คาถา บูชาเสด็จเตี่ย (กรมหลวงชุมพร) - เอื้ออังกูร

ในห้อง 'รวมบทสวดมนต์และคาถา' ตั้งกระทู้โดย torphak, 1 กุมภาพันธ์ 2021.

  1. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
     
  2. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    #เพลงสุดท้าย เดินทางไปดีมาดีนะทุ้กกกกกคน:)
    ที่มา : youtube
    คนอกหัก Radio
    เธอคือหัวใจของฉัน - นิก รณวีร์ Cover by ทอม อิศรา
    www.youtube.com/watch?v=yFGB2ik9j1I

     
  3. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    วัดด่าน
    พระราม 3 กรุงเทพมหานคร

    upload_2021-10-21_9-44-33.jpeg
    upload_2021-10-21_9-43-4.jpeg

    ที่ตั้ง เลขที่ 872 ซอยพระรามที่ 3 ซอย 34 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120
    ประเภท วัดราษฎร์
    นิกาย มหานิกาย
    25px-Dharma_wheel.svg.png ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา
    วัดด่าน เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่ในแขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร วัดมีเนื้อที่ 11 ไร่เศษ ด้านหน้าวัดติดถนนพระรามที่ 3 ด้านหลังวัดติดแม่น้ำเจ้าพระยา

    เริ่มสร้างวัดปีใดไม่ปรากฏ แต่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรกในปี พ.ศ. 2340 อุโบสถมีช่อฟ้าใบระกา ภายในประดิษฐานพระประธาน เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยในสมัยอยุธยาตอนปลาย ชาวบ้านเรียกว่า หลวงพ่อโต ในทุก ๆ ปี วัดด่านจะจัดงานนมัสการปิดทองประจำปีขึ้นทุกวันศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์แรกของเดือนมีนาคม และเนื่องจากอุโบสถอยู่ต่ำกว่าแม่น้ำเจ้าพระยา น้ำจึงมักท่วมโดยรอบอุโบสถ ต่อมาพระครูสถิตบุญวัฒน์และคณะศรัทธาได้ร่วมกันยกฐานอุโบสถเสียใหม่ โดยสร้างกำแพงรอบอุโบสถแล้วเปลี่ยนบริเวณโดยรอบอุโบสถให้เป็นสระน้ำ และทำการปรับเปลี่ยนให้เป็นวิหาร โดยประดิษฐานหลวงพ่อโตประดิษฐานอยู่ใจกลางวิหาร ผนังทั้งสี่ด้านเปลี่ยนเป็นเปิดโล่ง มีการประดับด้วยระฆัง

    ประเพณีที่สำคัญของวัดด่านคือ ประเพณีวันอัฏฐมีบูชา โดยจัดขึ้นทุก ๆ ปี หลังวันวิสาขบูชา ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ จนถึงวันแรม 7 ค่ำ เดือน 6 มีกิจกรรมสวดบูชาพระคุณพระพุทธเจ้า พิธีแห่พระปางดับทุกข์ เพื่อให้ประชาชนได้สักการะ โดยมีพระสงฆ์สวดมนต์เพื่อความเป็นสิริมงคลไปรอบ ๆ พื้นที่เขตยานนาวาและมีพิธีจำลองการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชาวบ้านและเจ้าหน้าที่ในท้องถิ่นจะแต่งกายเลียนแบบบุคคลต่าง ๆ ในพระพุทธประวัติด้วย

    ที่สำคัญอย่าลืมแวะกราบกรมหลวงชุมพร (เสด็จเตี่ย) ด้วยนะคะ

    ที่มา : wikipedia
    ภาพ : https://sw-eden.net/2019/12/11/7-places-around-bhumibol-bridge/
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  5. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2021
  6. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  7. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
     
  8. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ฟังเพลงนี้แล้วต้องจัดเลย อะไรน่ะรึ ไปวัดไงขอจัดวัดเก้าาาาเก่า โบราณตามสไตล์ :)
    มีฟาม เอ้ย! มีความสุขวันหยุดสุดต่อเนื่องกันนะจ๊ะ อย่าลืมเข้าวัดทำบุญจะได้สุขใจไทยแท้ :D
     
  9. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ตราเนติบัณฑิตยสภา

    the-thai-bar-logo.jpg

    ตราข้างบนนี้เป็นตราเนติบัณฑิตยสภาเมื่อแรกตั้ง (พ.ศ.๒๔๕๗) เลียนแบบตราจันทรมณฑลใหญ่ เป็นแต่เพียงไม่อยู่ในวงกลม และหันหน้ารถไปคนละทางเท่านั้น

