ชมภาพวัดป่าต่าง ๆ เกือบทุกวัดของครูบาอาจารย์สายหลวงปู่มั่น คลิ๊ก!!!

ในห้อง 'หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต' ตั้งกระทู้โดย แดนโลกธาตุ, 4 ตุลาคม 2006.

  1. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    ชมรวมภาพ วัดป่าต่างๆ ในสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต



    1.วัดป่าบ้านหนองผือนาใน ต.นาใน อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    (วัดท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต )
    เจ้าอาวาสปัจจุบันพระอาจารย์พยุง ชวนปัญโญ


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width=700 align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width="100%" height=19><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หุ่นขี้ผึ้งหลวงปู่มั่นบนกุฏิ

    ------------------------------------------------
    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ความเป็นมาของวัด[/FONT]
    เมื่อครั้งที่องค์หลวงปู่มั่นพำนัก ณ เสนาสนะป่าบ้านห้วยแคน ขณะนั้นท่านพระอาจารย์หลุย ( หลวงปู่หลุย จนฺทสาโร ) จำพรรษาอยู่ที่ บ้านหนองผือนาใน พระอาจารย์หลุยได้แนะนำชาวบ้านหนองผือให้อาราธนาหลวงปู่มั่นมาจำพรรษาที่นี่ ชาวบ้านจึงได้เดินทางไปอาราธนาหลวงปู่มั่น ณ บ้านห้วยแคน ท่านจึงได้มาจำพรรษา ณ วัดป่าบ้านหนองผือในเวลาต่อมา ติดต่อกันเป็นเวลาถึง ๕ พรรษา ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๘๘ - ๒๔๙๒ ( อ่านรายละเอียดได้ที่ ความเป็นมาของวัดป่าบ้านหนองผือ และ ปกิณกธรรม )[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ในอดีตองค์ท่านไม่เคยจำพรรษาซ้ำที่ไหนเป็นปีที่ ๒ เลย การที่ท่านจำพรรษาที่นี่นานเป็นพิเศษนั้น พระอาจารย์วิริยังค์ได้บันทึกถึงสาเหตุไว้ในหนังประวัติพระอาจารย์มั่นไว้ดังนี้[/FONT]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]" ... ในการที่ท่านอยู่ที่วัดป่าบ้านหนองผือนี้ มีความประสงค์เพื่อให้บรรดาศิษย์เก่าและศิษย์ใหม่เข้ามาศึกษา เป็นการเปิดโอกาสแก่บรรดาพระภิกษุสามเณร และเพื่อให้เข้าใจในธรรมยิ่งๆ ขึ้น กับทั้งการแสดงธรรมนั้นยังความชื่นชมและแก้ความสงสัยให้อย่างไม่มีข้อแย้ง ซึ่งคล้ายกับว่าท่านจะรู้จักกาลแห่งสังขารธรรมจักอยู่ไปไม่ได้นาน ใคร่จะสอนให้แก่บรรดาศิษย์เป็นผู้เข้าใจในธรรมอันควรที่จะพึงรู้พึงเข้าใจ สืบแทนท่านได้เป็นหลักฐานแก่คณะกัมมัฎฐานต่อไป ... เมื่อท่านพระอาจารย์มั่นได้พักอยู่ที่วัดป่าบ้านหนองผือตลอดระยะเวลา ๕ ปี ก็มีประโยชน์ที่ได้วางแผนงานขั้นสุดท้ายให้แก่คณานุศิษย์และพระคณาจารย์ของท่าน ซึ่งท่านเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีความสำคัญในการเป็นทายาทของท่านอย่างยิ่ง ... "[/FONT]</TD><TD width="50%">
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ศาลาโรงฉันภัตาตาหารเช้า หลวงปู่มั่น[/FONT]
    ---------------------------------------------------
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD height=15>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]กุฏิหลวงปู่มั่น ณ วัดป่าบ้านหนองผือ*[/FONT]
    --------------------------------------------------------
    </TD><TD height=15>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เตียง ธรรมมาสน์ และเก้าอี้ภายในกุฏิ
    หลวงปู่หล้า เขมปตฺโตเป็นผู้ต่อถวาย
    [/FONT]
    -------------------------------------------
    </TD></TR><TR><TD height=19>
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ศาลาโรงฉันหลวงปู่มั่น[/FONT]
    ------------------------------------------------------
    </TD><TD height=19>
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]กุฏิที่หลวงตามหาบัวเคยจำพรรษา*[/FONT]
    -----------------------------------------------------------
    </TD></TR></TBODY></TABLE>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สภาพวัดป่าบ้านหนองผือในสมัยนั้น หลวงพ่อชา สุภัทฺโธได้เล่าถึงบรรยากาศในช่วงที่ท่านมาศึกษาธรรมปฏิบัติกับองค์หลวงปู่มั่น ณ วัดป่าบ้านหนองผือไว้ในหนังสือ " ใต้ร่มโพธิญาณ " ดังนี้[/FONT]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ทางเดินจงกรมหลวงปู่มั่น
    ที่ข้างกุฏิหลวงปู่
    [/FONT]

    ------------------------------------------------
    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]"...ที่ผมได้ความรู้ความฉลาด จนได้มาแบ่งปันพวกท่านทั้งหลายนั้น ก็เพราะผมได้ ไปกราบครูบาอาจารย์มั่น...[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ไปพบท่าน แล้วก็เห็นสภาพวัดวาอารามของท่าน ถึงจะไม่สวยงาม แต่ก็ สะอาดมาก พระเณรตั้งห้าสิบหกสิบ เงียบ! ขนาดจะถากแก่นขนุน (แก่นขนุนใช้ต้มเคี่ยว สำหรับย้อมและซักจีวร) ก็ยังแบกเอาไปฟันอยู่โน้น.. ไกล ๆ โน้น เพราะกลัวว่าจะ ก่อกวนความสงบของหมู่เพื่อน... [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พอตักน้ำทำกิจอะไรเสร็จ ก็เข้าทางจงกรม ของใครของมัน ไม่ได้ยินเสียง อะไร นอกจากเสียงเท้าที่เดินเท่านั้นแหละ
    บางวันประมาณหนึ่งทุ่ม เราก็เข้าไปกราบท่านเพื่อฟังธรรม ได้เวลาพอ สมควรประมาณสี่ทุ่มหรือห้าทุ่มก็กลับกุฏิ เอาธรรมะ ที่ได้ฟังไปวิจัย... ไปพิจารณา [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เมื่อได้ฟังเทศน์ท่าน มันอิ่ม เดินจงกรมทำสมาธินี่... มันไม่เหน็ดไม่เหนื่อย มันมีกำลังมาก ออกจากที่ประชุมกันแล้วก็เงียบ! บางครั้งอยู่ใกล้ ๆ กัน เพื่อนเขาเดิน จงกรมอยู่ตลอดคืนตลอดวัน จนได้ย่องไปดูว่าใครท่านผู้นั้นเป็นใคร ทำไมถึงเดินไม่หยุดไม่พัก นั่น... เพราะจิตใจมันมีกำลัง..." [/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%" height=265>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]จึงถือได้ว่าวัดป่าบ้านหนองผือในสมัยนั้นเปรียบดั่งมหาวิทยาลัยแห่งพระพุทธศาสนา โดยมีองค์หลวงปู่มั่นเป็นพระอาจารย์ใหญ่ มีหลักสูตรคืออริยมรรคและธุดงควัตร มีกฏระเบียบคือพระธรรมวินัย ข้อวัตรต่างๆ มีปริญญาคือความพ้นทุกข์เป็นหลักชัยตามแนวทางแห่งพระบรมครูพระสัมมาสัมพุทธเจ้า บรรดาพระอาจารย์ท่านต่างๆ ที่ได้หลั่งไหลมาศึกษา ณ วัดป่าบ้านหนองผือนี้ ก็คือครูบาอาจารย์พระภิกษุสงฆ์ที่เป็นกำลังสำคัญในการเผยแพร่พระอริยสัจธรรมในเวลาต่อมานั่นเอง[/FONT]</TD><TD width="50%" height=265>
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]กุฏิท่านพระอาจารย์วิริยังค์ สิรินธโร [/FONT]
    วัดธรรมมงคล กรุงเทพ
    (ปัจจุบันท่านยังดำรงขันธ์อยู่ )

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%" height=255>
    [​IMG][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]
    ทางเดินภายในวัด*
    [/FONT]
    -------------------------------
    </TD><TD width="50%" height=255>[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สภาพวัดป่าบ้านหนองผือในปัจจุบัน
    วัดป่าบ้านหนองผือ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า " วัดภูริทัตตถิราวาส " ซึ่งเป็นนามที่ตั้งโดยท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ ( จูม พนฺธุโล ) ตามฉายาของหลวงปู่มั่น เพื่อถวายเป็นอนุสรณ์แก่องค์ท่านที่ได้เมตตาจำพรรษาที่นี่นานที่สุด ในปัจจุบันเสนาสนะต่างๆ ในสมัยหลวงปู่มั่นก็ยังคงรักษาและอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดี ได้แก่ กุฏิพร้อมทางเดินจงกรม ศาลาโรงธรรม ศาลาฉันภัตตาหาร และของใช้เล็กๆ น้อยๆ ขององค์ท่าน สภาพบรรยากาศวัดก็ยังคงความสงบวิเวกอยู่เช่นเดิม ป่าไม้ยังคงสภาพสมบูรณ์มีกุฏิกรรมฐานซ้อนตัวอยู่จุดต่างๆ ภายในวัด ภายใต้ร่มไม้ที่เปรียบดั่งหลังคาธรรมชาติร่มเย็นตลอดทั้งวัน เป็นรมมณียสถานสำหรับการภาวนาอีกแห่งหนึ่งสำหรับนักปฏิบัติทั้งหลาย[/FONT]</TD></TR><TR><TD colSpan=2>
    [​IMG]

    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อัฐิธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระ ประดิษฐานบนศาลาใหญ่ วัดป่าบ้านหนองผือ[/FONT]
    ----------------------------------------------------------------------------------------

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>

    [​IMG]
    ศาลาในเขตสังฆาวาส*

    --------------------------------------------------

    </TD><TD>
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ศาลาใหญ่โรงฉันหลังปัจจุบัน [/FONT]
    ---------------------------------------------------
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>

    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระเณรเดินบิณบาตยามเช้า*[/FONT]


    ---------------------------------------------------------
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระอาจารย์พยุง ชวนปญฺโญ
    เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
    [/FONT]
    --------------------------------------------
    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ปัจจุบันมีท่านพระครูสุทธธรรมมาภรณ์ ( พระอาจารย์พยุง ชวนปญฺโญ ) เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งท่านยังคงรักษาข้อวัตรต่างๆ ไว้เช่นเดียวกับสมัยหลวงปู่มั่น รวมถึงพยายามจำกัดสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้มีแต่พอดี เพื่อให้วัดแห่งนี้ยังคงสภาพเดิมต่อไป[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ในทุกวันที่ ๑๐ - ๑๑ พฤศจิกายนของทุกปีจะมีจัดงาน วันน้อมรำลึกครบรอบคล้ายวันมรณภาพหลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระ ซึ่งในงานจะได้มีการแสดงพระธรรมเทศนาปฏิบัติธรรมเพื่อน้อมรำลึกถึงองค์หลวงปู่[/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    [/FONT]
     
