จริตใหญ่ ทั้งสอง

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย วิษณุ12, 7 พฤษภาคม 2009.

  1. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    คำว่าสติ เหมือนดังในบาลีทั้งหลาย (สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค) เป็นต้นว่า
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมรรค เป็นเครื่องกำจัดกองทัพมาร เธอจงฟัง มรรคนั้นเป็นเครื่องกำจัดกองทัพมารเป็นอย่างไร คือสัมโพชฌงค์ ๗ ดังนี้.
    คำว่า มรรค เป็นเครื่องกำจัดกองทัพมาร และคำว่า สัมโพชฌงค์ ๗ โดยอรรถก็เป็นอันเดียวกัน ต่างกันแต่พยัญชนะเท่านั้น ฉันใด
    คำว่า เอกายนมรรค กับคำว่า สติปัฏฐาน ๔ โดยอรรถก็เป็นอันเดียวกัน ต่างกันแต่พยัญชนะเท่านั้นก็ฉันนั้น เพราะฉะนั้น บัณฑิตพึงทราบว่า เป็นเอกวจนะ ก็เพราะเป็นทางเดียว ด้วยอรรถว่าเป็นมรรค เป็นพหุวจนะ ก็เพราะมีสติมาก โดยความต่างแห่งอารมณ์.
    ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสติปัฏฐานว่ามี ๔ ไม่หย่อนไม่ยิ่ง.
    ตอบว่า ก็เพราะจะทรงให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เวไนยสัตว์.
    แท้จริง ในจำพวกเวไนยสัตว์ที่เป็นตัณหาจริต ทิฏฐิจริต ผู้เป็นสมถยานิก (ผู้มีสมถะเป็นยาน) และวิปัสสนายานิก (ผู้มีวิปัสสนาเป็นยาน) ที่เป็นไปโดยส่วนทั้งสอง คือ

    ปัญญาอ่อน และ ปัญญากล้า

    ......กายานุปัสสนาสติปัฏฐานมีอารมณ์หยาบเป็นทางหมดจด สำหรับเวไนยสัตว์ผู้มีตัณหาจริต มีปัญญาอ่อน.

    ........เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานมีอารมณ์ละเอียด เป็นทางหมดจด สำหรับเวไนยสัตว์ผู้มีตัณหาจริต มีปัญญากล้า.

    ......จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานที่มีอารมณ์ไม่แยกออกมากนัก เป็นทางหมดจด สำหรับเวไนยสัตว์ผู้มีทิฏฐิจริต มีปัญญาอ่อน.

    ......ธัมมา<WBR>นุ<WBR>ปัสสนาสติปัฏฐานที่มีอารมณ์แยกออกมาก เป็นทางหมดจด สำหรับเวไนยสัตว์ผู้มีทิฏฐิจริต มีปัญญากล้า.


    อนึ่ง สติปัฏฐานข้อ ๑ ที่มีนิมิตอันจะพึงบรรลุได้โดยไม่ยาก เป็นทางหมดจด สำหรับเวไนยสัตว์ผู้เป็นสมถยานิก มีปัญญาอ่อน.

    สติปัฏฐานข้อที่ ๒ เพราะไม่ตั้งอยู่ในอารมณ์อย่างหยาบ จึงเป็นทางหมดจด สำหรับเวไนยสัตว์ผู้เป็นสมถยานิก มีปัญญากล้า.

    สติปัฏฐานข้อที่ ๓ มีอารมณ์ที่แยกออกไม่มากนัก เป็นทางหมดจด สำหรับเวไนยสัตว์ผู้เป็นวิปัสสนายานิก มีปัญญาอ่อน.

    สติปัฏฐานข้อที่ ๔ มีอารมณ์ที่แยกออกมาก เป็นทางหมดจด สำหรับเวไนยสัตว์ผู้เป็นวิปัสสนายานิกมีปัญญากล้า.