    ด้วยเหตุที่เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร ผู้ดำรงตำแหน่งสภานายกพิเศษแห่งเนติบัณฑิตยสภาเป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม ถือตราจันทรมณฑลซึ่งเป็นตราสำหรับตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมตามประกาศ ตราสำหรับตำแหน่ง มีความว่า มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฒาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรัสเหนือเกล้าฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สั่งว่า ตำแหน่งเสนาบดีเจ้ากระทรวงแต่ก่อนมาย่อมมีตราประจำตำแหน่งทุกกระทรวง ครั้นเมื่อรัตนโกสินทร์ ศก๒๕ ๑๑๑ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระราชบัญญัติเพิ่มเติมตำแหน่งเสนาบดีขึ้นอีก เสนาบดีที่โปรดให้ยกขึ้นใหม่นี้ยังหามีตราสำหรับตำแหน่งไม่

    จึงมีพระบรมราชโองการโปรกเกล้าฯ ให้เสนาบดีซึ่งยังไม่มีตราสำหรับตำแหน่งนั้น ถือตราสำหรับตำแหน่งดังนี้

    เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
    ถือตราสุริยมณฑล

    เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ
    ถือตราพระรามทรงรถ

    เสนาบดีกระทรวงธรรมการ
    ถือตราบุษบกตามประทีป

    เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม
    ถือตราจันทรมณฑล

    เสนาบดีกระทรวงมุรธาธร
    ถือตราพระพรหมนั่งแท่น
    ฯลฯ

    ตราสำหรับตำแหน่งทั้งปวงนี้ให้เปนอันใช้ได้ตั้งแต่วันที่ได้โปรดกเล้าฯ ให้ประกาศนี้ไป ประกาศ มา ณ วันที่ ๑๗ มกราคม รัตนโกสินทร์ศก๒๗ ๑๑๓ เป็นวันที่ ๙๕๖๔ ในรัชกาลปัตยุบันนี้

    ตราจันทรมณฑลนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สร้างพระราชทานเป็นตราประจำตัวสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัต บุนนาค) หรือสมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย คู่กับตราสุริยมณฑลซึ่งพระราชทานเป็นตราประจำตัวสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิส บุนนาค) หรือสมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่

    ตราจันทรมณฑลมีทั้งตราใหญ่และตราน้อย

    the-thai-bar-logo-01.jpg


    ตราจันทรมณฑลใหญ่ เดิมมีอุณาโลมอยู่ในบุษบก คงจะมีใครเห็นว่าที่มีอุณาโลมนั้นเกินไป จึงได้ทำใหม่เปลี่ยนเป็นไม่มีอุณาโลม

    ตราจันทรมณฑลน้อย มีลายเป็นพระจันทร์ดั้นเมฆ
    เมื่อสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติถึงแก่พิราลัยเมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๐๐ ตราจันทรมณฑลใหญ่และน้อยได้ส่งมาเก็บไว้ที่ห้องอาลักษณ์ จนพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานตราดังกล่าวให้เป็นไปตราสำหรับตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม

    ได้ใช้ตราเนติบัณฑิตยสภาดังกล่าวมาจนถึงพ.ศ. ๒๕๐๓ จึงได้เปลี่ยนตราเนติบัณฑิตยสภาเป็นรูปลักษณะดังนี้

    the-thai-bar-logo-02.jpg

    ตามข้อบังคับเนติบัณฑิตยสภา พุทธศักราช ๒๕๐๓ ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๐๓

    เป็นรูปพระมนูสาราจารย์ถือตราชูในมือซ้ายมือขวาถือพระขรรค์

    ภาพนี้ พระยาอนุมานราชธนเป็นผู้ให้ความหมายของตรา พระพรหมพิจิตร (อู๋ ลาภานนท์) เป็นผู้ร่างลายเส้น อาจารย์ปลิว จั่นแก้ว กรมศิลปากรเป็นผู้ลงลายเส้น (จากคำบอกเล่าของอาจารย์ในกรมศิลปากร พ.ศ. ๒๕๓๗ ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ)

    ตามกฎหมายตราสามดวง เล่ม ๑ ลักษณะธรรมสารท หน้า ๑๕ มีความว่า “สมเด็จพระเจ้ามหาสมมุติราชเสด็จยังสาระพินิจฉัย พร้อมด้วยหมู่มุกขมนตรีกระวีราชปโรหิตาโหราจารย์ผู้อยู่ในศีลสัจดำรงพระไทยฟัวอรรฐคดีซึ่งกระลาการพิจารณาโดยยุติธรรมนั้นเป็นแว่นแก้ว แล้วเอาคำภีรพระธรรมศาตรเป็นพระเนตร ดูเทศกาลบ้านเมืองโดยสมควรแล้ว จึงเอาพระกรเบื้องขวา คือพระสะติสัมปะชัญะทรงพระขรรคแก้ว คือพระวิจารณะปัญาวินิจฉัยตัดข้อคดีอนาประชาราษฎรทั้งปวงโดบยุติธรรม”