  2. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 align=center border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width=700 align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width="100%" height=19><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]รูปหล่อหลวงปู่มั่นภายในพิพิธภัณฑ์ [/FONT]
    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ความเป็นมาของวัด
    หลวงปู่เสาร์ กันตสีลเถระ กับ หลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระได้รับการอาราธนาจาก อุบาสิกาสามพี่น้อง ได้แก่ นางนุ่ม, นางนิล ชุวานนท์ และนางลูกอินทร์ วัฒนสุชาติ ผู้มีความเลื่อมใสในพระอาจารย์ทั้งสอง มาจำพรรษา ณ เสนาสนะป่าบ้านบาก ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ ต่อมาจึงได้จัดสร้างเป็นวัดป่าสุทธาวาสในเวลาต่อมา
    ภายหลังที่ท่านจากภาคเหนือมาจำพรรษาที่วัดป่าโนนนิเวศน์ จ.อุดรธานีแล้ว คณะศรัทธาชาวสกลนครได้กราบอาราธนาท่านมาจำพรรษา ณ วัดป่าสุทธาวาสอีกครั้งใน พ.ศ. ๒๔๘๔ แล้วท่านจึงไปจำพรรษาที่เสนาสนะป่าบ้านโคก จวบจนวาระที่ท่านใกล้มรณภาพจึงได้มาทิ้งขันธ์ ณ วัดป่าสุทธาวาสใน พ.ศ. ๒๔๙๒[/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วาระนิพพาน ณ วัดป่าสุทธาวาส
    หลังจากที่ท่านพักอาพาธที่วัดป่าบ้านกลางโนนภู่ ๑๑ วันแล้ว คณะศิษย์นุศิษย์ได้อาราธนาองค์หลวงปู่มั่นนอนในเปลพยาบาลแล้วนำท่านขึ้นรถเพื่อมาพัก ณ วัดป่าสุทธาวาส ออกเดินทางแต่เช้าถึงวัดป่าสุทธาวาสประมาณเกือบ ๑๒ นาฬิกา จากบันทึกของหลวงตาทองคำ จารุวณฺโณผู้อุปฐากองค์หลวงปู่มั่นในช่วงอาพาธได้บันทึกเหตุการณ์ในช่วงที่องค์ท่านมรณภาพไว้ในหนังสือ " บันทึกวันวาน " ไว้ดังนี้[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]"... จากพรรณานิคม ถึงวัดป่าสุทธาวาส สกลนคร เกือบ ๑๒ นาฬิกา เพราะทางหินลูกรังกลัวจะกระเทือนมาก ท่านฯ ก็หลับมาตลอด นำท่านฯ ขึ้นกุฏิ ศิษย์ผู้ใกล้ชิดก็มี ผู้เล่า ท่านวัน ท่านหล้า ผู้จัดที่นอนให้ท่านฯ ได้ผินศีรษะไปทางทิศใต้ ปกติเวลานอนท่านฯ จะผินศีรษะไปทางทิศตะวันออก ด้วยความพะว้าพะวัง จึงพากันลืมคิดที่จะเปลี่ยนทิศทางศรีษะของท่านฯ[/FONT]
    </TD><TD width="50%">
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พิพิธภันธ์บริขารหลวงปู่มั่น
    สร้างบนสถานที่ที่หลวงปู่มั่นมรณภาพ*
    [/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]พระพุทธรูปที่หลวงปู่มั่นเคยบูชาเป็นประจำ
    ที่วัดป่าบ้านหนองผือท่านประดิษฐ์ฐานรองด้วยองค์ท่านเอง
    ประดิษฐานภายในพิพิธภัณฑ์
    [/FONT]
    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เวลาประมาณ ๐๑.๐๐ น. เศษ ท่านฯ รู้สึกตัวตื่นตื่นขึ้นจากหลับ แล้วพูดออกเสียงได้แต่อือๆ แล้วก็โบกมือเป็นสัญญาณ แต่ไม่มีใครทราบว่าท่านฯ ประสงค์สิ่งใด มีสามเณรรูปหนึ่งอยู่ที่นั้น เห็นท่าอาการไม่ดี จึงให้สามเณรอีกรูปไปนิมนต์พระเถระทุกรูป มีเจ้าคุณจูม พระอาจารย์เทสก์ พระอาจารย์ฝั้น เป็นต้น มากันเต็มกุฏิ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เท่าที่สังเกตดู ท่านใกล้จะละสังขารแล้ว แต่อยากจะผินศีรษะไปทางทิศตะวันออก ท่านพลิกตัวไปได้เล็กน้อย ท่านหล้า ( พระอาจารย์หล้า เขมปตฺโต ) คงเข้าใจ เลยเอาหมอนค่อยๆ ผลักท่านไป ผู้เล่าประคองหมอนที่ท่านหนุน แต่ท่านรู้สึกเหนื่อยมาก จะเป็นการรบกวนท่านฯ ก็เลยหยุด ท่านฯ ก็เห็นจะหมดเรี่ยวแรง ขยับต่อไปไม่ได้ แล้วก็สงบนิ่ง ยังมีลมหายใจอยู่ แต่ต้องเงี่ยหูฟัง ท่านวันได้คลำชีพจรที่เท้า ชีพจรของท่านเต้นเร็วชนิดรัวเลย รัวจนสุดขีดแล้วก็ดับไปเฉยๆ ด้วยอาการอันสงบ[/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]
    เป็นอันว่าอวสานแห่งขันธวิบากของท่านฯ ได้สิ้นสุดลงแล้ว ท่ามกลางศิษย์จำนวนมาก ในเวลาประมาณ ๐๒.๐๐ น. เศษๆ ณ วัดป่าสุทธาวาส อ.เมือง จ.สกลนคร เหลือไว้แต่ผลงานของท่านมากมายเหลือคณานับ ..."[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ภายหลังจึงได้มีการฌาปนกิจศพของท่าน และประชุมเพลิงศพ ณ วัดแห่งนี้ เมื่อวันอังคารที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ๒๔๙๓ ต่อมาจึงได้สร้างอุโบสถในบริเวณที่ประชุมเพลิง และพิพิธภัณฑ์หลวงปู่มั่นตรงบริเวณกุฏิที่องค์ท่านมรณภาพ ( ชมประมวลภาพประวัติศาสตร์วันประชุมเพลิงศพหลวงปู่มั่น คลิ๊ก )[/FONT]​

    </TD><TD width="50%">
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อุโบสถวัดป่าสุทธาวาส*[/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อัฐิธาตุหลวงปู่มั่นประดิษฐานภายในพิพิธภัณฑ์[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]บริขารและเครื่องใช้ต่างของหลวงปู่มั่น[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ภายในพิพิธภัณฑ์ วัดป่าสุทธาวาส[/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]อัฐิธาตุหลวงปู่หลุย จันทสาโร[/FONT]
    ในเจดีย์วัดป่าสุทธาวาส
    ---------------------------------------------



    </TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สภาพในปัจจุบัน
    [/FONT][FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วัดป่าสุทธาวาสในปัจจุบันกลายสภาพเป็นวัดป่ากลางเมือง เป็นสำนักเรียนสำคัญของพระภิกษุสงฆ์ในสกลนคร ปูชนิยสถานสำคัญภายในวัดนอกจากอุโบสถและพิพิธภัณฑ์หลวงปู่มั่นแล้ว ก็ยังมี "จันทสารเจติยานุสรณ์" เจดีย์พิพิธภัณฑ์หลวงปู่หลุย จนฺทสาโรอีกด้วย โดยเจดีย์นี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระราชกระแสว่า[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]"ควรสร้างเจดีย์ที่วัดป่าสุทธาวาส อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ที่วัดนี้ มีอัฐิธาตุของพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ ท่านจะได้อยู่ใกล้กัน"[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]และยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ร่างแบบเจดีย์องค์นี้ ด้วยพระองค์เอง พระราชทาน[/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG]
    เจดีย์บรรจุอัฐิธาตุ
    [/FONT]ของหลวงปู่หลุย จันทสาโร
    ---------------------------------------------------------

    </TD><TD>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG]
    [/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หุ่นขี้ผึ้งหลวงปู่หลุย จนฺทสาโร*[/FONT]
    -------------------------------------------------------
    </TD></TR><TR><TD>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG]
    อัฐบริขาร หลวงปู่มั่น
    [/FONT]​
    </TD><TD>
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif][​IMG]
    ยาประจำหลวงปู่มั่น
    [/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

     
  3. nonsoul

    nonsoul เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +105
    นำภาพมาเสริมครับ...ทางเดินจงกรมหลวงปู่มั่น

    [​IMG]
     
  4. nonsoul

    nonsoul เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +105
    ไปที่วัดมาครับเมื่อช่วงออกพรรษา49 นำภาพมาฝากครับ
    ที่เก็บหลังคากุฏิ(เก่า)อยู่ใต้กุฏิหลวงปู่
    [​IMG]
     
  5. nonsoul

    nonsoul เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +105
    กุฏิหลวงปู่มั่น วัดภูริทัตตถิราวาส(หนองผือนาใน)
    [​IMG]
     
  6. nonsoul

    nonsoul เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +105
    [​IMG]

    [​IMG]
     
  7. surad

    surad เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มกราคม 2006
    โพสต์:
    385
    ค่าพลัง:
    +1,287
    น่าไปเที่ยวนะครับ ดูร่มรื่นดี
     
  8. jasminine

    jasminine เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    5,386
    ค่าพลัง:
    +22,313
    ไม่เคยไป.. ได้เห็นภาพไว้เป็นบุญตาก็ยังดี..

    ขอบคุณคุณแดนโลกธาตุ และ คุณ nonsoul มากๆ ค่ะ :)
     
  9. nonsoul

    nonsoul เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +105
    [​IMG]
     
  10. nonsoul

    nonsoul เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +105
    [​IMG]
     
  11. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    [​IMG]



    พระธรรมวิสุทธิมงคล
    พระอาจารย์หลวงปู่มหาบัว ญาณสัมปันโน
    วัดป่าบ้านตาด บ.ตาด ต.บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี
    (ปากต่อปากว่าท่านคือพระอรหันต์ในปัจจุบัน )

    -----------------------------------------------------------


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=760 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>พระประธานบนศาลาวัดป่าบ้านตาด

