยร้าวมีอยู่ ไม่เห็น
    อาศัยฝนเป็นประเด็น จึงรู้
    โบราณกล่าวไว้ เป็นครู
    หนูกัดผ้าจึงรู้ คุณแมว

    ...(อาศัยเหตุจากบ้านเพื่อนหลังคารั่ว จึงเกิดกวีกลอนเปล่า ณ เช้าวันที่ ๒๖ สิงหา)


    [​IMG]






    <FORM id=commentable_item_3194375_153963097953050 class="commentable_item one_row_add_box autoexpand_mode comment_form_153963097953050" onsubmit=';var d=document.documentElement;if (d.onsubmit) { return d.onsubmit(event); }else { return Event.fire(d, "submit", event); }' method=post name=add_comment action=/ajax/ufi/modify.php ajaxify="1">
    • [​IMG] เอกอิสโร วรุณศรี
    • อืมม อาศัยเหตุนี้ จึงเกิดเหตุนี้
      อาศัยเรื่องหลังคารั่ว จึงเกิดกลอนเปล่า
      แล้วพลันนึกถึง เรื่อง "หนูกัดผ้า"
      อาศีย เรื่องหนูกัดผ้า จึงได้รู้เรื่องความเชื่อ
      ที่ในโบราณ ตำราพรหมชาติ ไม่รู้ใครเคยอ่านมั๊ย
      เป็นตำราหมอดูประจำบ้าน ผมเคยอ่านตั้งแต่อยู่ประถม
      ที่บ้านมีติดบ้านไว้ เหมือน "ยาสามัญประจำบ้าน"
      มีอะไร ก็เปิดได้ รวมทั้ง เรือง "หนูกัดผ้า" ก็มีในตำรา

    [​IMG]


    ความเชื่อนี้สืบมา ตามคัมภีร์โหราศาสตร์ และอาจจะมีเหลืออยู่
    แต่ในประเทศไทย หรือเฉพาะ อุษาคเนย์ ก็เป็นได้

    "แปลกแต่จริง"

    เพราะเรื่องความเชื่ออย่างน<WBR></WBR>ี้มีมาแต่ ครั้งพุทธกาล
    ดังจะได้ นำไปเขียนไว้ในบันทึกต่อไปดูเพิ่มเติม
    <ABBR class=timestamp title="26 สิงหาคม 2010 เวลา 6:24 น." data-date="Wed, 25 Aug 2010 16:24:53 -0700">27 นาทีที่แล้ว</ABBR> ·<BUTTON class="stat_elem as_link" title=ชื่นชอบความเห็นนี้ name=like_comment_id[319661] type=submit value="319661">ถูกใจเลิกชอบ</BUTTON> · <LABEL class="uiLinkButton async_throbber"><INPUT class=stat_elem value=ลบ type=submit name=delete[319661]></LABEL>


    • [​IMG] เอกอิสโร วรุณศรี
    • ในสมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้า ประทับอยู่วัดเวฬุวัน กรุงราชคฤห์ ทรงปรารภพราหมณ์ชาวเมืองผู้<WBR></WBR>หนึ่ง ซึ่งเป็นผู้ถือมงคลตื่นข่าว<WBR></WBR> ไม่เลื่อมใสในพระรัตนตรัย เป็นมิจฉาทิฎฐิ มีโภคทรัพย์มาก เรื่องมีอยู่ว่า...

      วันหนึ่ง หนูได้กัดผ้านุ่งคู่หนึ่งขอ<WBR></WBR>งพราหมณ์ ที่เก็บ...ไว้ในหีบ เขาคิดว่า
      " ความพินาศอย่างใหญ่หลวง จักมีแก่ครอบครัวของเราและผ<WBR></WBR>ู้ที่นุ่งผ้าคู่นี้ "

      จึงให้ลูกชายใช้ท่อนไม้คอนผ<WBR></WBR>้าไปทิ้งที่ป่าช้าผีดิบ

      เช้าตรู่ของวันนั้น พระพุทธองค์ได้ตรวจดูเวไนยส<WBR></WBR>ัตว์ เห็นอุปนิสัยแห่งโสดาปัตติผ<WBR></WBR>ลของพราหมณ์พ่อลูกคู่นี้ จึงได้เสด็จไปเหมือนนายพราน<WBR></WBR>ตามรอยเนื้อ ได้ประทับยืนอยู่ที่ประตูป่<WBR></WBR>าช้าผีดิบ ทรงเปล่งพระพุทธรังษี ๖ ประการอยู่ ฝ่ายลูกชายของพราหมณ์ เดินคอนผ้าเข้าประตูป่าช้าผ<WBR></WBR>ีดิบมา เมื่อพระพุทธองค์ตรัสถาม จึงเล่าเรื่องนั้นให้ฟัง พระพุทธองค์จึงตรัสให้ทิ้งผ<WBR></WBR>้านั้นเสีย พอมานพนั้นทิ้งผ้าแล้ว พระองค์ก็ทรงถือเอาผ้านั้นต<WBR></WBR>่อหน้ามานพนั่นเอง ทั้งๆที่ถูกมานพนั้นห้ามอยู<WBR></WBR>่ว่า
      " อย่าจับ อย่าจับ ผ้านั้นเป็นอวมงคล "