    ...อ่านเพิ่มเติมได้ที่ ̓ö??Ҡ?զ?ԡ҂ ?҇Ã? ?Ҋ?Իѯ?ҹʙ?à˹钵蒧?ը
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 พฤษภาคม 2009
  2. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ผมเคยฟังพระท่านเทศน์ เกี่ยวกับ จริตทั้ง 2 นี้ บางท่านอาจไม่เคยได้ยินได้สดับเกี่ยวกับ 2 จริต นี้ คือ ตัณหาจริต และ ทิฏฐิจริต เลยอาจไปปรามาสพระท่านว่าพระท่านสอนผิด ผมเลยไปค้นมา ให้ทัศนากันครับ
     
  3. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    ที่ผิดนั่น ไม่ใช่ตรงนี้

    ที่ผิด คือ สอนเรื่อง การจดจำรูปนาม เพื่อให้เกิดสติ

    การจำแม่น เป็นเหตุใกล้ให้เกิดสติ แต่ไม่ใช่ ไม่เจริญสติ ด้วยการไปดู รูป นาม ให้มันจำ มันคนละเรื่องกัน

    สติที่กาย จะไปจำรูปนามอย่างไร นี่ลองไปพิจารณาดู แต่ว่าระลึกได้ว่า ในปัจจุบันนี้กายเคลื่อนแบบนั้นแบบนี้ นี่แหละ เรียกว่า เจริญสติ

    นั่นแหละ ที่ ผมพูด

    ไปดูในปฏิปทา เวลาผมเจริญสติ ในกระทู้ความต่างแห่งมรรค ที่คุณยกมานั่นแหละ
     
  4. กะละมัง

    กะละมัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    192
    ค่าพลัง:
    +150
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
    อนุโมทนาค่ะ
     
  5. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846

    สติที่กาย จะไปจำรูปนามอย่างไร ...
    คำว่ากาย นี่หมายถึง กายมนุษย์ ใช่ไหมครับ
    แล้ว กาย ไม่ใช่ รูป เหรอครับ
    สติที่เกิดเมื่อระลึกได้ว่า กายขยับ เรียกว่า เกิดสติที่กายได้ไหมครับ
     
  6. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    กาย ก็ตัวเรานี่แหละ แขนขาเรา หัวเรา ตัวเราที่เป็นกายหยาบนี่แหละ

    พอมากเข้ามันก็ละเอียดไปที่กายลม เพราะเพิกเฉยต่อ กายหยาบนี้เข้าสู่กายลมละเอียด

    เรียกว่า กายในกาย


    เวลาเดินไปไหนมาไหน คอยระลึกรู้ตัว กิน เดิน ยืน นั่ง นอน ให้สติจับกับกายให้แม่น

    เป็นการฝึกสติเบื้องต้น พอสติจับกับกายแล้วมันจะไม่ค่อยเผลอ พอมากเข้าจะกลายเป็น รู้ตัวพร้อมไป คือ สติอยู่แต่กาย พร้อม นั่นแหละ ที่หลวงพ่อเทียนท่านสอนให้ขยับมือ อะไรนั่นแหละ ทำให้ใจที่ไปที่อื่นไม่ไป แต่มาจับที่กายแทน ที่ท่านว่าเอาสัญญามา ก็คือว่า คอยจำการขยับไปขยับมาของตัวเอง จำเอาไว้ขยับแขนตามนั้น แล้วคอยระลึกตาม นั่นแหละ

    นั่นแหละ ได้ผล ผลก็คือ ที่สมมติต่างๆ เป็นสังขารจะสงบตัวไป เหลือแต่ กายานุปัสสนา

    จิตจะมาอยู่แต่ที่กาย ทำให้รู้สึกตัวทั่วพร้อม ในแบบของหลวงพ่อเทียนนั่นแหละ

     
  7. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    การปฏิบัติแนวหลวงพ่อเทียน ไม่ใช่กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เพราะไม่มีการ
    เน้นการทำฌาณสมาบัติ จึงไม่ใช่กายานุสติปฏฐาน และ เวทนานสติปัฏฐาน

    แต่เป็น จิตตานุสติปัฏฐาน คือ เน้นการเห็น เจตคติ หรือ เจตนา หรือ ตัวคิด

    ดั่งคำครูที่เป็น "หัวใจ" คือ "เมื่อเห็นต้นคิด จะเห็นต้นทางปฏิบัติ"