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    <SCRIPT>SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234125.jpg','พระประธานบนศาลาวัดป่าบ้านตาด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234139.jpg','ชั้นล่างของศาลาวัดป่าบ้านตาด เป็นบริเวณที่หลวงตาฉันภัตตาหารเช้า(ฉันวันละมื้อเดียว) เสร็จภัตตกิจหลวงตาจะเมตตาแสดงธรรมเป็นประจำทุกวัน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234150.jpg','ชั้นบนศาลาวัดป่าบ้านตาดช่วงเช้าก่อนบิณฑบาต และบ่าย 3-4 โมง พระเณรจะช่วยกันทำข้อวัตรปัดกวาดเช็ดถูศาลาและบริเวณเป็นประจำทุกวัน ความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อยจึงเป็นปกติสำหรับวัดกรรมฐาน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234110.jpg','ทางเดินจงกรมของหลวงตา ท่านยังคงเดินเป็นประจำทุกวันท่านเคยกล่าวว่าท่านเดินเพื่อพิจารณาข้ออรรถธรรมมิใช่เพื่อตนแต่เพื่อโลก ทั้งยังเป็นการรักษาธาตุขันธ์ของท่านเอง อีกประการหนึ่งเป็นการสอนพระเณรมิให้เกียจคร้านในการบำเพ็ญสมณธรรม'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234038.jpg','กุฏิใต้ร่มไม้ของหลวงตา หมู่พระเณรนำโดยท่านอ.ปัญญา(รองเจ้าอาวาสชาวอังกฤษ)เป็นตัวแทนกราบขอให้หลวงตาเมตตาอนุญาตให้สร้างขึ้น พระเณรทั้งหลายหวังให้กุฏินี้เป็นการรักษาสุขภาพหลวงตา เพราะกุฏิที่ใช้อยู่ปัจจุบันอยู่ในที่แจ้งกลางแดดไม่มีร่มเงาแต่อย่างใด ฤดูร้อนร้อนมาก...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234027.jpg','กุฏิพระเณร ฝาผนังเป็นผ้าจีวรเก่านำมาปะติดต่อกันเป็นผืนยาว ใช้สำหรับบังแดดฝนลมหนาว ขึงกันทั้ง 4 ทิศ หลวงตาเน้นพระอยู่ง่าย กินง่าย นอนง่าย มีกุฏิใช้สำหรับพอกันแดดฝนหลับนอนเท่านั้น สิ่งสำคัญที่สุดคือการปฏิบัติธรรม'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233953.jpg','กุฏิพระเณร หลังเล็กๆ แต่ใหญ่ด้วย"ธรรม" เพราะหลวงตาสอนเสมอว่า อย่าหรูหราแต่เพียงวัตถุภายนอก แต่"ธรรม"ภายในใจนั้นแห้งผาก'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233942.jpg','กุฏิของหลวงตา มีบริเวณด้านหน้าและด้านข้าง 2 ด้าน หลวงตามักใช้เป็นที่เดินจงกรมในยามฝนตก หรือยามดึก'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233843.jpg','นี่ก็กุฏิพระอีกหลังหนึ่ง..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233827.jpg','กุฏิพระอีกเช่นกัน..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233815.jpg','แต่ละกุฏิขนาดพอได้พักอาศัย ยกพื้นเพื่อและมีที่มุงบังเพื่อกันสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เช่น กระรอก กระแต หนู มด ปลวก งู ตะขาบ ฯลฯ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233737.jpg','กลับจากบิณฑบาต'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233710.jpg','เด็กเล็กก็สนุกเพลิดเพลินที่จะมาวัดป่าบ้านตาด เพราะมีธรรมชาติสัตว์ป่าให้ชม และเป็นแหล่งพบปะเพื่อนวัยเดียวกัน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233636.jpg','ไก่ป่าหากินอาหารร่วมกันกับนก...อีกธรรมชาติหนึ่งที่พบได้ในวัดป่าบ้านตาด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233624.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233614.jpg','ธรรมชาติร่มรื่น พบได้ในวัดสายกรรมฐานทุกวัด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233601.jpg','พระเณรจะนำอาหาร ผัก ผลไม้ ไปให้สัตว์ป่าบริเวณใกล้กุฏิของท่าน เช่น กระต่าย กระรอก กระแต ไก่ป่า กระจงน้อย ฯลฯ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233549.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233532.jpg','ข้าวเหนียว กล้วย สัปปะรด ขนุน ฯลฯ พระเณรจะนำไปวางไว้ตามร้านกระรอกดังภาพ หากร้านใดพร่องไม่มีอาหารหรือผลไม้ดังกล่าว หลวงตาท่านเคยตำหนิไว้ว่า เป็นพระใจดำน้ำขุ่นไม่คิดถึงเขาบ้าง เราเองยังหิวมีปากท้อง เขาก็มีเขาจะไม่หิวได้อย่างไร...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233522.jpg','พระเณรทำข้อวัตรปัดกวาดบริเวณ และทางเดิน...แต่ละองค์จะกวาดตามทางไปเรื่อยๆ จนถึงศาลาวัดซึ่งเป็นจุดศูนย์รวม...นี้ก็เป็นกิจวัตรประจำวันของท่าน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233457.jpg','กระต่ายป่าอยู่ด้วยความอุ่นใจ ตายใจ เพราะปลอดภัยจากการเบียดเบียน...เมตตาธรรมค้ำจุนมาถึงกระต่ายอย่างผมด้วยครับ..สุขจริงหนอๆๆ..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233436.jpg','นี่ละ"ปุ๊กกี้"...ตัวจริงเลยล่ะ แก้ร้อนด้วยน้ำล้างเท้าของพระ...เย็นดีจัง.. ใครร้อนใจจะใช้วิธีคลายร้อนแบบผมก็ได้นะครับ...ฮ้งๆ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233423.jpg','ผ้าจีวรและสังฆาฏิที่ท่านนำมาผึ่งแดดหลังกลับจากการบิณฑบาต'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233409.jpg','เจ้า"อุ้ย"(สุนัขนะมิใช่สิงห์โต) นอนหมอบอยู่ข้างๆ ท่านอ.ปัญญา พระฝรั่งชาวอังกฤษ '); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233356.jpg','พระท่านเย็บย้อมผ้าเสร็จก็นำมาตากไว้เช่นนี้แหละครับ...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233345.jpg','นี่ก็..ทางจงกรม..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233334.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233318.jpg','ร้านอาหารสำหรับกระรอก..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233253.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233241.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233217.jpg','ปัจจุบันท่านอาจารย์สุดใจรับบาตรแทนหลวงตา.. เพื่อรักษาสุขภาพธาตุขันธ์ของหลวงตาในวัยย่าง 90 ปีให้อยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรตราบนานเท่านาน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233205.jpg','ทุกเช้าจะมีประชาชนจากทุกสารทิศมุ่งสู่วัดป่าบ้านตาด..เพื่อรอการใส่บาตร..ดังภาพ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233142.jpg','รู้จักผมรึเปล่า??...จ้ำหลอด ไงครับ...ภูมิใจกับชื่อนี้มากครับ เพราะหลวงตาท่านตั้งให้..จ้ำหลอดอย่างผมมี 4 ตัวครับ คือ จ้ำหลอด, หลอดขาว, หลอดดำ และ หลอดจ่อย..ครับ'); SetCurPicInd(1); </SCRIPT>​
    </TD><TD vAlign=top width=20 bgColor=#ffffff> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=760 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=8>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width=175 bgColor=#ffffff>
    </TD><TD vAlign=top width=1 bgColor=#3d5532>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​



    ศาลาการเปรียญวัดป่าบ้านตาด ที่องค์หลวงตา ได้สร้างขึ้น สภาพเป็นไม้ 1หลัง เอาไว้เป็นที่ฉันเช้า และทำสังฆกรรม ภายในศาลา มี 2 ชั้น
    ข้างบนประดิษฐานพระประธาน และอัฐิธาตุหลวงปู่มั่น หลวงปู่เสาร์
    และอัฐิธาตุครูบาอาจารย์ต่าง ๆ หลายรูป ด้วยกัน

    และในศาลาจะเห็นว่ามีรูปครูบาอาจารย์พระกรรมฐาน ชื่อดังหลายรูป
    เช่นรูปหลวงปู่มั่น หลวงปู่เสาร์ ท่านพ่อลี หลวงปู่แหวน หลวงปู่ขาว
    หลวงปู่ฝั้น เจ้าคุณอุบาลีคุณูปรมาจารย์ อื่นอีกมากมาย
    ที่แขวนไว้เป็นที่กราบไหว้บูชาของหลวงตา และชาวพุทธ ต่อไป


    --------------------------------------------------------------​
     
  12. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ชั้นล่างของศาลาวัดป่าบ้านตาด เป็นบริเวณที่หลวงตาฉันภัตตาหารเช้า(ฉันวันละมื้อเดียว) เสร็จภัตตกิจหลวงตาจะเมตตาแสดงธรรมเป็นประจำทุกวัน</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    ชั้นล่าง เมื่อหลวงตา ฉันเสร็จ ตรงนี้หลวงตาจะเมตตาแสดงธรรมทุกวัน
    โดยมีวิทยุเสียงธรรมท่านออกอากาศทุกวัน

    ----------------------------------------------------------​
     
  13. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ชั้นบนศาลาวัดป่าบ้านตาดช่วงเช้าก่อนบิณฑบาต และบ่าย 3-4 โมง พระเณรจะช่วยกันทำข้อวัตรปัดกวาดเช็ดถูศาลาและบริเวณเป็นประจำทุกวัน ความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อยจึงเป็นปกติสำหรับวัดกรรมฐาน</TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


     
  14. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ทางเดินจงกรมของหลวงตา ท่านยังคงเดินเป็นประจำทุกวันท่านเคยกล่าวว่าท่านเดินเพื่อพิจารณาข้ออรรถธรรมมิใช่เพื่อตนแต่เพื่อโลก ทั้งยังเป็นการรักษาธาตุขันธ์ของท่านเอง อีกประการหนึ่งเป็นการสอนพระเณรมิให้เกียจคร้านในการบำเพ็ญสมณธรรม


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    ----------------------------------------------------------------------


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>กุฏิใต้ร่มไม้ของหลวงตา หมู่พระเณรนำโดยท่านอ.ปัญญา(รองเจ้าอาวาสชาวอังกฤษ)เป็นตัวแทนกราบขอให้หลวงตาเมตตาอนุญาตให้สร้างขึ้น พระเณรทั้งหลายหวังให้กุฏินี้เป็นการรักษาสุขภาพหลวงตา เพราะกุฏิที่ใช้อยู่ปัจจุบันอยู่ในที่แจ้งกลางแดดไม่มีร่มเงาแต่อย่างใด ฤดูร้อนร้อนมาก...


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    -----------------------------------------------------------------------


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>กุฏิพระเณร ฝาผนังเป็นผ้าจีวรเก่านำมาปะติดต่อกันเป็นผืนยาว ใช้สำหรับบังแดดฝนลมหนาว ขึงกันทั้ง 4 ทิศ หลวงตาเน้นพระอยู่ง่าย กินง่าย นอนง่าย มีกุฏิใช้สำหรับพอกันแดดฝนหลับนอนเท่านั้น สิ่งสำคัญที่สุดคือการปฏิบัติธรรม
    และแต่ละกุฏิต้องมีทางเดินจงกรม ทุกรูป เพื่อขัดเกลากิเลส บำเพ็ญธรรม ทุกวัน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    [​IMG]



    --------------------------------------------------------------------




     
  15. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    (สภาพวัดป่าบ้านตาด ของหลวงตามหาบัว )


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>กุฏิพระเณร หลังเล็กๆ แต่ใหญ่ด้วย"ธรรม" เพราะหลวงตาสอนเสมอว่า อย่าหรูหราแต่เพียงวัตถุภายนอก แต่"ธรรม"ภายในใจนั้นแห้งผาก

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    ----------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>กุฏิของหลวงตา มีบริเวณด้านหน้าและด้านข้าง 2 ด้าน หลวงตามักใช้เป็นที่เดินจงกรมในยามฝนตก หรือยามดึก

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    -------------------------------------------------------------------


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>นี่ก็กุฏิพระสงฆืองค์เณร อีกหลังหนึ่ง..

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]

    ---------------------------------------------------------------


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>กุฏิพระอีกเช่นกัน..


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    -------------------------------------------------------------------


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>แต่ละกุฏิขนาดพอได้พักอาศัยเพื่อบำเพ็ญภาวนา และ ยกพื้นขึ้น
    เพื่อและมีที่มุงบังเพื่อกันสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เช่น กระรอก กระแต หนู มด ปลวก งู ตะขาบ ฯลฯ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    ----------------------------------------------------------------------

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>พระสงฆ์เดินกลับ กลับจากบิณฑบาตภายในหมู่บ้านตาด
    หลวงตาสอนว่า ต้องเดินบิณฑบาตรทุกวัน ตราบใดที่ยังฉันอยู่ นี่เป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญ ขาดมิได้ เว้นอาพาธและไม่ฉัน เท่านั้น


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    -------------------------------------------------------------------


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=760 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ธรรมชาติร่มรื่นในวัดป่าบ้านตาด และ พบได้ในวัดสายกรรมฐานทุกวัด