      ก็ทรงถือผ้านั้นเสด็จกลับวั<WBR></WBR>ดเวฬุวันไป

      มานพรีบกลับไปบ้านบอกเรื่อง<WBR></WBR>นั้นแก่บิดา พราหมณ์พอได้ฟังลูกชายเล่าเ<WBR></WBR>รื่องจบ ก็ตกใจด้วยเกรงว่า
      " ความพินาศจักมีแก่พระพุทธเจ<WBR></WBR>้าและพระวิหาร ผู้คนก็จะครหานินทาได้ เราต้องหาผ้าผืนใหม่ไปถวายแ<WBR></WBR>ลกผ้าคู่นั้นนำกลับไปทิ้งเส<WBR></WBR>ีย "

      จึงชวนลูกชายและคนรับใช้นำผ<WBR></WBR>้าใหม่ไปวัดเวฬุวัน ขอถวายผ้าใหม่แลกกับผ้าคู่น<WBR></WBR>ั้นคืนมา

      พระพุทธองค์ตรัสว่า
      " พราหมณ์ พวกเรามีนามว่าบรรพชิต ผ้าเก่าๆที่เขาทิ้งแล้วหรือ<WBR></WBR>ตกอยู่ในที่เช่นนั้น ย่อมควรแก่พวกเรา ท่านเองมิใช่แต่จะเพิ่งเป็น<WBR></WBR>คนมีความเชื่ออย่างนี้ในบัด<WBR></WBR>นี้เท่านั้น แม้ในครั้งก่อนก็เคยมีความเ<WBR></WBR>ชื่ออย่างนี้เหมือนกัน "

      ได้ตรัสอดีตนิทานมาสาธกแล้ว<WBR></WBR> ตรัสพระคาถาว่า
      " ผู้ใดถอนทิฏฐิเรื่องมงคล อุบาต ความฝันและลักษณะได้แล้ว
      ผู้นั้น ล่วงพ้น สิ่งอันเป็นมงคลและโทษทั้งป<WBR></WBR>วง ครอบงำกิเลสเป็นคู่ ๆ
      และโยคะทั้ง ๒ ประการได้แล้ว ไม่กลับมาเกิดอีก "
      ดูเพิ่มเติม
      <ABBR class=timestamp title="26 สิงหาคม 2010 เวลา 6:28 น." data-date="Wed, 25 Aug 2010 16:28:27 -0700">24 นาทีที่แล้ว</ABBR> ·<BUTTON class="stat_elem as_link" title=ชื่นชอบความเห็นนี้ name=like_comment_id[319668] type=submit value="319668">ถูกใจเลิกชอบ</BUTTON> · <LABEL class="uiLinkButton async_throbber"><INPUT class=stat_elem value=ลบ type=submit name=delete[319668]></LABEL>

    • [​IMG] เอกอิสโร วรุณศรี
    • ยิ่งอ่านนิทานชาดก แล้ว ยิ่ง ทำให้เห็นว่า ความเชื่อในเรื่อง ดี-ร้าย เพราะเหตุจากหนูกัดผ้านี้ มีมาก่อนสมัยพระพุทธเจ้าตรั<WBR></WBR>สรู้อีก
      ซึ่งใน ตำราพรหมชาติ แต่งเป็นกลอนไว้ว่า

      หนูกัดผ้า
      ...

      หนึ่งจะกล่าวแจ้งคัมภีร์ สัตว์หนูกาลี
      อันกัดซึ่งผ้าฟูมฟาย
      จงดูรอยกัดบรรยาย เหมือนรูปใดหมาย
      ตามที่ฉบับตำรา
      หนึ่งแม้นกัดเป็นสัญญา เหมือนดังโอษฐา
      กระดึงท่านให้ทำนาย
      ว่าลาภจะได้โดยหมาย หนึ่งกัดรอยกลาย
      และแม้นดังเดือนดูยล
      จะได้ลาภเนกอนนต์ เงินทองเปรมกมล
      หนึ่งกัดเป็นกระทงมา
      หนึ่งกัดเป็นเพดานสัญญา ท่านให้บูชา
      แล้วจะอยู่สำราญ
      หนึ่งกัดเป็นรูปทะนาน จะได้มิตรสมาน
      เมียมิ่งและบุตรพึงใจ
      หนึ่งกัดเป็นร่องเข้าไป จะอยู่ที่ใด
      ก็สุขเกษมเปรมปรีดิ์
      หนึ่งกัดเป็นต้นพฤกษี อันใหญ่จักมี
      ลาภจะมีถึงมั่นคง
      หนึ่งกัดเป็นดอกบัวบง จงอยู่สุขหลง
      แต่พื้นเกษมเปรมปรา
      หนึ่งกัดเป็นรอยสุนัขา แม้นไพร่จะมา
      ได้เป็นขุนนางคงตรง
      ถ้าเป็นขุนนางอยู่คง จะเลื่อนยศยง
      ขึ้นไปจนครองนครา
      หนึ่งกัดพิศยลสัญญา เป็นรูปชนา
      และตัวจะม้วยเมือมรณ์
      หนึ่งกัดเหมือนรูปจันทร ออกใหม่เสด็จจร
      ท่านให้บูชาจงดี
      หนึ่งกัดเป็นรูปสังข์ชัย จะทำใดใด
      ดีถ้วนทุกสรรพสิ่งการ
      หนึ่งกัดพิศเล็งแลญาณ เป็นราชสถาน
      ปราสาทพระมนเทียนคง
      จะได้เงินทองเที่ยงตรง กัดผมชีวง
      บิดามารดาจะวอดวาย
      กัดหลังของรักจักหาย ตรงตำราทาย
      กัดหน้าจะเสียอาตมา
      กัดมือจะเสียวงศา พันศ์พันธุ์นั้นมา
      จะมอดจะม้วยบรรลัย
      หนึ่งกัดเข่าและเท้าใคร เมียมิตรพิสมัย
      จะสิ้นชีพชีวามรณ์