    * * * * *

    ส่วนการรู้สึกตัวทั่วพร้อมนั้น เป็นเรื่องของคนที่ปฏิบัติเป็นแล้ว เมื่อ
    ปฏิบัติเป็นแล้ว ได้ต้นทางปฏิบัติแล้ว จะเกิดการหมุนวนในการรู้ลง
    ที่ กาย เวทนา จิต และ ธรรม โดยที่จิตไปเห็นอันไหน ก็พร้อมที่
    จะรู้อันนั้น ไม่ใช่การเลือกดูที่กาย ที่เวทนา ที่จิต ที่ธรรมแบบจมลง
    ไปในเรื่องเดียวแล้วไปพูดว่า รู้ตัวทั่วพร้อม ต้องเป็นการรู้พร้อมทั้ง
    สี่ฐานถึงจะเรียกว่า ทั่วพร้อม
     
  8. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    <!-- google_ad_section_start -->
    แหม่ วีวี่ นี่รู้ดีจริงๆ

    จะมาค้านกับผม ก็เท่ากับ ไปค้านพระไตรปิฎกแหละครับ วีวี่

    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 11"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 11"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CJITTAK%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:16.0pt; font-family:"Angsana New"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman";} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    อ้างอิงจาก พระสุตตันตปิฎกเล่ม 2
    <!-- google_ad_section_end -->
     
  9. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ผมไม่ได้ค้านในเรืองที่คุณสอน แต่ผมแค่ชี้ว่า ที่คุณเข้าใจว่าหลวง
    พ่อเทียนปฏิบัติอะไร แนวไหน ตรงนั้นมันไม่ถูก ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับ
    การค้านพระไตรปิฏกที่คุณหมายอิงอาศัยเพื่อผลิกให้เรื่องที่ตนเข้า
    ใจผิดเกี่ยวกับหลวงพ่อเทียน มันถูกขึ้นมา
     
  10. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ยกพระไตรปิฏก มาก็น่าจะยก อรรถกถา มาอธิบายเพิ่มเติมด้วยครับ ผู้มาอ่านจะได้เข้าใจ ในวิธีการมากขึ้น
     
  11. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    ความจริงก็คือ ความจริงสิครับ หลวงพ่อเทียนท่านสอนขยับมือ ขยับไม้ ให้รู้ตัวตามจับไปกับอริยาบท คุณจะมาบอกว่าผมเข้าใจผิดอย่างไร ผมก็เอาพระสูตรมาให้ดู

    หลวงพ่อเทียนท่าน เจริญกายคตาสติ แล้วจิตลงดิ่งสู่ธรรมมาก่อนด้วยการเดินจงกรม

    คือ ให้รู้อย่างเดียว ว่าอริยาบทกำลังทำอะไร นั่นแหละ ท่านจึงเห็นสมมติ กับเห็นปรมัตถ์

    เพราะฉะนั้น ธรรมของท่านมี ธรรมในพระไตรปิฎกมารองรับนี่ผมก็ยกมาให้ดู ใช่ไหมวีวี่
     
  12. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    ไม่ต้องอรรถกถาหรอกครับ ไปอ่านที่ผมให้ความเห็นไว้นั่นแหละ อรรถกถา
     
  13. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ก็คงต้องเห็นไปตามนั้นแหละครับ เพราะทุกวันนี้ คนที่ปฏิบัติในสำนักหลวงพ่อเทียน
    ไม่มีใครทรงคอำสอนของท่านไว้ได้

    การปฏิบัติรุ่นหลัง จึงกลายเป็นการดูอริยาบท การทำกายคตาสติ ไป

    ซึ่งถ้าการปฏิบัติของหลวงพ่อเทียนเป็นการดูอริยาบทแล้ว ก็คงไม่จำ
    เป็นต้องคิดวิธีการขยับมือ 14 จังหวะขึ้นมา เพราะการปฏิบัติตาม
    อริยาบทนั้น ก็มีการกล่าวโดยละเอียดไว้หมดแล้ว สามารถทำได้เลย
    ไม่จำเป็นต้องหาอุบายใหม่ แต่ก็อย่างที่บอก ไม่มีใครรักษาอุบาย
    ธรรมนั้นไว้ได้ ทำให้กลายไปเป็นการดูอริยาบทไปในที่สุด

    สำนักที่เน้นดูอริยาบทในสมัยนั้นๆ ก็มีมากมาย เช่น สายอาจารย์แนบ
    สายอาจารย์สัญชัย ฯลฯ
     
  14. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    พูดแบบนี้ก็ไม่ถูก
    ผู้ปฏิบัติสายหลวงพ่อเทียนที่เป็นพระสุปฏิปันโนยังมีให้เห็นอยู่
    เช่น ศิษย์เอกอย่าง หลวงพ่อคำเขียน
    หรือ ศิษย์องค์สำคัญที่เป็นเจ้าอาวาสวัดสนามใน หลวงตาทอง
    อย่างน้อยๆ ทั้งสองท่านนี้ยังทรงคำสอนไว้ได้ครบถ้วน แล้วท่านทั้งสองก็เข้าถึงคุณธรรมพอตัว
    สำหรับหลวงพ่อคำเขียน พระอาจารย์ปราโมทย์ก็เคยได้รับรองไว้ เห็นมีพูดในซีดี...
     