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    <SCRIPT>SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234125.jpg','พระประธานบนศาลาวัดป่าบ้านตาด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234139.jpg','ชั้นล่างของศาลาวัดป่าบ้านตาด เป็นบริเวณที่หลวงตาฉันภัตตาหารเช้า(ฉันวันละมื้อเดียว) เสร็จภัตตกิจหลวงตาจะเมตตาแสดงธรรมเป็นประจำทุกวัน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234150.jpg','ชั้นบนศาลาวัดป่าบ้านตาดช่วงเช้าก่อนบิณฑบาต และบ่าย 3-4 โมง พระเณรจะช่วยกันทำข้อวัตรปัดกวาดเช็ดถูศาลาและบริเวณเป็นประจำทุกวัน ความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อยจึงเป็นปกติสำหรับวัดกรรมฐาน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234110.jpg','ทางเดินจงกรมของหลวงตา ท่านยังคงเดินเป็นประจำทุกวันท่านเคยกล่าวว่าท่านเดินเพื่อพิจารณาข้ออรรถธรรมมิใช่เพื่อตนแต่เพื่อโลก ทั้งยังเป็นการรักษาธาตุขันธ์ของท่านเอง อีกประการหนึ่งเป็นการสอนพระเณรมิให้เกียจคร้านในการบำเพ็ญสมณธรรม'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234038.jpg','กุฏิใต้ร่มไม้ของหลวงตา หมู่พระเณรนำโดยท่านอ.ปัญญา(รองเจ้าอาวาสชาวอังกฤษ)เป็นตัวแทนกราบขอให้หลวงตาเมตตาอนุญาตให้สร้างขึ้น พระเณรทั้งหลายหวังให้กุฏินี้เป็นการรักษาสุขภาพหลวงตา เพราะกุฏิที่ใช้อยู่ปัจจุบันอยู่ในที่แจ้งกลางแดดไม่มีร่มเงาแต่อย่างใด ฤดูร้อนร้อนมาก...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234027.jpg','กุฏิพระเณร ฝาผนังเป็นผ้าจีวรเก่านำมาปะติดต่อกันเป็นผืนยาว ใช้สำหรับบังแดดฝนลมหนาว ขึงกันทั้ง 4 ทิศ หลวงตาเน้นพระอยู่ง่าย กินง่าย นอนง่าย มีกุฏิใช้สำหรับพอกันแดดฝนหลับนอนเท่านั้น สิ่งสำคัญที่สุดคือการปฏิบัติธรรม'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233953.jpg','กุฏิพระเณร หลังเล็กๆ แต่ใหญ่ด้วย"ธรรม" เพราะหลวงตาสอนเสมอว่า อย่าหรูหราแต่เพียงวัตถุภายนอก แต่"ธรรม"ภายในใจนั้นแห้งผาก'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233942.jpg','กุฏิของหลวงตา มีบริเวณด้านหน้าและด้านข้าง 2 ด้าน หลวงตามักใช้เป็นที่เดินจงกรมในยามฝนตก หรือยามดึก'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233843.jpg','นี่ก็กุฏิพระอีกหลังหนึ่ง..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233827.jpg','กุฏิพระอีกเช่นกัน..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233815.jpg','แต่ละกุฏิขนาดพอได้พักอาศัย ยกพื้นเพื่อและมีที่มุงบังเพื่อกันสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เช่น กระรอก กระแต หนู มด ปลวก งู ตะขาบ ฯลฯ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233737.jpg','กลับจากบิณฑบาต'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233710.jpg','เด็กเล็กก็สนุกเพลิดเพลินที่จะมาวัดป่าบ้านตาด เพราะมีธรรมชาติสัตว์ป่าให้ชม และเป็นแหล่งพบปะเพื่อนวัยเดียวกัน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233636.jpg','ไก่ป่าหากินอาหารร่วมกันกับนก...อีกธรรมชาติหนึ่งที่พบได้ในวัดป่าบ้านตาด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233624.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233614.jpg','ธรรมชาติร่มรื่น พบได้ในวัดสายกรรมฐานทุกวัด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233601.jpg','พระเณรจะนำอาหาร ผัก ผลไม้ ไปให้สัตว์ป่าบริเวณใกล้กุฏิของท่าน เช่น กระต่าย กระรอก กระแต ไก่ป่า กระจงน้อย ฯลฯ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233549.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233532.jpg','ข้าวเหนียว กล้วย สัปปะรด ขนุน ฯลฯ พระเณรจะนำไปวางไว้ตามร้านกระรอกดังภาพ หากร้านใดพร่องไม่มีอาหารหรือผลไม้ดังกล่าว หลวงตาท่านเคยตำหนิไว้ว่า เป็นพระใจดำน้ำขุ่นไม่คิดถึงเขาบ้าง เราเองยังหิวมีปากท้อง เขาก็มีเขาจะไม่หิวได้อย่างไร...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233522.jpg','พระเณรทำข้อวัตรปัดกวาดบริเวณ และทางเดิน...แต่ละองค์จะกวาดตามทางไปเรื่อยๆ จนถึงศาลาวัดซึ่งเป็นจุดศูนย์รวม...นี้ก็เป็นกิจวัตรประจำวันของท่าน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233457.jpg','กระต่ายป่าอยู่ด้วยความอุ่นใจ ตายใจ เพราะปลอดภัยจากการเบียดเบียน...เมตตาธรรมค้ำจุนมาถึงกระต่ายอย่างผมด้วยครับ..สุขจริงหนอๆๆ..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233436.jpg','นี่ละ"ปุ๊กกี้"...ตัวจริงเลยล่ะ แก้ร้อนด้วยน้ำล้างเท้าของพระ...เย็นดีจัง.. ใครร้อนใจจะใช้วิธีคลายร้อนแบบผมก็ได้นะครับ...ฮ้งๆ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233423.jpg','ผ้าจีวรและสังฆาฏิที่ท่านนำมาผึ่งแดดหลังกลับจากการบิณฑบาต'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233409.jpg','เจ้า"อุ้ย"(สุนัขนะมิใช่สิงห์โต) นอนหมอบอยู่ข้างๆ ท่านอ.ปัญญา พระฝรั่งชาวอังกฤษ '); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233356.jpg','พระท่านเย็บย้อมผ้าเสร็จก็นำมาตากไว้เช่นนี้แหละครับ...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233345.jpg','นี่ก็..ทางจงกรม..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233334.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233318.jpg','ร้านอาหารสำหรับกระรอก..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233253.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233241.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233217.jpg','ปัจจุบันท่านอาจารย์สุดใจรับบาตรแทนหลวงตา.. เพื่อรักษาสุขภาพธาตุขันธ์ของหลวงตาในวัยย่าง 90 ปีให้อยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรตราบนานเท่านาน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233205.jpg','ทุกเช้าจะมีประชาชนจากทุกสารทิศมุ่งสู่วัดป่าบ้านตาด..เพื่อรอการใส่บาตร..ดังภาพ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233142.jpg','รู้จักผมรึเปล่า??...จ้ำหลอด ไงครับ...ภูมิใจกับชื่อนี้มากครับ เพราะหลวงตาท่านตั้งให้..จ้ำหลอดอย่างผมมี 4 ตัวครับ คือ จ้ำหลอด, หลอดขาว, หลอดดำ และ หลอดจ่อย..ครับ'); SetCurPicInd(16); </SCRIPT>​
    </TD><TD vAlign=top width=20 bgColor=#ffffff> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=760 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=8>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width=175 bgColor=#ffffff> </TD><TD vAlign=top width=1 bgColor=#3d5532>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=right bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    -------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>เด็กเล็กก็สนุกเพลิดเพลินที่จะมาวัดป่าบ้านตาด เพราะมีธรรมชาติสัตว์ป่าให้ชม และเป็นแหล่งพบปะเพื่อนวัยเดียวกัน


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]




    -------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=760 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>พระเณรจะนำอาหาร ผัก ผลไม้ ไปให้สัตว์ป่าบริเวณใกล้กุฏิของท่าน เช่น กระต่าย กระรอก กระแต ไก่ป่า กระจงน้อย
    ฯลฯ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    <SCRIPT>SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234125.jpg','พระประธานบนศาลาวัดป่าบ้านตาด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234139.jpg','ชั้นล่างของศาลาวัดป่าบ้านตาด เป็นบริเวณที่หลวงตาฉันภัตตาหารเช้า(ฉันวันละมื้อเดียว) เสร็จภัตตกิจหลวงตาจะเมตตาแสดงธรรมเป็นประจำทุกวัน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234150.jpg','ชั้นบนศาลาวัดป่าบ้านตาดช่วงเช้าก่อนบิณฑบาต และบ่าย 3-4 โมง พระเณรจะช่วยกันทำข้อวัตรปัดกวาดเช็ดถูศาลาและบริเวณเป็นประจำทุกวัน ความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อยจึงเป็นปกติสำหรับวัดกรรมฐาน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234110.jpg','ทางเดินจงกรมของหลวงตา ท่านยังคงเดินเป็นประจำทุกวันท่านเคยกล่าวว่าท่านเดินเพื่อพิจารณาข้ออรรถธรรมมิใช่เพื่อตนแต่เพื่อโลก ทั้งยังเป็นการรักษาธาตุขันธ์ของท่านเอง อีกประการหนึ่งเป็นการสอนพระเณรมิให้เกียจคร้านในการบำเพ็ญสมณธรรม'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234038.jpg','กุฏิใต้ร่มไม้ของหลวงตา หมู่พระเณรนำโดยท่านอ.ปัญญา(รองเจ้าอาวาสชาวอังกฤษ)เป็นตัวแทนกราบขอให้หลวงตาเมตตาอนุญาตให้สร้างขึ้น พระเณรทั้งหลายหวังให้กุฏินี้เป็นการรักษาสุขภาพหลวงตา เพราะกุฏิที่ใช้อยู่ปัจจุบันอยู่ในที่แจ้งกลางแดดไม่มีร่มเงาแต่อย่างใด ฤดูร้อนร้อนมาก...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234027.jpg','กุฏิพระเณร ฝาผนังเป็นผ้าจีวรเก่านำมาปะติดต่อกันเป็นผืนยาว ใช้สำหรับบังแดดฝนลมหนาว ขึงกันทั้ง 4 ทิศ หลวงตาเน้นพระอยู่ง่าย กินง่าย นอนง่าย มีกุฏิใช้สำหรับพอกันแดดฝนหลับนอนเท่านั้น สิ่งสำคัญที่สุดคือการปฏิบัติธรรม'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233953.jpg','กุฏิพระเณร หลังเล็กๆ แต่ใหญ่ด้วย"ธรรม" เพราะหลวงตาสอนเสมอว่า อย่าหรูหราแต่เพียงวัตถุภายนอก แต่"ธรรม"ภายในใจนั้นแห้งผาก'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233942.jpg','กุฏิของหลวงตา มีบริเวณด้านหน้าและด้านข้าง 2 ด้าน หลวงตามักใช้เป็นที่เดินจงกรมในยามฝนตก หรือยามดึก'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233843.jpg','นี่ก็กุฏิพระอีกหลังหนึ่ง..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233827.jpg','กุฏิพระอีกเช่นกัน..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233815.jpg','แต่ละกุฏิขนาดพอได้พักอาศัย ยกพื้นเพื่อและมีที่มุงบังเพื่อกันสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เช่น กระรอก กระแต หนู มด ปลวก งู ตะขาบ ฯลฯ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233737.jpg','กลับจากบิณฑบาต'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233710.jpg','เด็กเล็กก็สนุกเพลิดเพลินที่จะมาวัดป่าบ้านตาด เพราะมีธรรมชาติสัตว์ป่าให้ชม และเป็นแหล่งพบปะเพื่อนวัยเดียวกัน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233636.jpg','ไก่ป่าหากินอาหารร่วมกันกับนก...อีกธรรมชาติหนึ่งที่พบได้ในวัดป่าบ้านตาด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233624.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233614.jpg','ธรรมชาติร่มรื่น พบได้ในวัดสายกรรมฐานทุกวัด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233601.jpg','พระเณรจะนำอาหาร ผัก ผลไม้ ไปให้สัตว์ป่าบริเวณใกล้กุฏิของท่าน เช่น กระต่าย กระรอก กระแต ไก่ป่า กระจงน้อย ฯลฯ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233549.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233532.jpg','ข้าวเหนียว กล้วย สัปปะรด ขนุน ฯลฯ พระเณรจะนำไปวางไว้ตามร้านกระรอกดังภาพ หากร้านใดพร่องไม่มีอาหารหรือผลไม้ดังกล่าว หลวงตาท่านเคยตำหนิไว้ว่า เป็นพระใจดำน้ำขุ่นไม่คิดถึงเขาบ้าง เราเองยังหิวมีปากท้อง เขาก็มีเขาจะไม่หิวได้อย่างไร...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233522.jpg','พระเณรทำข้อวัตรปัดกวาดบริเวณ และทางเดิน...แต่ละองค์จะกวาดตามทางไปเรื่อยๆ จนถึงศาลาวัดซึ่งเป็นจุดศูนย์รวม...นี้ก็เป็นกิจวัตรประจำวันของท่าน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233457.jpg','กระต่ายป่าอยู่ด้วยความอุ่นใจ ตายใจ เพราะปลอดภัยจากการเบียดเบียน...เมตตาธรรมค้ำจุนมาถึงกระต่ายอย่างผมด้วยครับ..สุขจริงหนอๆๆ..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233436.jpg','นี่ละ"ปุ๊กกี้"...ตัวจริงเลยล่ะ แก้ร้อนด้วยน้ำล้างเท้าของพระ...เย็นดีจัง.. ใครร้อนใจจะใช้วิธีคลายร้อนแบบผมก็ได้นะครับ...ฮ้งๆ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233423.jpg','ผ้าจีวรและสังฆาฏิที่ท่านนำมาผึ่งแดดหลังกลับจากการบิณฑบาต'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233409.jpg','เจ้า"อุ้ย"(สุนัขนะมิใช่สิงห์โต) นอนหมอบอยู่ข้างๆ ท่านอ.ปัญญา พระฝรั่งชาวอังกฤษ '); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233356.jpg','พระท่านเย็บย้อมผ้าเสร็จก็นำมาตากไว้เช่นนี้แหละครับ...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233345.jpg','นี่ก็..ทางจงกรม..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233334.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233318.jpg','ร้านอาหารสำหรับกระรอก..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233253.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233241.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233217.jpg','ปัจจุบันท่านอาจารย์สุดใจรับบาตรแทนหลวงตา.. เพื่อรักษาสุขภาพธาตุขันธ์ของหลวงตาในวัยย่าง 90 ปีให้อยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรตราบนานเท่านาน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233205.jpg','ทุกเช้าจะมีประชาชนจากทุกสารทิศมุ่งสู่วัดป่าบ้านตาด..เพื่อรอการใส่บาตร..ดังภาพ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233142.jpg','รู้จักผมรึเปล่า??...จ้ำหลอด ไงครับ...ภูมิใจกับชื่อนี้มากครับ เพราะหลวงตาท่านตั้งให้..จ้ำหลอดอย่างผมมี 4 ตัวครับ คือ จ้ำหลอด, หลอดขาว, หลอดดำ และ หลอดจ่อย..ครับ'); SetCurPicInd(17); </SCRIPT>​
    </TD><TD vAlign=top width=20 bgColor=#ffffff> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=760 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=8>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width=175 bgColor=#ffffff> </TD><TD vAlign=top width=1 bgColor=#3d5532>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​