      หนึ่งกัดวันอาทิตย์จร โชคชั่วชัยชอน
      ไปได้กษัตริย์สุริยวงศ์
      ถ้าวันจันทร์แจ้งตรง ชั่วชัยไปคง
      จะได้แก่พี่น้องตน
      ถ้าอังคารพึงยล ทุกข์สุขเหตุผล
      ไปได้แก่พ่อแม่คง
      ดูเพิ่มเติม
      <ABBR class=timestamp title="26 สิงหาคม 2010 เวลา 6:30 น." data-date="Wed, 25 Aug 2010 16:30:45 -0700">21 นาทีที่แล้ว</ABBR> ·<BUTTON class="stat_elem as_link" title=ชื่นชอบความเห็นนี้ name=like_comment_id[319674] type=submit value="319674">ถูกใจเลิกชอบ</BUTTON> · <LABEL class="uiLinkButton async_throbber"><INPUT class=stat_elem value=ลบ type=submit name=delete[319674]></LABEL>

    • [​IMG] เอกอิสโร วรุณศรี
    • นอกจาก ตำรานี้ แล้ว ยังมีก ที่ค้นได้ตอนนี้ กัดแบบนับรู...กัดอวัยวะอีก<WBR></WBR>เยอะเลย

      นี่ ไปเจออรรถกถา เต็มๆ แล้ว เอามาให้อ่าน ครับ
      อรรถกถา มังคลชาดก
      ว่าด้วย ถือมงคลตื่นข่าว
      ...


      พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร ทรงปรารภพราหมณ์ผู้รู้จักลั<WBR></WBR>กษณะผ้าสาฎกผู้หนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า ยสฺส มงฺคลา สมูหตา ดังนี้.

      ได้ยินว่า พราหมณ์ชาวพระนครราชคฤห์ผู้<WBR></WBR>หนึ่งเป็นผู้ถือมงคลตื่นข่า<WBR></WBR>ว ไม่เลื่อมใสในพระรัตนตรัย เป็นมิจฉาทิฏฐิ มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก. หนูกัดคู่แห่งผ้าสาฎกที่เขา<WBR></WBR>เก็บไว้ในหีบ ครั้นถึงเวลาที่เขาสนานเกล้<WBR></WBR>า กล่าวว่า จงนำผ้าสาฎกมา คนทั้งหลายจึงบอกการที่หนูก<WBR></WBR>ัดผ้าแก่เขา เขาคิดว่า ด้วยผ้าสาฎกทั้งคู่ที่หนูกั<WBR></WBR>ดนี้ จักคงมีในเรือนนี้ละ ก็ความพินาศอย่างใหญ่หลวงจั<WBR></WBR>กมี เพราะผ้าคู่นี้เป็นอวมงคล เช่นกับตัวกาฬกรรณี ทั้งไม่อาจให้แก่บุตรธิดา หรือทาสกรรมกร เพราะความพินาศอย่างใหญ่หลว<WBR></WBR>งจักต้องมีแก่ผู้ที่รับผ้าน<WBR></WBR>ี้ไป ทุกคนต้องให้ทิ้งมันเสียที่<WBR></WBR>ป่าช้าผีดิบ แต่ไม่กล้าให้ในมือพวกทาสเป<WBR></WBR>็นต้น เพราะพวกนั้นน่าจะเกิดโลภใน<WBR></WBR>ผ้าคู่นี้ ถือเอาไปแล้วถึงความพินาศไป<WBR></WBR>ตามๆ กันได้ เราจักให้ลูกถือผ้าคู่นั้นไ<WBR></WBR>ป เขาเรียกบุตรมาบอกเรื่องราว<WBR></WBR>นั้น แล้วใช้ไปด้วยคำว่า พ่อคุณ ถึงตัวเจ้าเองก็ต้องไม่เอาม<WBR></WBR>ือจับมัน จงเอาท่อนไม้คอนไปทิ้งเสียท<WBR></WBR>ี่ป่าช้าผีดิบ อาบน้ำดำเกล้าแล้วมาเถิด.