  15. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    ลูกศิษย์ สายหลวงพ่อเทียน ฟังเอาไว้ อะไรเป็นอุบายธรรมที่ดีก็ เก็บเอาไว้ อย่าไปเปลี่ยนแปลง เพราะว่า สอนคนในทีแรกนั้น ไม่ต้องให้เขารู้อะไรมาก แต่ต้องมีวิธีการที่ชัดเจนให้เขาได้เดินตาม
     
  16. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ก็คิดดูสิ ทรงไว้ได้ตรงแค่สองท่าน

    ส่วนท่านอื่นๆ หรือ แม้แต่ ท่านที่คุณวิมุตติเคารพ ก็กล่าวไปในทางที่
    ทำให้ ทางของท่านที่ทำไว้เลือนหาย เหลือลงเป็นการดูอริยาบท กลาย
    เป็นเรื่องกายคตา กลายเป็นเรื่อง ฌาณสมาบัติสมถะสมาธิไป แทนที่
    จะเป็นเรื่องวิปัสสนากรรมฐาน
     
  17. jinny95

    jinny95 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    6,074
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +9,666
    จะดูอะไร ไม่ว่า กาย เวทนา จิต ถ้าวิปัสสนาได้เห็นตามจริง มันก็จะเข้าเป็นดูธรรม เป็นขัน
    ธ์ห้า+การปรุงแต่ง (กระบวนการเกิดดับแห่งทุกข์หรือปฎิจจสมุปบาท) นั่นแหล่ะ จะไปแยก จะไปยก ว่าอันโน่นเด่น อันโน่นดี อันโน่นเหนือกว่า ทำไม ^-^
     
  18. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    ตอนแรกบอกลูกศิษย์ทรงคำสอนไว้ไม่ได้

    ตอนนี้บอกทรงได้แค่สองท่าน

    เหอๆๆๆๆๆๆ
     
  19. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    ไปได้ขนาดนั้น นี่แหละ ที่เรียกว่า จิตใจคับแคบ มองธรรมไม่เป็นธรรม

    ผมว่า วีวี่ ควรไปขอขมาพระรัตนไตร จะได้มีจิตใจที่เปิดกว้าง

    จิตใจจะได้ไม่คับแคบ ขนาดว่า พระสูตรยังผ่านไปไม่ได้ แยกไม่ออกระหว่าง ธรรมและอุบายธรรม
     
  20. เอกวีร์

    เอกวีร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,972
    ค่าพลัง:
    +3,241
    ไม่ใช่แยกไม่ออกนะครับ ผมกล่าวแต่ต้นว่าเป็นอุบายธรรม

    แต่มาแจ้งว่า ไม่ใช่อุบายธรรมของ กายานุสติปัฏฐาน แต่
    เป็นอุบายธรรมทาง จิตตานุสติปัฏฐาน

    แล้วก็แจ้งอีกว่า มันเป็น อุบายธรรมในการเข้าถึงความเข้าใจเรื่อง
    สติปัฏฐาน4 เมื่อเข้าใจแล้ว หรือ เห็นต้นจิตคิดแล้ว จะไม่ใช่คิด
    หรือ ยึดความคิดเป็นเครื่องเห็นธรรม แต่จะใช้การรู้สึกตัว เป็นทาง
    ปฏิบัติต่อไป วิปัสสนาพึ่งเริ่ม หลังจากนั้นใครถนัดรู้อะไร ก็เอา
    เครื่องมือที่รู้ตรงนี้ไปใช้ จนกว่าจะเข้าใจทางปฏิบัติโดยรอบ ก็จะ
    หมุนดูครบทั้ง 4 ฐาน เป็นวิปัสสนากรรมฐาน
     

แชร์หน้านี้

Loading...