    [​IMG]


    ภาพไก่ป่า ภายในวัดป่าบ้านตาด

    ตอนเช้าประมาณ ตี 3 เสีนยงไก่ป่า จะปลุกพระเณรให้ลุกล้างหน้า
    มาทำคววามเพียร ทุกเช้า ปกติสายป่าหลวงปู่มั่น พระป่าต้องลุกตั้งแต่ ตี 3 ทุกวัน เพื่อทำความเพียร ปัดกวาดศาลาหอฉัน ตักน้ำใส่ตุ่ม จัดเสนาสนะโรงฉัน และเนจงกรม เตรียมบิณพบาตร ทุกเช้า


    --------------------------------------------------------------------

     
  16. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>
    (สภาพวัดป่าบ้านตาด ของหลวงตาบัว )

    ข้าวเหนียว กล้วย สัปปะรด ขนุน ฯลฯ พระเณรจะนำไปวางไว้ตามร้านกระรอกดังภาพ หากร้านใดพร่องไม่มีอาหารหรือผลไม้ดังกล่าว หลวงตาท่านเคยตำหนิไว้ว่า เป็นพระใจดำน้ำขุ่นไม่คิดถึงเขาบ้าง เราเองยังหิวมีปากท้อง เขาก็มีเขาจะไม่หิวได้อย่างไร...​



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]

    ----------------------------------------------------------


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ประมาณบ่าย 3 โมง พระเณรจะลงมาทำข้อวัตรปัดกวาดบริเวณ และทางเดิน...แต่ละองค์จะกวาดตามทางไปเรื่อยๆ จนถึงศาลาวัดซึ่งเป็นจุดศูนย์รวม...นี้ก็เป็นกิจวัตรประจำวันของท่าน แล้วก็มาฉันน้ำร้อน น้ำปานะ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    --------------------------------------------------------


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=760 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>กระต่ายป่า และไก่ป่า อยู่ด้วยความอุ่นใจ ตายใจ เพราะปลอดภัยจากการเบียดเบียน...เมตตาธรรมค้ำจุนมาถึงกระต่ายอย่างผมด้วยครับ..สุขจริงหนอๆๆ..


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    <SCRIPT>SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234125.jpg','พระประธานบนศาลาวัดป่าบ้านตาด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234139.jpg','ชั้นล่างของศาลาวัดป่าบ้านตาด เป็นบริเวณที่หลวงตาฉันภัตตาหารเช้า(ฉันวันละมื้อเดียว) เสร็จภัตตกิจหลวงตาจะเมตตาแสดงธรรมเป็นประจำทุกวัน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234150.jpg','ชั้นบนศาลาวัดป่าบ้านตาดช่วงเช้าก่อนบิณฑบาต และบ่าย 3-4 โมง พระเณรจะช่วยกันทำข้อวัตรปัดกวาดเช็ดถูศาลาและบริเวณเป็นประจำทุกวัน ความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อยจึงเป็นปกติสำหรับวัดกรรมฐาน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234110.jpg','ทางเดินจงกรมของหลวงตา ท่านยังคงเดินเป็นประจำทุกวันท่านเคยกล่าวว่าท่านเดินเพื่อพิจารณาข้ออรรถธรรมมิใช่เพื่อตนแต่เพื่อโลก ทั้งยังเป็นการรักษาธาตุขันธ์ของท่านเอง อีกประการหนึ่งเป็นการสอนพระเณรมิให้เกียจคร้านในการบำเพ็ญสมณธรรม'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234038.jpg','กุฏิใต้ร่มไม้ของหลวงตา หมู่พระเณรนำโดยท่านอ.ปัญญา(รองเจ้าอาวาสชาวอังกฤษ)เป็นตัวแทนกราบขอให้หลวงตาเมตตาอนุญาตให้สร้างขึ้น พระเณรทั้งหลายหวังให้กุฏินี้เป็นการรักษาสุขภาพหลวงตา เพราะกุฏิที่ใช้อยู่ปัจจุบันอยู่ในที่แจ้งกลางแดดไม่มีร่มเงาแต่อย่างใด ฤดูร้อนร้อนมาก...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114234027.jpg','กุฏิพระเณร ฝาผนังเป็นผ้าจีวรเก่านำมาปะติดต่อกันเป็นผืนยาว ใช้สำหรับบังแดดฝนลมหนาว ขึงกันทั้ง 4 ทิศ หลวงตาเน้นพระอยู่ง่าย กินง่าย นอนง่าย มีกุฏิใช้สำหรับพอกันแดดฝนหลับนอนเท่านั้น สิ่งสำคัญที่สุดคือการปฏิบัติธรรม'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233953.jpg','กุฏิพระเณร หลังเล็กๆ แต่ใหญ่ด้วย"ธรรม" เพราะหลวงตาสอนเสมอว่า อย่าหรูหราแต่เพียงวัตถุภายนอก แต่"ธรรม"ภายในใจนั้นแห้งผาก'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233942.jpg','กุฏิของหลวงตา มีบริเวณด้านหน้าและด้านข้าง 2 ด้าน หลวงตามักใช้เป็นที่เดินจงกรมในยามฝนตก หรือยามดึก'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233843.jpg','นี่ก็กุฏิพระอีกหลังหนึ่ง..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233827.jpg','กุฏิพระอีกเช่นกัน..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233815.jpg','แต่ละกุฏิขนาดพอได้พักอาศัย ยกพื้นเพื่อและมีที่มุงบังเพื่อกันสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เช่น กระรอก กระแต หนู มด ปลวก งู ตะขาบ ฯลฯ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233737.jpg','กลับจากบิณฑบาต'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233710.jpg','เด็กเล็กก็สนุกเพลิดเพลินที่จะมาวัดป่าบ้านตาด เพราะมีธรรมชาติสัตว์ป่าให้ชม และเป็นแหล่งพบปะเพื่อนวัยเดียวกัน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233636.jpg','ไก่ป่าหากินอาหารร่วมกันกับนก...อีกธรรมชาติหนึ่งที่พบได้ในวัดป่าบ้านตาด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233624.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233614.jpg','ธรรมชาติร่มรื่น พบได้ในวัดสายกรรมฐานทุกวัด'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233601.jpg','พระเณรจะนำอาหาร ผัก ผลไม้ ไปให้สัตว์ป่าบริเวณใกล้กุฏิของท่าน เช่น กระต่าย กระรอก กระแต ไก่ป่า กระจงน้อย ฯลฯ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233549.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233532.jpg','ข้าวเหนียว กล้วย สัปปะรด ขนุน ฯลฯ พระเณรจะนำไปวางไว้ตามร้านกระรอกดังภาพ หากร้านใดพร่องไม่มีอาหารหรือผลไม้ดังกล่าว หลวงตาท่านเคยตำหนิไว้ว่า เป็นพระใจดำน้ำขุ่นไม่คิดถึงเขาบ้าง เราเองยังหิวมีปากท้อง เขาก็มีเขาจะไม่หิวได้อย่างไร...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233522.jpg','พระเณรทำข้อวัตรปัดกวาดบริเวณ และทางเดิน...แต่ละองค์จะกวาดตามทางไปเรื่อยๆ จนถึงศาลาวัดซึ่งเป็นจุดศูนย์รวม...นี้ก็เป็นกิจวัตรประจำวันของท่าน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233457.jpg','กระต่ายป่าอยู่ด้วยความอุ่นใจ ตายใจ เพราะปลอดภัยจากการเบียดเบียน...เมตตาธรรมค้ำจุนมาถึงกระต่ายอย่างผมด้วยครับ..สุขจริงหนอๆๆ..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233436.jpg','นี่ละ"ปุ๊กกี้"...ตัวจริงเลยล่ะ แก้ร้อนด้วยน้ำล้างเท้าของพระ...เย็นดีจัง.. ใครร้อนใจจะใช้วิธีคลายร้อนแบบผมก็ได้นะครับ...ฮ้งๆ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233423.jpg','ผ้าจีวรและสังฆาฏิที่ท่านนำมาผึ่งแดดหลังกลับจากการบิณฑบาต'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233409.jpg','เจ้า"อุ้ย"(สุนัขนะมิใช่สิงห์โต) นอนหมอบอยู่ข้างๆ ท่านอ.ปัญญา พระฝรั่งชาวอังกฤษ '); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233356.jpg','พระท่านเย็บย้อมผ้าเสร็จก็นำมาตากไว้เช่นนี้แหละครับ...'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233345.jpg','นี่ก็..ทางจงกรม..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233334.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233318.jpg','ร้านอาหารสำหรับกระรอก..'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233253.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233241.jpg',''); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233217.jpg','ปัจจุบันท่านอาจารย์สุดใจรับบาตรแทนหลวงตา.. เพื่อรักษาสุขภาพธาตุขันธ์ของหลวงตาในวัยย่าง 90 ปีให้อยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรตราบนานเท่านาน'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233205.jpg','ทุกเช้าจะมีประชาชนจากทุกสารทิศมุ่งสู่วัดป่าบ้านตาด..เพื่อรอการใส่บาตร..ดังภาพ'); SetPicVar('../upload/Resume_Image/b20021114233142.jpg','รู้จักผมรึเปล่า??...จ้ำหลอด ไงครับ...ภูมิใจกับชื่อนี้มากครับ เพราะหลวงตาท่านตั้งให้..จ้ำหลอดอย่างผมมี 4 ตัวครับ คือ จ้ำหลอด, หลอดขาว, หลอดดำ และ หลอดจ่อย..ครับ'); SetCurPicInd(21); </SCRIPT>​
    </TD><TD vAlign=top width=20 bgColor=#ffffff> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=760 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=8>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width=175 bgColor=#ffffff> </TD><TD vAlign=top width=1 bgColor=#3d5532>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=right bgColor=#ffffff>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​


    ---------------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>นี่ละ"ปุ๊กกี้"...ตัวจริงเลยล่ะ แก้ร้อนด้วยน้ำล้างเท้าของพระ...เย็นดีจัง.. ใครร้อนใจจะใช้วิธีคลายร้อนแบบผมก็ได้นะครับ...ฮ้งๆ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    -------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ผ้าจีวรและสังฆาฏิที่ท่านนำมาผึ่งแดดหลังกลับจากการบิณฑบาต


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    -----------------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top> </TD><TD vAlign=top>เจ้า"อุ้ย"(สุนัขนะมิใช่สิงห์โต) นอนหมอบอยู่ข้างๆ ท่านอ.ปัญญา พระฝรั่งชาวอังกฤษ

    (หลวงปู่ปัญญา ท่านเป็นพระฝรั่งรูปแรกของหลวงตา ที่บรรลุธรรม อัฐิแปรเป็นพระธาตุแล้ว )


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]


    ----------------------------------------------------------------



    [​IMG]


    ทางเดินจงกรม ของพระภิกษุสามเณร ภายในวัดป่าบ้านตาด


    [​IMG]




    [​IMG]




    [​IMG]



    กุฏิพระภิกษุสงฆ์ เพื่อบังแดด บังฝนไปวัน ๆ และภาวนา ชำระกิเลส ในวัน ๆหนึ่งเท่านั้น ไม่หรูหรา แต่อย่างใด
    แต่ธรรมภายในใจหรูหรา มากกว่าสิ่งใดจะเทียบได้

    -------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ร้านอาหารสำหรับกระรอก..