      แม้พระบรมศาสดาเล่า ในวันนั้นเวลาใกล้รุ่ง ทรงตรวจพวกเวไนยสัตว์ เห็นอุปนิสัยแห่งโสดาปัตติผ<WBR></WBR>ลของพ่อลูกคู่นี้ ก็เสด็จไปเหมือนพรานเนื้อตา<WBR></WBR>มรอยเนื้อ ฉะนั้น ได้ประทับยืน ณ ประตูป่าช้าผีดิบ ทรงเปล่งพระพุทธรังษี ๖ ประการอยู่. แม้มาณพรับคำบิดาแล้ว คอนผ้าคู่นั้นด้วยปลายไม้เท<WBR></WBR>้า เหมือนคอนงูเขียว เดินไปถึงประตูป่าช้าผีดิบ.<WBR></WBR> ลำดับนั้น พระศาสดารับสั่งกะเขาว่า มาณพ เจ้าทำอะไร? มาณพกราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ผ้าคู่นี้ถูกหนูกัด เป็นเช่นเดียวกับตัวกาฬกรรณ<WBR></WBR>ี เปรียบด้วยยาพิษที่ร้ายแรง บิดาของข้าพระองค์เกรงว่า เมื่อผู้ทิ้งมันเป็นคนอื่น น่าจะเกิดความโลภขึ้นถือเอา<WBR></WBR>เสีย จึงใช้ข้าพระองค์ ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้าพเจ้าเองก็มาด้วยหวังว่า<WBR></WBR> จักทิ้งมันเสีย. พระศาสดาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น ก็จงทิ้งเถิด. มาณพจึงทิ้งเสีย.

      พระศาสดาตรัสว่า คราวนี้สมควรแก่เราตถาคต ดังนี้แล้ว ทรงถือเอาต่อหน้ามาณพนั้นที<WBR></WBR>เดียว ทั้งๆ ที่มาณพนั้นห้ามอยู่ว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ นั่นเป็นอวมงคลเหมือนตัวกาฬ<WBR></WBR>กรรณี อย่าจับ อย่าจับเลย พระศาสดาก็ทรงถือเอาผ้าคู่น<WBR></WBR>ั้น เสด็จผันพระพักตร์มุ่งหน้าต<WBR></WBR>รงไปพระเวฬุวัน. มาณพรีบไปบอกแก่พราหมณ์ผู้บ<WBR></WBR>ิดาว่า คุณพ่อครับ คู่ผ้าสาฎกที่ผมเอาไปทิ้งที<WBR></WBR>่ป่าช้าผีดิบนั้น พระสมณโคดมตรัสว่า ควรแก่เรา ทั้งๆ ที่ผมห้ามปราม ก็ทรงถือเอาแล้วเสด็จไปสู่พ<WBR></WBR>ระเวฬุวัน ถึงพระสมณโคดมทรงใช้สอยมัน ก็ต้องย่อยยับ แม้พระวิหารก็จักพินาศ ทีนั้น พวกเราจักต้องถูกครหา เราต้องถวายผ้าสาฎกอื่นๆ มากผืน แด่พระสมณโคดม ให้พระองค์ทรงทิ้งผ้านั้นเส<WBR></WBR>ีย เขาให้คนถือผ้าสาฎกหลายผืน ไปสู่พระวิหารเวฬุวันกับบุต<WBR></WBR>ร ถวายบังคมพระศาสดา แล้วยืนอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง กราบทูลอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระสมณโคดม ได้ยินว่า พระองค์ทรงถือเอาคู่ผ้าสาฎก<WBR></WBR>ในป่าช้าผีดิบ จริงหรือ พระเจ้าข้า? ตรัสว่า จริง พราหมณ์. กราบทูลว่า ข้าแต่พระสมณโคดม คู่ผ้าสาฎกนั้นเป็นอวมงคล เมื่อพระองค์ทรงใช้สอยมัน จะต้องย่อยยับ ถึงพระวิหารทั้งสิ้นก็จักต้<WBR></WBR>องทำลาย ถ้าผ้านุ่งผ้าห่มของพระองค์<WBR></WBR>มีไม่พอ พระองค์โปรดรับผ้าสาฎกเหล่า<WBR></WBR>นี้ไว้ ทิ้งคู่ผ้าสาฎกนั้นเสียเถิด<WBR></WBR>. ครั้งนั้น พระศาสดาตรัสกะเขาว่า พราหมณ์ พวกเรามีนามว่าบรรพชิต ผ้าเก่าๆ ที่เขาทิ้ง หรือตกอยู่ในที่เช่นนั้น คือที่ป่าช้าผีดิบ ที่ท้องถนน ที่กองขยะ ที่ท่าอาบน้ำ ที่หนทางหลวง ย่อมควรแก่พวกเรา ส่วนท่านเองมิใช่แต่จะเพิ่ง<WBR></WBR>เป็นคนมีลัทธิอย่างนี้ในบัด<WBR></WBR>นี้เท่านั้น แม้ในครั้งก่อน ก็เคยมีลัทธิอย่างนี้เหมือน<WBR></WBR>กัน.