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    ------------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>พระท่านเย็บย้อมผ้าเสร็จก็นำมาตากไว้เช่นนี้แหละครับ...
    ตามธรรมดาสายพระป่า ท่านจะย้อมสีผ้าเอง โดยเป็นสีแก่นขนุน
    โยการต้มเอง



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    -----------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ปัจจุบันท่านพระอาจารย์สุดใจ จะรับบาตรแทนหลวงตา.. เพื่อรักษาสุขภาพธาตุขันธ์ของหลวงตาในวัยย่าง 93 ปี เพื่อให้อยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรตราบนานเท่านาน


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ทุกเช้าจะมีประชาชนจากทุกสารทิศมุ่งสู่วัดป่าบ้านตาด..เพื่อรอการใส่บาตร..ดังภาพ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    -------------------------------------------------------------



    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>รู้จักผมรึเปล่า??...จ้ำหลอด ไงครับ...ภูมิใจกับชื่อนี้มากครับ เพราะหลวงตาท่านตั้งให้..จ้ำหลอดอย่างผมมี 4 ตัวครับ คือ จ้ำหลอด, หลอดขาว, หลอดดำ และ หลอดจ่อย..ครับ (หลวงตาท่านเมตตาหมามาก )


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]



    ----------------------------------------------------------



    [​IMG]

    วัดป่าบ้านตาด เริ่มก่อตั้งเมื่อปี เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๘ ต่อมากระทรวงศึกษาธิการ ประกาศตั้งขึ้นเป็นวัดในพระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๓ ให้ชื่อว่า วัดเกษรศีลคุณ [​IMG]ซึ่งเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปในนาม วัดป่าบ้านตาด

    ตั้งอยู่ ณ หมู่บ้านบ้านตาด ตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ห่างจากตัวเมืองอุดรธานีไปทางทิศใต้ ประมาณ ๑๖ กิโลเมตรโดยมีศรัทธาญาติโยมชาวบ้านตาดถวาย พื้นที่ในกำแพงล้อมรอบประมาณ ๑๖๓ ไร่ และบริเวณรอบกำแพงที่มีผู้ซื้อที่ถวายอีกหลายแปลง ตลอดทั้งทางวัดซื้อที่เพิ่ม อีกประมาณ ๑๔๐ ไร่ รวมประมาณ ๓๐๐ ไร่ เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม อันสงบเรียบง่าย ร่มครึ้มไปด้วยต้นไม้สูงใหญ่นานาพันธุ์ เป็นสถานที่พึ่งพิงของสัตว์น้อยใหญ่ ในเขตอภัยทานหลากชนิด อาทิ ไก่ป่า กระรอก กระแต กระต่าย เต่า แย้ นก ฯลฯ

    [​IMG]เมื่อก้าวย่างเข้าสู่บริเวณวัด จะพบศาลาการเปรียญซึ่งเป็นศาลาไม้หลังใหญ่ เดิมทีเป็นศาลาชั้นเดียวยกพื้นเตี้ย แต่ภายหลังถูกยกให้สูงขึ้น ๒ ชั้น เพื่อจะใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น ด้านบนศาลานั้น ให้เป็นที่ประดิษฐาน ของพระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่เป็นพระประธานของวัด ใช้เป็นที่แสดงธรรมอบรมแก่พระภิกษุสามเณรในวัด ตลอดจนเป็นที่ประชุมทำสังฆกรรมร่วมกัน เช่น สวดพระปาฏิโมกข์ อธิษฐานเข้าพรรษา สวดปวารณา และกรานกฐินเป็นต้น ตู้ด้านขวาขององค์พระประธาน นั้น เป็นที่ประดิษฐานอัฐิธาตุของ ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ ซึ่งเป็นพระอาจารย์ของหลวงตามหาบัว รวมทั้งอัฐิธาตุของครูบาอาจารย์องค์อื่นๆ ส่วนด้านล่างศาลานั้นใช้เป็นที่สำหรับฉันภัตตาหารเช้า สถานที่ที่หลวงตามหาบัวใช้ในการแสดงธรรมเทศนาและปฏิสันถารกับศรัทธาฆราวาสญาติโยม ที่มาจากทุกสารทิศอย่างไม่ขาดสายไม่เว้นแต่ละวัน

    [​IMG]สำหรับศาลาใหญ่ด้านนอกกำแพงนั้น สร้างเสร็จเมื่อปลายปี ๒๕๔๔ มีศรัทธาญาติโยมขอสร้างถวาย หลวงตาท่านพิจารณาดูแล้ว เพราะเกี่ยวกับงานช่วยชาติที่จัดหลายๆ ครั้ง เช่น กฐินช่วยชาติเป็นต้น ญาติโยมจากทุกสารทิศไม่มีที่พักอาศัย และที่ร่มบังในเวลามีงานแต่ละวาระ จึงเมตตาให้สร้างเพื่ออาศัยประโยชน์จากจุดนี้

    กุฏิของพระภิกษุสามเณรแต่ละรูป เป็นกุฏิเรียบง่าย พอแก่การบังแดด ลม ฝน จะสูงจากพื้นดิน ประมาณ ๑ เมตร เพื่อกันการรบกวนจากสัตว์เลื้อยคลาน ความชื้นจากพื้นดิน ฯลฯ มีขนาดเพียงพอ สำหรับอยู่เพียงองค์เดียว ฝาผนังส่วนใหญ่ใช้จีวรเก่าขึงแทน เพื่อกันลม กันฝน ใช้มุ้งกลดกันยุง ภายในกุฏิจะมีเพียงกลด เสื่อปูนอน ผ้าห่ม เครื่องอัฏฐบริขาร ตะเกียงหรือเทียนไข และของใช้ ที่จำเป็นอื่นๆ ด้านหัวนอนจะมีพระพุทธรูปหรือรูปครูบาอาจารย์ติดไว้ เพื่อกราบไหว้บูชาเป็น กำลังใจในการบำเพ็ญภาวนา ทุกกุฏิจะมีทางเดินจงกรมอย่างน้อย ๑ เส้น ยาวประมาณ ๒๕ ก้าว อยู่ใต้ร่มไม้ดูร่มเย็น ในยามค่ำคืนการเดินจงกรม จะใช้โคมเทียนจุดสว่างพอให้เห็นทาง กุฏิแต่ละหลัง จะมองไม่เห็นกันประหนึ่งว่า อยู่ท่ามกลางป่าเพียง องค์เดียว เพื่อให้สัปปายะสะดวกในการบำเพ็ญ สมณธรรม

    กุฏิที่สร้างถาวรมีอยู่รวมประมาณ ๑๐ กว่าหลัง เป็นกุฏิของหลวงตา ภิกษุสูงอายุ กุฏิของญาติโยม ตามปกติญาติโยมทั้งหญิงและชายมักมาขออยู่พัก ปฏิบัติธรรมภาวนา เป็นช่วงเวลาสั้นๆ โดยเฉลี่ยอยู่ในระหว่าง ประมาณ ๕๐-๑๐๐ คน จัดแยก เขตกันระหว่างพระภิกษุสามเณร ญาติโยมชายและหญิงอย่างเป็นระเบียบ

    [​IMG]สำหรับวัดป่าบ้านตาดนี้ หลวงตาท่านเน้นย้ำถึงเรื่องมหาภัย ๕ ประเภทที่ไม่ให้พระเกี่ยวข้องเด็ดขาด คือ หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ วิดิโอ โทรศัพท์ เพราะเป็นอุปสรรคต่อการบำเพ็ญสมณ ธรรมโดยตรง อีกทั้งไฟฟ้า ก็ไม่ให้ต่อเข้ามาในวัด มีเพียงเครื่องปั่นไฟ เพื่อใช้ในบางกาล ที่ประชาชนมาทำบุญมาก เป็นกรณีพิเศษในวันสำคัญทางศาสนาเท่านั้น

    กิจวัตรประจำวันหลักของพระเณรก็คือ การนั่งสมาธิภาวนา เดินจงกรม เพื่อฝึกสติปัญญา และชำระกิเลสตัวร้อนรุ่มกระวนกระวายภายในจิตใจให้เหือดแห้งไป พระในวัดนี้จะไม่รับกิจนิมนต์ ไปฉันในที่ต่างๆ เพื่อมีเวลาสำหรับบำเพ็ญเพียรภาวนาเพียงอย่างเดียว

    ที่วัดป่าบ้านตาดปัจจุบัน (ปี ๔๔) ในพรรษามีพระเณรจำพรรษา ๔๙ รูป สามเณร ๑ รูป นอกพรรษาจะมีพระภิกษุสามเณรอาคันตุกะ เข้ามาพักศึกษาข้อวัตร ปฏิบัติเพิ่มขึ้นรวมเป็น ๕๐-๖๐ รูปเป็นประจำ สำหรับในยามเช้าก่อนออก บิณฑบาตทั้งพระและเณรต่างช่วยกันขัดถูปัดกวาดศาลาและบริเวณรอบๆ เสร็จแล้วเข้าไปบิณฑบาตในหมู่บ้าน ระยะทางไปกลับประมาณ ๓ กิโลเมตร ขากลับแวะรับบาตรที่หน้าวัดอีกครั้งหนึ่ง และในช่วงประมาณ บ่าย ๓ โมงเย็น ท่านก็จะออกมาทำข้อวัตรปัดกวาด เสนาสนะ ขัดถู กุฏิ ศาลา บริเวณวัด ทำความสะอาด ห้องน้ำห้องส้วม อย่างพร้อมเพรียงกัน

    หลวงตาได้ พยายามสอนพระเณรอยู่เสมอ ในเรื่อง ความเรียบง่าย มักน้อยสันโดษ การใช้สอย ปัจจัยสี่ที่ศรัทธาญาติโยมถวายมานั้น ให้เป็นไปด้วยความประหยัด ใช้สอยในสิ่งที่จำเป็นเท่านั้น หลายท่านที่ตั้งใจจะมากราบหลวงตาที่วัด อาจจะแปลกใจหากไม่พบป้ายชื่อวัด แต่นั่นก็อาจจะทำให้หลายคนได้นึกคิดจาก ปริศนาธรรมนี้ว่า หลวงตาท่านทำมีความหมายอย่างไร หลายคนอาจจะตีความหมายไปต่างๆนานา มีบางท่านตีความหมายนี้ ซึ่งดูเหมือนจะเข้าทีที่สุดว่า การเดินทาง ถ้าเดินตามแผนที่ที่บอกเป็นระยะ ว่าเส้นทางจะผ่านจุดที่สำคัญจุดไหนบ้าง เป็นลำดับ จนกระทั่งการเดินทางตามเส้นทางไปถึงจุดหมาย ถึงแม้จุดหมายจะไม่มีชื่อบอกก็ตาม ทุกคนที่เดินทางไปก็จะทราบเองว่า ถึงจุดหมายหรือยัง ชื่อก็ไม่จำเป็นอีกต่อไป หรือเส้นทางไปสู่วิมุตตินิพพานก็เช่นกัน ปฏิบัติไปตามหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าวางไว้ เมื่อไปถึงแล้วก็ไม่จำเป็นจะต้องถามใครว่าถึงจุดมุ่งหมายหรือไม่ ปริศนาธรรมนี้ อาจทำให้ผู้มีปัญญาทั้งหลายพอจะทราบว่า หลวงตาท่านสอนอะไร ตั้งแต่เริ่มก้าวเข้ามาในวัดนี้....

    <CENTER>ภาพชุด สิ่งแวดล้อมภายในวัด ศาลา, โกดังโรงทาน, กุฏิ, สัตว์ และบรรยากาศภายในวัดป่าบ้านตาด
    </CENTER>


    ภาพชุดที่ 1 ภาพชุดที่ 2 ภาพชุดที่ 3





    -----------------------------------------------------------------
     
  17. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=780 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#ffffff>

    [​IMG]
    ๑. ด้านจิตภาวนา

    [​IMG]พระภิกษุสามเณร

    วัดป่าบ้านตาด ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๔๙๘ เป็นสถานที่ที่สงบสงัด อุดมด้วยต้นไม้ร่มเย็น เหมาะแก่การบำเพ็ญจิตตภาวนา หลวงตาท่านจึงเข้มงวดกวดขันต่อพระภิกษุสามเณร ที่เข้ามาพักปฏิบัติธรรมเป็นอย่างยิ่ง พระภิกษุสามเณรจะต้องรักษาธรรมวินัย และข้อวัตรปฏิบัติอย่างเคร่งครัด จริงจัง ระยะแรกมีพระที่จำพรรษาไม่มาก ประมาณ ๑๐-๑๕ รูป ต่อๆ มาก็รับเพิ่มขึ้น กระทั่งปัจจุบันอยู่ในเกณฑ์ ๕๐ รูป

    ฆราวาส

    ในระยะแรกหลวงตาท่านไม่รับฆราวาสที่มุ่งมาปฏิบัติธรรม แต่เมื่อมีผู้สนใจมากขึ้นๆ ท่านจึงอนุโลมผ่อนผัน มีฆราวาสทั้งชายและหญิง ทั้งชาวไทย [​IMG]และชาวต่างประเทศที่มุ่งมาพักปฏิบัติธรรมจำนวนมากในปัจจุบัน ทางวัดจัดให้มีเขตชาย-หญิงชัดเจน ไม่คลุกเคล้าปะปนกัน ผู้มุ่งมาปฏิบัติธรรมล้วนแต่อยู่ในความสงบสำรวม ตามกฎระเบียบของวัดที่มุ่งเน้นด้านจิตตภาวนา ระยะเวลาที่ให้พัก ทางวัดไม่ให้อยู่ถาวร แต่อนุญาตให้อยู่พักได้ไม่เกิน ๗-๑๐ วัน