      เขากราบทูลอาราธนา ทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก<WBR></WBR> ดังต่อไปนี้ :-

      ในอดีตกาล พระเจ้ามคธราชผู้ทรงธรรม เสวยราชสมบัติในพระนครราชคฤ<WBR></WBR>ห์ แคว้นมคธ. ครั้งนั้น พระโพธิสัตว์เกิดในสกุลอุทิ<WBR></WBR>จจพราหมณ์ สกุลหนึ่ง ถึงความเป็นผู้รู้เดียงสาแล<WBR></WBR>้ว บวชเป็นฤๅษี ยังอภิญญาและสมาบัติให้เกิด<WBR></WBR>แล้ว พำนักอยู่ในป่าหิมพานต์ ในกาลครั้งหนึ่ง ออกจากป่าหิมพานต์มาถึงพระร<WBR></WBR>าชอุทยานในพระนครราชคฤห์ พำนักอยู่ที่นั้น วันที่สองเข้าสู่พระนครเพื่<WBR></WBR>อต้องการภิกขาจาร พระราชาทอดพระเนตรเห็นท่านแ<WBR></WBR>ล้ว รับสั่งให้นิมนต์มา อาราธนาให้นั่งในปราสาท ให้ฉันโภชนาหารแล้ว ทรงถือเอาปฏิญญา เพื่อการอยู่ในพระอุทยานตลอ<WBR></WBR>ดไป. พระโพธิสัตว์ฉันในพระราชนิเ<WBR></WBR>วศน์ พักอยู่ในพระราชอุทยาน กาลครั้งนั้น ในพระนครราชคฤห์ ได้มีพราหมณ์ชื่อว่าทุสสลัก<WBR></WBR>ขณพราหมณ์ (พราหมณ์ผู้รู้ลักษณะผ้า).

      เรื่องทั้งปวงตั้งแต่ เขาเก็บคู่ผ้าสาฎกไว้ในหีบเ<WBR></WBR>ป็นต้นไปเช่นเดียวกันกับเรื<WBR></WBR>่องก่อน นั่นแหละ (แปลกแต่ตอนหนึ่ง) เมื่อมาณพไปถึงป่าช้า พระโพธิสัตว์ไปคอยอยู่ก่อนแ<WBR></WBR>ล้ว นั่งอยู่ที่ประตูป่าช้า เก็บเอาคู่ผ้าที่เขาทิ้งแล้<WBR></WBR>วไปสู่อุทยาน มาณพไปบอกแก่บิดา. บิดาคิดว่า ดาบสผู้ใกล้ชิดราชสกุล จะพึงฉิบหาย จึงไปสำนักพระโพธิสัตว์ กล่าวว่า ข้าแต่พระดาบส ท่านจงทิ้งผ้าสาฎกที่ท่านถื<WBR></WBR>อเอาแล้วเสียเถิด จงอย่าฉิบหายเสียเลย.

      พระดาบสแสดงธรรมแก่พราหมณ์ว<WBR></WBR>่า ผ้าเก่าๆ ที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า ควรแก่พวกเรา พวกเรามิใช่พวกถือมงคลตื่นข<WBR></WBR>่าว ขึ้นชื่อว่าการถือมงคลตื่นข<WBR></WBR>่าวนี้ พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย ไม่สรรเสริญเลย เหตุนั้น บัณฑิตต้องไม่เป็นคนถือมงคล<WBR></WBR>ตื่นข่าว.

      พราหมณ์ฟังธรรมแล้วทำลายทิฏ<WBR></WBR>ฐิเสีย ถึงพระโพธิสัตว์เป็นสรณะแล้<WBR></WBR>ว แม้พระโพธิสัตว์ก็มีฌานมิได<WBR></WBR>้เสื่อม ได้เป็นผู้มีพรหมโลกเป็นที่<WBR></WBR>ไปในเบื้องหน้า แม้พระบรมศาสดาทรงนำเรื่องอ<WBR></WBR>ดีตนี้มาแล้ว ครั้นตรัสรู้พระสัมโพธิญาณแ<WBR></WBR>ล้ว เมื่อจะทรงแสดงธรรมแก่พราหม<WBR></WBR>ณ์ ตรัสพระคาถานี้ ความว่า :-
    • ผู้ใดไม่ถือมงคลตื่นข่าว ไม่ถืออุกกาบาต ไม่ถือความฝัน ไม่ถือลักษณะดีหรือชั่ว ผู้นั้นชื่อว่า ล่วงพ้นโทษแห่งการถือมงคลตื<WBR></WBR>่นข่าว ครอบงำกิเลสเครื่องประกอบสั<WBR></WBR>ตว์ไว้ในภพที่เป็นคูกั้น ย่อมไม่กลับมาเกิดอีก ดังนี้.

      บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยสฺส มงฺคลา สมูหตา ความว่า มงคลเหล่านี้คือ

      ทิฏฐิมงคล มงคลที่เกิดเพราะสิ่งที่เห็<WBR></WBR>น ๑
      สุตมงคล มงคลที่เกิดเพราะเรื่องที่ฟ<WBR></WBR>ัง ๑
      มุตมงคล มงคลที่เกิดเพราะอารมณ์ที่ไ<WBR></WBR>ด้ทราบ ๑
      อันพระอรหันตขีณาสพใด ถอนขึ้นได้แล้ว.

      บทว่า อุปฺปาตา สุปินา จ ลกฺขณา จ ความว่า เรื่องอุบาทที่เป็นเรื่องให<WBR></WBR>ญ่ ๕ ประการเหล่านี้คือ
      จันทรคราสรูปอย่างนี้จักต้อ<WBR></WBR>งมี
      สุริยคราสรูปอย่างนี้จักต้อ<WBR></WBR>งมี
      นักษัตคราสรูปอย่างนี้จักต้<WBR></WBR>องมี
      อุกกาบาตรูปอย่างนี้จักต้อง<WBR></WBR>มี
      ลำพู่กันรูปอย่างนี้จักต้อง<WBR></WBR>มี
      อีกทั้งความฝันมีประการต่าง<WBR></WBR> ๆ ลักษณะทั้งหลายมีอาทิอย่างน<WBR></WBR>ี้ คือ ลักษณะคนโชคดี ลักษณะคนโชคร้าย ลักษณะหญิง ลักษณะชาย ลักษณะทาส ลักษณะทาสี ลักษณะคาม ลักษณะศร ลักษณะอาวุธ ลักษณะผ้า เหล่านี้เป็นฐานแห่งทิฏฐิ.
      ท่านผู้ใดถอนได้หมดแล้ว คือไม่เชื่อถือเอาเป็นมงคล หรืออวมงคลแก่ตน ด้วยเรื่องอุปบาตเป็นต้นเหล<WBR></WBR>่านี้.

      บทว่า โส มงฺคลโทสวีติวตฺโต ความว่า ท่านผู้นั้นเป็นภิกษุผู้ขีณ<WBR></WBR>าสพ ล่วงพ้น ก้าวผ่าน ละเสียได้ซึ่งโทษแห่งมงคลทุ<WBR></WBR>กอย่าง.
      บทว่า ยุคโยคาธิคโก น ชาตุเมติ ความว่า กิเลสที่มารวมกันเป็นคู่ๆ โดยนัยมีอาทิว่า โกธะความโกรธ และอุปนาหะความผูกโกรธ มักขะความลบหลู่ และปลาสะความตีเสมอ ดังนี้ ชื่อว่ายุคะ. กิเลส ๔ อย่างเหล่านี้ คือ กามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะ อวิชชาโยคะ ชื่อว่าโยคะ เพราะเป็นเหตุประกอบสัตว์ไว<WBR></WBR>้ในสงสาร ภิกษุผู้เป็นพระขีณาสพ บรรลุแล้วคือ ครอบงำไว้ได้แล้ว ล่วงพ้นแล้ว ได้แก่ผ่านไปแล้วด้วยดี ซึ่งยุคและโยคะ คือทั้งยุคและโยคะเหล่านั้น<WBR></WBR>.

      บทว่า น ชาตุเมติ ความว่า ท่านผู้นั้นย่อมไม่ถึง คือไม่ต้องมาสู่โลกนี้ด้วยส<WBR></WBR>ามารถแห่งปฏิสนธิใหม่ โดยแน่นอนทีเดียว.

      พระบรมศาสดาทรงแสดงธรรมแก่พ<WBR></WBR>ราหมณ์ ด้วยพระคาถานี้ ด้วยประการฉะนี้ แล้วทรงประกาศสัจธรรม เมื่อจบสัจจะ พราหมณ์กับบุตรดำรงอยู่ในโส<WBR></WBR>ดาปัตติผล.

      พระศาสดาทรงประชุมชาดก ว่า

      บิดาและบุตรในครั้งนั้น ได้มาเป็นบิดาและบุตรคู่นี้<WBR></WBR>แหละ
      ส่วนดาบสได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล.
    • ดูเพิ่มเติม
      <ABBR class=timestamp title="26 สิงหาคม 2010 เวลา 6:37 น." data-date="Wed, 25 Aug 2010 16:37:49 -0700">14 นาทีที่แล้ว</ABBR> ·<BUTTON class="stat_elem as_link" title=ชื่นชอบความเห็นนี้ name=like_comment_id[319685] type=submit value="319685">ถูกใจเลิกชอบ</BUTTON> · <LABEL class="uiLinkButton async_throbber"><INPUT class=stat_elem value=ลบ type=submit name=delete[319685]></LABEL>

    • [​IMG] เอกอิสโร วรุณศรี
    • และในพระไตรปิฎก ในพระสุตตันตปิฎก หลาย พระสูตรที่ท่านตรัสเรื่องศีล<WBR></WBR> คือข้อห้าม ก้มีเกี่ยวกับ "หนูกัดผ้า" อยู่ในหมวด "มหาศีล" ข้อหนึ่ง มีว่า..

      ๑. ภิกษุเว้นขาดจากการเลี้ยงชี<WBR></WBR>พโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา<WBR></WBR> เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์
      ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะ...ที่เขาให้ด้วยศรัทธา แล้วยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด<WBR></WBR>้วยติรัจฉานวิชา
      เห็นปานนี้ คือ ทายอวัยวะ ทายนิมิต ทายอุปบาต ทำนายฝัน ทำนายลักษณะ ทำนายหนูกัดผ้า
      ทำพิธีบูชาไฟ ทำพิธีเบิกแว่นเวียนเทียน ทำพิธีซัดแกลบบูชาไฟ ทำพิธีซัดรำบูชาไฟ ทำพิธี
      ซัดข้าวสารบูชาไฟ ทำพิธีเติมเนยบูชาไฟ ทำพิธีเติมน้ำมันบูชาไฟ ทำพิธีเสกเป่าบูชาไฟ
      ทำพลีกรรมด้วยโลหิต เป็นหมอดูอวัยวะ ดูลักษณะที่บ้าน ดูลักษณะที่นา เป็นหมอปลุกเสก
      เป็นหมอผี เป็นหมอลงเลขยันต์คุ้มครองบ<WBR></WBR>้านเรือน เป็นหมองู เป็นหมอยาพิษ เป็นหมอ
      แมลงป่อง เป็นหมอรักษาแผลหนูกัด เป็นหมอทายเสียงนก เป็นหมอทายเสียงกา เป็นหมอ
      ทายอายุ เป็นหมอเสกกันลูกศร เป็นหมอทายเสียงสัตว์ แม้ข้อนี้ก็เป็นศีลของเธอปร<WBR></WBR>ะการหนึ่ง.
      ดูเพิ่มเติม
      <ABBR class=timestamp title="26 สิงหาคม 2010 เวลา 6:43 น." data-date="Wed, 25 Aug 2010 16:43:47 -0700">8 นาทีที่แล้ว</ABBR> ·<BUTTON class="stat_elem as_link" title=ชื่นชอบความเห็นนี้ name=like_comment_id[319694] type=submit value="319694">ถูกใจเลิกชอบ</BUTTON> · <LABEL class="uiLinkButton async_throbber"><INPUT class=stat_elem value=ลบ type=submit name=delete[319694]></LABEL>

    • [​IMG] เอกอิสโร วรุณศรี
    • นั่นแสดงว่า "ตำราทายหนูกัดผ้า" มีมานานแล้ว คงจะพอๆ กับ ทำราโหราศาสตร์ ทำนายทายทัก ที่มีอยู่ก่อนสมัยพุทธกาลนา<WBR></WBR>นแล้ว

      แต่ที่แปลกก็คือ "ถ้าเหตุการณ์สมัยพุทธกาลหร<WBR></WBR>ือก่อนนั้น เกิดขึ้นที่อินเดีย ทำไม เรื่องราวต่างๆ จึงสูญขาดไปจากอินเดีย แต่ ในแผ่นดิน...ไทย โดยเฉพาะ ในภาคอีสานจึงมีเรื่องดังว่<WBR></WBR>านี้ สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน"

      บันทึกไว้ ให้ผู้มีปัญญาได้คิด ใคร่ครวญ ครับ

    </FORM>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 สิงหาคม 2010
  2. Prompiriya

    Prompiriya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    219
    ค่าพลัง:
    +1,081
    สวัสดีครับ...
    ผมเห็นว่า..นี่อาจเป็นเหตุผลอีกประการหนึ่ง อันหนักแน่น..
    ที่จะยืนยันต่อไป ว่าพุทธศาสนากำเนิดในดินแดนสุวรรณภูมิ...
    หวังว่า ผู้มีปัญญาทั้งหลาย จักได้ใคร่ครวญ...
    และยังเป็นกำลังใจด้วยประการทั้งปวง..
     
  3. din555

    din555 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 เมษายน 2010
    โพสต์:
    520
    ค่าพลัง:
    +544
    วางเถิดท่าน ปล่อยวางจากความอยาก
     
  4. เอกอิสโร

    เอกอิสโร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,051
    ค่าพลัง:
    +3,809
    ขอบคุณ คุณ din555 นะครับ และขออนุญาต ใช้คำตอบเดิม ที่ตอบคุณป้าจำเป็น ดังนี้ ครับ


    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#dddddd><TBODY><TR><TD bgColor=#222244 vAlign=top><TABLE border=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD width=40>[​IMG]</TD><TD style="MIN-WIDTH: 500px"><!-- Begin Message Box--><TABLE border=0 width="100%" height=36><TBODY><TR><TD vAlign=top width="80%" noWrap>[​IMG] ความคิดเห็นที่ 15</TD><TD vAlign=top width="50%" noWrap align=right>[​IMG] <!--InformVote=15--><SCRIPT language=JavaScript>MsgStatus(Msv[15], 15);</SCRIPT>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE><!--MsgIDBody=15-->ขออนุญาตออกความเห็นนะคะ