    สำหรับผู้มุ่งมาทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์ หลวงตาท่านจะแสดงธรรมเป็นประจำวันทุกวัน การบิณฑบาตจะเริ่มประมาณ ๖.๐๐ น. เริ่มฉันประมาณ ๗.๐๐ น. พระภิกษุสามเณรที่วัดป่าบ้านตาดนี้ฉันเพียงวันละมื้อเดียวเท่านั้น เพื่อมิให้เป็นความกังวลและเสียเวลา หลวงตาจะเริ่มเทศนาประมาณ ๗.๓๐ น. หากมีคณะผู้แสวงบุญจากทั่วทุกสารทิศมุ่งมาฟังเทศน์ของหลวงตา ในยามบ่ายหลังจากท่านกลับจากการเดินทางเพื่อมุ่งสงเคราะห์โรงพยาบาล ฯลฯ ท่านมักจะเมตตาเทศนาแก่คณะดังกล่าวอีกครั้งหนึ่ง

    ๒. ด้านสงเคราะห์โลก

    โรงพยาบาล โรงเรียน หน่วยราชการ สถานสงเคราะห์ ฯ


    หน่วยงานต่างๆ เมื่อมีความจำเป็นต้องใช้จ่ายทำสาธารณประโยชน์ต่างๆ แต่ขาดแคลนงบประมาณ ต่างมุ่งหน้าเข้ามาขอการสงเคราะห์จากหลวงตา ท่านจะพิจารณาถึงความจำเป็นเร่งด่วนมากน้อยเพียงไร หากพิจารณาแล้วเป็นที่ลงใจ และท่านมีปัจจัยเพียงพอที่จะให้การอนุเคราะห์ ท่านจะช่วยเหลือทันที เพราะจตุปัจจัยไทยทานที่บริจาคเข้ามาที่วัดป่าบ้านตาด หลวงตาท่านไม่เคยเก็บสั่งสมไว้ ท่านมุ่งสงเคราะห์ช่วยเหลือกระจายไปทั่วประเทศไทย

    การบริจาคช่วยชาติ

    [​IMG]มีประชาชนเข้ามาวัดเพื่อบริจาคช่วยชาติประจำวันจำนวนไม่น้อย เพื่อนำเงินดอลลาร์-ทองคำเข้าสู่คลังหลวง ซึ่งเป็นหัวใจของชาติ เพราะเป็นเงินทุนสำรองของประเทศ เป็นการรักษาเสถียรภาพค่าเงินบาทของชาติ เป็นเครดิตในการติดต่อซื้อขายระหว่างประเทศ ประชาชนที่เห็นถึงความสำคัญของคลังหลวง ต่างมุ่งหน้ามาบริจาคกับหลวงตาทั้งที่วัด และทางบัญชีธนาคาร

    และมีไม่น้อยที่เป็นหน่วยงานต่างๆ ที่ทำหนังสือนิมนต์หลวงตาเพื่อขอความเมตตาให้ท่านเดินทางไปเทศนาและรับผ้าป่าช่วยชาติในสถานที่ต่างๆ ทั่วประเทศไทย


    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" border=0><TBODY><TR align=right><TD>หน้าแรก</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=20 bgColor=#ffffff> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=780 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=8>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle width=175 bgColor=#ffffff> </TD><TD vAlign=top width=1 bgColor=#3d5532>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>







    [​IMG] วัดป่าบ้านตาด


    <DIR><LI type=circle>แผนที่การเดินทาง
    <TABLE><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><DIR style="FONT-SIZE: 12pt; LINE-HEIGHT: 16pt; FONT-FAMILY: tahoma">1. แผนที่แสดงที่ตั้งวัดป่าบ้านตาด
    2. แผนที่จังหวัดอุดรธานี
    3. แผนที่แคว้นอีสานเหนือ
    4. แผนที่แคว้นอีสาน
    </DIR>

    <LI type=circle>การเดินทางไปวัดป่าบ้านตาด
    <TABLE><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE>1. เครื่องบิน <TABLE><TBODY><TR><TD height=2></TD></TR></TBODY></TABLE> - มีเที่ยวบินระหว่างกรุงเทพฯ - อุดรธานี ทุกวัน วันละ 3 เที่ยวบินดังนี้
    <DIR style="FONT-SIZE: 14pt; COLOR: #333333; FONT-FAMILY: cordiaupc">1) เวลา 06.50 น.
    2) เวลา 12.30 น.
    3) เวลา 18.15 น.
    </DIR><TABLE><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE> - มีเที่ยวบินระหว่างอุดรธานี - กรุงเทพฯ ทุกวัน วันละ 3 เที่ยวบินดังนี้
    <DIR style="FONT-SIZE: 14pt; COLOR: #333333; FONT-FAMILY: cordiaupc">1) เวลา 08.40 น.
    2) เวลา 14.25 น.
    3) เวลา 20.05 น.
    </DIR><TABLE><TBODY><TR><TD height=2></TD></TR></TBODY></TABLE>2. รถไฟ
    (หมายเหต : กรุณาตรวบสอบกับการรถไฟแห่งประเทศไทยก่อน ก่อนการเดินทาง) <TABLE><TBODY><TR><TD height=2></TD></TR></TBODY></TABLE> - มีการเดินรถระหว่างกรุงเทพฯ - อุดรธานี ทุกวัน โดยออกจากสถานีรถไฟกรุงเทพฯ
    ตามเวลาดังนี้

    <DIR style="FONT-SIZE: 14pt; COLOR: #333333; FONT-FAMILY: cordiaupc">1) เวลา 06.00 น. ขบวนรถเร็ว กรุงเทพฯ - หนองคาย
    2) เวลา 08.20 น. ขบวนรถดีเซลรางปรับอากาศ กรุงเทพฯ - อุดรธานี
    3) เวลา 18.30 น. ขบวนรถเร็ว กรุงเทพฯ - หนองคาย
    4) เวลา 20.00 น. ขบวนรถดีเซลรางปรับอากาศ กรุงเทพฯ - หนองคาย
    5) เวลา 20.45 น. ขบวนรถด่วน กรุงเทพฯ - หนองคาย </DIR><TABLE><TBODY><TR><TD height=2></TD></TR></TBODY></TABLE> - มีการเดินรถระหว่างอุดรธานี - กรุงเทพฯ ทุกวัน โดยออกจากสถานีรถไฟอุดรธานี
    ตามเวลาดังนี้

    <DIR style="FONT-SIZE: 14pt; COLOR: #333333; FONT-FAMILY: cordiaupc">1) เวลา 07.26 น. ขบวนรถดีเซลรางปรับอากาศ หนองคาย - กรุงเทพฯ
    2) เวลา 09.15 น. ขบวนรถเร็ว หนองคาย - กรุงเทพฯ
    3) เวลา 18.35 น. ขบวนรถดีเซลรางปรับอากาศ อุดรธานี - กรุงเทพฯ
    4) เวลา 19.04 น. ขบวนรถเร็ว หนองคาย - กรุงเทพฯ
    5) เวลา 20.02 น. ขบวนรถด่วน หนองคาย - กรุงเทพฯ </DIR><TABLE><TBODY><TR><TD height=2></TD></TR></TBODY></TABLE>3. รถทัวร์ <TABLE><TBODY><TR><TD height=2></TD></TR></TBODY></TABLE> - มีรถบัสปรับอากาศออกจากบริษัททัวร์สายตะวันออกเฉียงเหนือหลายบริษัท ที่สถานีขนส่งหมอชิต ถนนกำแพงเพชร เขตจตุจักร กทม 10900
    หมายเหต : ก่อนเข้าเมืองอุดรธานี ให้ลงบนถนนใหญ่มีป้ายว่า " บ้านคำกลิ้ง " จะมีรถ SKY LAB ( รถมอเตอร์ไซด์ที่มีรถพ่วงสำหรับผู้โดยสารนั่ง ) เข้าไปถึงวัดใช้เวลาเพียง 10 นาที

    </DIR>

    สวนแสงธรรม


    <DIR><LI type=circle>แผนที่การเดินทาง
    <TABLE><TBODY><TR><TD height=3></TD></TR></TBODY></TABLE><DIR style="FONT-SIZE: 12pt; LINE-HEIGHT: 16pt; FONT-FAMILY: tahoma">1. แผนที่แสดงที่ตั้งสวนแสงธรรม
    </DIR>

    <LI type=circle>การเดินทางไปสวนแสงธรรม<LI type=circle> (ในกรณีหลวงตามากรุงเทพ ท่านจะมาที่สวนแสงธรรม เพื่อเทศนา อบรมภาวนา )
    <TABLE><TBODY><TR><TD height=3></TD></TR></TBODY></TABLE><DIR>- ขึ้นรถประจำทางเบอร์ 165 ที่ท้องสนามหลวง รถจะผ่านหน้าสวนแสงธรรม
    ถนนพุทธมณฑลสาย 3
    </DIR></DIR><DIR>--------------------------------------------------------------</DIR><DIR></DIR><DIR></DIR>
    หรือที่รายละเอียด

    http://www.luangta.com/

    --------------------------------------------------------------




    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=775 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG][​IMG][​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=775 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=300 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>[​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG] </TD><TD vAlign=top>[​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG] <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><!---->[​IMG]<!---->

    <!---->[​IMG]<!----> </TD></TR><TR><TD height=2></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 8pt; COLOR: green; FONT-FAMILY: tahoma" align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="55%">
    สถานะยอดบริจาค
    ทองคำและดอลลาร์เข้าคลังหลวง
    ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2549
    <TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD><TABLE borderColor=#ffffff cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center bgColor=#fffee0 border=0><TBODY><TR align=middle borderColorLight=#cccccc borderColorDark=#ffffff><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" width=107 bgColor=#fcf6c0>
    </TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" width=99 bgColor=#fcf6c0>
    ทองคำ​
    </TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" width=108 bgColor=#fcf6c0>
    ดอลลาร์สหรัฐ​
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#dddddd colSpan=3 height=1></TD></TR><TR style="COLOR: red" align=middle><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=left width=107>เป้าหมาย</TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=right width=99>10,000.00</TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=right width=108>10,000,000</TD></TR><TR style="COLOR: red" align=middle><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=left width=107>ยอดถึง12เม.ย.</TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=right width=99>10,312.50</TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=right width=108>10,214,600</TD></TR><TR><TD bgColor=red colSpan=3 height=1></TD></TR><TR style="COLOR: green" align=middle><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=left width=107>เป้าหมายปัจจุบัน</TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=right width=99>11,000.00</TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=right width=108></TD></TR><TR style="COLOR: green" align=middle><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=left width=107>ยอดรวมทั้งสิ้น</TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=right width=99>11,037.50</TD><TD style="FONT-SIZE: 8pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=left width=108> ณ วันที่ 19 ส.ค. 47</TD></TR><TR style="COLOR: #ff8000" align=middle><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=left width=107>ยอดทองซึมซาบ</TD><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=right width=99>343.00</TD><TD style="FONT-SIZE: 8pt; FONT-FAMILY: tahoma" align=left width=108> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE><TBODY><TR><TD height=2></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width="45%"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR style="COLOR: #666666"><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: ms sans serif"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2 height=23>[​IMG]</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR style="COLOR: #666666"><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: ms sans serif" bgColor=#ccff00 height=1></TD></TR><TR style="COLOR: #666666"><TD style="FONT-SIZE: 10pt; FONT-FAMILY: ms sans serif"><!-- <script language="JavaScript" src="http://www.luangta.com/popup.js"></script>-->[​IMG] รายละเอียดวันและเวลาออกอากาศทางโทรทัศน์ ,ทางสถานีวิทยุระบบ AM,FM และทาง เคเบิลทีวี <TABLE><TBODY><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD colSpan=2> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD>
    <!---->[​IMG]
    [​IMG] <MAP name=Map><AREA onmouseover=PerformScroll(2) onclick=PerformScroll(4) onmouseout=CeaseScroll() shape=RECT coords=281,114,298,127 href="#"><AREA onmouseover=PerformScroll(-2) onclick=PerformScroll(-4) onmouseout=CeaseScroll() shape=RECT coords=281,127,298,139 href="#"></MAP>[​IMG]
    [​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><MAP name=Map2><AREA onmouseover=myPerformScroll(-2) onclick=myPerformScroll(-4) onmouseout=CeaseScroll() shape=RECT coords=14,298,28,311 href="#"><AREA onmouseover=myPerformScroll(2) onclick=myPerformScroll(4) onmouseout=CeaseScroll() shape=RECT coords=14,284,28,297 href="#"></MAP><TABLE><TBODY><TR><TD height=2></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=775 border=0><TBODY><TR><TD></TD><TD>
    This is the Website of Than Acharn Maha Boowa in Thai(char).
    If the Thai fonts are not displayed correctly, you can click below and send us a message here.
    หากท่านมีปัญหา - ข้อเสนอแนะ กรุณาแจังที่นี่ <!-- Begin Nedstat Basic code --><!-- Title: Luangta.Com - ???????????? ??????????? --><!-- URL: http://www.luangta.or.th --><SCRIPT language=JavaScript src="http://m1.nedstatbasic.net/basic.js"></SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript><!-- nedstatbasic("AB1pfAY1XuzqdmFVPkrNjHVGz3Lg", 0);// --></SCRIPT>[​IMG] <NOSCRIPT> <imgsrc="http://m1.nedstatbasic.net/n?id=AB1pfAY1XuzqdmFVPkrNjHVGz3Lg"border="0" nosave width="18" height="18"> </NOSCRIPT><!-- End Nedstat Basic code --><!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1> page="dhamma_online";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits1.gits.net.th/data/e0008481.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://tracker.truehits.net/func/th_donate_1.4.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://tracker.truehits.net/func/th_common_1.4.js"></SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.2>sv=1.2;ss=screen.width+'*'+screen.height;sc=(bn=='MSIE')?screen.colorDepth:screen.pixelDepth;if(sc==udf){sc='na';}</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.3>sv=1.3; </SCRIPT>[​IMG] <!-- END WEBSTAT CODE -->
    </TD></TR><TR><TD> </TD><TD> </TD></TR><TR><TD> </TD><TD width=775><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=570 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=750 border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width=7 bgColor=#009922>[​IMG]</TD><TD bgColor=#009922>
    ห้องสมุดธรรมะ/วิชาการ
    </TD><TD bgColor=#009922></TD><TD bgColor=#009922> </TD><TD bgColor=#009922>
    ข้อมูลข่าวสาร
    </TD><TD bgColor=#009922> </TD><TD bgColor=#009922>
    แวดวงพระกรรมฐาน
    </TD><TD bgColor=#009922> </TD><TD bgColor=#009922>
    ห้องสมุดธรรมะ
    </TD><TD width=7 bgColor=#009922> </TD><TD width=7 bgColor=#009922> </TD><TD width=7 bgColor=#009922>[​IMG]</TD></TR><TR vAlign=top bgColor=#e2f9d1><TD background=../images_home/salawatpaleft_m.gif></TD><TD> หลวงตาตอบปัญหาธรรม
    อาคันตุกะลิขิต
    ประชาสัมพันธ์
    ร้อยใจเป็นหนึ่งถึงหลวงตา
    กระดานสนทนาสภาสายธรรม[SIZE=-1](ใหม่)