    ในฐานะที่คุณเป็นผู้ปฏิบัติผู้หนึ่ง คุณได้ลองพิจารณาดูหรือยังว่าสิ่งที่คุณ
    เสนอเป็นคุณหรือเป็นโทษ

    เราก็ไม่อาจเอื้อมที่จะแนะนำอะไร รู้แต่เพียงว่า ประโยคที่ว่าตัวกรู ของกรู
    ใช้ได้กับกระทู้นี้ ศาสนาพุทธถึงแม้จะเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจสูงที่สุดของ
    เรา แต่เราก็ไม่มีความยินดีที่จะให้เปลี่ยนข้อมูลโดยใช้หลักฐานที่ไม่ชัด
    เจน และบางส่วนได้หยิบยกเอาความคิดเห็นส่วนตัวมานำเสนอในเรื่องที่
    สำคัญ

    จำเป็นมั้ยคะ ที่ศาสนาพุทธของชาวไทย พระพุทธองค์ก็ต้องเป็นคนไทย
    ไม่จำเป็นเลยค่ะ ในพระไตรปิฏกก็ไม่เคยกล่าวถึงว่า ให้สนใจเรื่องสถาน
    ที่ๆพระองค์เสด็จ แต่ให้หมั่นศึกษาพระธรรม องค์ความรู้ที่พระพุทธองค์
    นำมาเผยแผ่ ขออัญเชิญประโยคที่ว่า "ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา"

    ด้วยเจตนาที่ดี กลับมาเดินทางธรรมในทางที่ถูกที่ควรดีกว่าค่ะ อย่าเสีย
    เวลาเดินเป็นวงกลมอีกเลย เรารู้นะคะว่า คุณมีจิตใจที่ดีงาม ต้องการ
    บอกให้ทุกคนรับทราบ ในส่วนที่คุณคิดว่าใช่ อย่าเชื่อหมดหัวใจค่ะ จะ
    กลายเป็นงมงาย กลายเป็นโดนกิเลสตัวโมหะครอบงำได้ <!--MsgFile=15-->
    <TABLE border=0 cellSpacing=1><TBODY><TR><TD vAlign=top width=75 noWrap>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=15-->คุณป้าจำเป็น [​IMG] [​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=bottom width=75 noWrap>เขียนเมื่อ</TD><TD vAlign=bottom>: <!--MsgTime=15-->19 ส.ค. 53 18:36:16 <!--MsgIP=15-->[​IMG] </TD></TR><TR><TD id=xscore15 vAlign=top width=75 noWrap>ถูกใจ</TD><TD id=score15>: [FONT=Tahoma,Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]Rinta, nopadolrayong19[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE><!-- End Message Box-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#dddddd><TBODY><TR><TD bgColor=#222244 vAlign=top><TABLE border=0 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD width=40>[​IMG]</TD><TD style="MIN-WIDTH: 500px"><!-- Begin Message Box--><TABLE border=0 width="100%" height=36><TBODY><TR><TD vAlign=top width="80%" noWrap>[​IMG] ความคิดเห็นที่ 18</TD><TD vAlign=top width="50%" noWrap align=right>[​IMG] <!--InformVote=18--><SCRIPT language=JavaScript>MsgStatus(Msv[18], 18);</SCRIPT>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!--MsgIDBody=18-->ขอบคุณนะครับ คุณป้าจำเป็น ผมเข้าใจในควางหวังดีของคุณป้าจริงๆ ครับ
    แต่เวลานี้ ยังไม่ใช่เวลาของผมครับ....เวลาของผมจะมีขึ้นในอัตภาพที่ ๗
    นับถัด จากอัตภาพ ในชาติปัจจุบันครับ

    เวลา "เป็นเวลาที่ต้องมา ทำในกิจที่ควรทำ" ครับ

    เมื่อถึงเวลานั้นมาถึง ผมจึงจะได้กล่าวคำว่า

    "กิจที่ควรทำไม่มีอีกแล้วสำหรับเรา" <!--MsgEdited=18-->
    [SIZE=-1]แก้ไขเมื่อ 26 ส.ค. 53 11:48:24[/SIZE]

    [​IMG]<!--MsgFile=18--><CENTER> </CENTER>
    <TABLE border=0 cellSpacing=1><TBODY><TR><TD vAlign=top width=75 noWrap>จากคุณ</TD><TD>: <!--MsgFrom=18-->ศรีวรุณะอิสโร [​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=bottom width=75 noWrap>เขียนเมื่อ</TD><TD vAlign=bottom>: <!--MsgTime=18-->19 ส.ค. 53 21:03:49 <!--MsgIP=18-->[​IMG] </TD></TR><TR><TD id=xscore18 vAlign=top width=75 noWrap></TD><TD id=score18></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- End Message Box-->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...