    ห้องแชทธรรมะ [SIZE=-1](ใหม่)[/SIZE][/SIZE]
    </TD><TD></TD><TD> </TD><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD height=10></TD></TR><TR><FORM name=form1 action="" method=post><TD><SELECT style="WIDTH: 142px; COLOR: #003399" onchange=formHandler(this.form) name=site> <OPTION selected>รวมเรื่องหลวงตา</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content.php?content_group=06_0000>ธรรมะหลวงตาแยกหมวดหมู่</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content.php?content_group=02_01>บันทึกเหตุการณ์/ภาพ</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content.php?content_group=02_03>การศึกษา/วิชาการ</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content.php?content_group=02_04>หนังสือ/บทความ</OPTION></SELECT> </TD></FORM></TR><TR><TD height=15></TD></TR><TR><FORM name=form1 action="" method=post><TD><SELECT style="WIDTH: 138px; COLOR: #003399" onchange=formHandler(this.form) name=site> <OPTION selected>แหล่งค้นคว้า</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content.php?content_group=03_01>พ.ร.บ.สงฆ์</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content.php?content_group=03_02>เศรษฐศาสตร์/คลังหลวง</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content.php?content_group=03_04>ฟัง-อ่านบทความน่าสนใจ</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content.php?content_group=03_07>รวมเหตุการณ์/ภาพ</OPTION></SELECT> </TD></FORM></TR></TBODY></TABLE></TD><TD> </TD><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top></TD></TR><TR><TD height=10></TD></TR><TR><FORM name=form2 action="" method=post><TD><SELECT style="WIDTH: 138px; COLOR: #003399" onchange=formHandler(this.form) name=site> <OPTION selected>อ่านประวัติ</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=116>หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=115>หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=114>หลวงปู่สิงห์ ขันตยาคโม</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=113>หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=112>ท่านพ่อลี ธัมมธโร</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=111>หลวงปู่ฝั้น อาจาโร</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=110>หลวงปู่ทองรัตน์ กนตสีโล</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=109>หลวงปู่ดูลย์ อตุโล</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=108>หลวงปู่ชา สุภทฺโท</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=107>หลวงปู่ชอบ ฐานสโม</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=106>หลวงปู่คำดี ปภาโส</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=105>หลวงปู่กินรี จนฺทิโย</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=104>หลวงปู่ขาว อนาลโย</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=17>หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content_show.php?content_id=161>หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ</OPTION></SELECT>
    </TD></FORM></TR><TR><TD height=15></TD></TR><TR><FORM name=form3 action="" method=post><TD><SELECT style="COLOR: #003399" onchange=formHandler(this.form) name=site> <OPTION selected>ฟัง-อ่านธรรมเทศนา</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=0>ธรรมะของครูบาอาจารย์ทั้งหมด</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=11>หลวงปู่ดูลย์ อตุโล</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=19>หลวงปู่หลุย จันทสาโร</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=18>หลวงปู่ขาว อนาลโย</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=13>หลวงปู่ตื้อ อจลธัมโม</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=4>หลวงปู่ฝั้น อาจาโร</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=17>ท่านพ่อลี ธัมมธโร</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=3>หลวงปู่เจี๊ยะ จุนโท</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=10>หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=8>หลวงปู่หล้า เขมปัตโต</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=9>พระอาจารย์ชา สุภัทโท</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=6>พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=1>พระอาจารย์สิงห์ทอง ธัมมวโร</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=5>พระอาจารย์แบน ธนากโร</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=7>พระอาจารย์บุญจันทร์ จันทวโร</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=14>- - - - - - - - - - - - - - - - - - - -</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/thamma/thamma.php?CatID=15>ท่าน ก. เขาสวนหลวง</OPTION></SELECT> </TD></FORM></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD> </TD><TD bgColor=#e2f9d1><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD height=10></TD></TR><TR><FORM name=form5 action="" method=post><TD><SELECT style="WIDTH: 138px; COLOR: #003399" onchange=formHandler(this.form) name=site> <OPTION value=" " selected>กรุณาเลือก</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/library.php>พระไตรปิฎก</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/library.php>พจนานุกรมบาลี-ไทย</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/library.php>ภาพพุทธประวัติ</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/library.php>ประวัติพระสาวก</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/content.php?content_group=04_01>ภาพอสุภกรรมฐาน</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/salawatpa/library.php>อื่นๆ</OPTION></SELECT>
    </TD></FORM></TR><TR><TD height=15></TD></TR><TR><FORM name=form6 action="" method=post><TD><SELECT style="WIDTH: 138px; COLOR: #003399" onchange=formHandler(this.form) name=site> <OPTION value=" " selected>หลวงตาสงเคราะห์โลก</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/help/activity_image.php>แฟ้มภาพหลวงตา</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/help/help.php>โรงพยาบาล</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/help/help_2.php>หน่วยราชการ</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/help/help_2.php>โรงเรียน</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/help/help_2.php>วัด</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/help/help_2.php>ผู้ด้อยโอกาส</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/help/help_2.php>สงเคราะห์สัตว์</OPTION> <OPTION value=http://www.luangta.com/help/song.php>รวมเพลงช่วยชาติ</OPTION></SELECT> </TD></FORM></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center bgColor=#e2f9d1></TD><TD vAlign=center bgColor=#e2f9d1></TD><TD bgColor=#e2f9d1></TD></TR><TR bgColor=#009933><TD>[​IMG]</TD><TD></TD><TD colSpan=3></TD><TD align=right></TD><TD align=right></TD><TD align=right></TD><TD align=right bgColor=#009933></TD><TD align=right height=1> </TD><TD align=right height=1> </TD><TD align=right height=1>[​IMG]</TD></TR><TR bgColor=white><TD></TD><TD></TD><TD colSpan=3></TD><TD align=right></TD><TD align=right></TD><TD align=right></TD><TD align=right></TD><TD align=right height=3></TD><TD align=right height=3></TD><TD align=right height=3></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  18. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    (สภาพวัดถ้ำขาม ของหลวงปู่ฝั้น อาจาโร และหลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
    ปัจจุบัน มีท่านหลวงปู่เคี่ยม โสรโย เป็นเจ้าอาวาส )


    ผมได้มีโอกาสไปวัดถ้ำขาม ที่จังหวัดสกลนคร ก็เลยนำรูป และ คติธรรมที่วัดมาฝากครับ แล้วมีโอกาสไปวัดอื่น ๆ ถ้าถ่ายภาพไว้
    ก็จะนำมาให้ชมในครั้งต่อ ๆ ไปครับ

    <!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1> page="MembersendTumkham";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://truehits.gits.net.th/data/k0019811.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://tracker.truehits.net/func/th_donate_1.4.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://tracker.truehits.net/func/th_common_1.4.js"></SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.2>sv=1.2;ss=screen.width+'*'+screen.height;sc=(bn=='MSIE')?screen.colorDepth:screen.pixelDepth;if(sc==udf){sc='na';}</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.3>sv=1.3; </SCRIPT>[​IMG] <!-- END WEBSTAT CODE -->
    [​IMG]

    นี่คือเจดีย์พิพิธภัณฑ์หลวงปู่เทสก์ ครับ เสร็จแล้วสวยงามมาก


    [​IMG]

    ทางเดินไปกุฎิหลวงปู่เทศน์ครับ


    [​IMG]

    นี่คือถ้ำขามสมชื่อครับ หลวงปู่ฝั่น กับมะขามต้นไหญ่


    [​IMG]

    ภายในเจดีย์์พิพิธภัณฑ์


    [​IMG]

    ภาพแกะสลักหน้าผาที่วัด งดงามมาก


    [​IMG]

    กุฏิที่หลวงปู่เทศน์ปลงสงขารครับ ภายในมีหุ่นขึ้ผึ้งด้วย


    [​IMG]

    ภายในพิพิธภัณฑ์ สวยงามมากมีข้อมูลของหลวงปู่มากมาย


    [​IMG]

    ภาพมองระยะไกลของถ้ำขามครับ เห็นต้นมะขามทะลุกลางถ้ำด้วย


    [​IMG]

    ยอดเขากลางภาพมองเห็นเจดีย์ไหมครับ


    [​IMG]

    ถ่ายภาพบนเจดีย์รอบนอกงดงามและร่มเย็นกาย-ใจ


    [​IMG]

    ธรรมะ..ภายในพิพิธภัณฑ์ อ่านแล้วซาบซึ้ง


    [​IMG]

    อย่าปล่อยให้เวลาผ่านไปนะครับ วัฏฏะช่างน่ากลัว

    [​IMG]

    ขยาย.....ใหญ่ให้ซาบซึ้ง

    [​IMG]

    ของฝากครับ เป็นเสือใต้กุฎิหลวงปู่​
     
  19. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]
    (สภาพวัดถ้ำขาม อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร )


    โอ๊ย !!! มีแต่ลิง










     
  20. แดนโลกธาตุ

    แดนโลกธาตุ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2006
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    7
    ค่าพลัง:
    +23,977
    วัดถ้ำขาม
    ตั้งอยู่บนภูขาม ซึ่งเป็นเขาลูกหนึ่งบนเทือกเขาภูพาน การเดินทางใช้เส้นทางสายสกลนคร - อุดรธานี ไปประมาณ 22 กม. มีทางแยกซ้ายเข้าทางเดียวกับพระธาตุภูเพ็กไปอีกประมาณ 7 กม. ถึงบ้านนาสาวนานมีทางลูกรังแยกไปอีก 13 กม.
    วัดถ้ำขามนี้เดิมเป็นที่ปฏิบัติธรรมของพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร ท่านอาจารย์ฝั้นจำพรรษาอยู่ที่วัดนี้จนถึงประมาณ พ.ศ. 2507 ท่านอาพาธจึงได้ไปจำพรรษาที่วัดป่าอุดมสมพร นอกจากนี้ยังเป็นวัดหนึ่งที่เก็บอัฐิของพระอาจารย์เทศก์ เทศรังสี ซึ่งมีผู้คนยังมาเดินทางมาสักการะบูชาอยู่เป็นประจำ
     

แชร์หน้านี้

Loading...