    ฉะนั้นพระขรรค์ในมือขวา คือปัญญาที่วินิจฉัยตัดข้อคดีทั้งปวงโดยยุติธรรม ตามตราชูที่ถือในมือซ้ายที่ได้ชั่งจนได้ความเที่ยงธรรมที่เป็นที่ยุติธรรมแล้ว

    ในการประชุมคณะกรรมการเนติบัณฑิตยสภาครั้งที่ ๘๑ เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๔๗๗ คณะกรรมการได้อนุมัติให้ใช้ข้อบังคับเนติบัณฑิตยสภาแผนกสโมสรได้ ตามข้อบังคับ ข้อ ๒ “เครื่องหมายของสโมสรนี้ ประกอบขึ้นด้วยรูปพระมนูสาราจารย์สีเหลือง บนพื้นสีน้ำเงินแก่ ตามแบบและขนาดที่สโมสรจะได้จัดไว้เป็นตัวอย่าง

    สมาชิกผู้ใดประสงค์จะใช้เครื่องหมายของสโมสรติดกับเสื้อ จะต้องใช้เสื้อสีน้ำเงินแก่ติดดุมโลหะสีขาว ๓ เม็ด กับดุมข้อมือข้างละ ๓ เม็ด”

    แสดงว่า พระมนูสาราจารย์นี้ ได้ถือเป็นเครื่องหมายของเนติบัณฑิตยสภามานับแต่ พ.ศ. ๒๔๗๗ โดยชั้นแรกเป็นแต่เพียงเครื่องหมายของสโมสร ต่อมาจึงได้เป็นเครื่องหมายของเนติบัณฑิตยสภา

    เมื่อพระราชบัญญัติเนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๐๗ ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๗ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๑ ตอนที่ ๑๕ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๗ ฉบับพิเศษ หน้า ๓ ถึง ๘ และข้อบังคับเนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๐๗ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๐ ตอนที่ ๓๕ วันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๐๗ หน้า ๒๔๐ ตามข้อ ๒ ของข้อบังคับ ตราของเนติบัณฑิตยสภามีรูปลักษณะดังนี้


    the-thai-bar-logo-current.jpg

    ี่มา : https://www.thethaibar.or.th/thaiba...content&view=article&id=21&Itemid=187&lang=th
     
  10. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  11. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ที่มา : youtube babybank007
    พระอาทิตย์ชิงดวง
    www.youtube.com/watch?v=ryZVmN5aYXE


    ที่มา : youtube Workpoint Music and Artists
    ไม้ขีดไฟกับดอกทานตะวัน : ป๊อด ธนชัย : คอนเสิร์ตเพลงประภาส 2
    www.youtube.com/watch?v=mPai0wKUQ6c

    ที่มา : PK Techawiset
    ขอจันทร์ - ป๊อด
    www.youtube.com/watch?v=onmSmazZ4xQ



    *******************************************************

    สุริยมณฑล [N] ball or sphere of the sun, Syn. ดวงตะวัน, วงตะวัน, Thai definition: บริเวณที่เป็นดวงหรือวงของดวงอาทิตย์, Notes: (บาลี)
    ไทย-ไทย:
    พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
    สุริยมณฑล น. ดวงหรือวงตะวัน, สูรยพิมพ์ หรือ สูรยมณฑล ก็ว่า.
    มณฑล (มนทน) น. วง เช่น สุริยมณฑล คือ วงรอบดวงอาทิตย์ จันทรมณฑล คือ วงรอบดวงจันทร์, บริเวณ เช่น มณฑลพิธี, เขตปกครองที่แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ
    สูรยพิมพ์ น. ดวงหรือวงตะวัน, สุริยมณฑล หรือ สูรยมณฑล ก็ว่า.
    สูรยมณฑล น. ดวงหรือวงตะวัน, สุริยมณฑล หรือ สูรยพิมพ์ ก็ว่า.


    จันทรมณฑล น. จันทรพิมพ์.
    จันทรพิมพ์ น. ดวงเดือน, รูปที่แลดูแบนแห่งดวงจันทร์, จันทรมณฑล ก็ว่า.
    มณฑล (มนทน) น. วง เช่น สุริยมณฑล คือ วงรอบดวงอาทิตย์ จันทรมณฑล คือ วงรอบดวงจันทร์, บริเวณ เช่น มณฑลพิธี, เขตปกครองที่แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ

    ที่มา : https://dict.longdo.com
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2021
  12. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  13. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  14. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ภาพเทพชุมนุม ศิลปะไทยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ จิตรกรรมฝาผนังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์

    bc1a00d8cf5045e23810d23182c1797a823d1373af5621f60d8d11bc42b25f71.jpg

    ลานบ้านกลางเมือง/บูรพา โชติช่วง : ยลภาพเทพชุมนุม ศิลปะไทยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ จิตรกรรมฝาผนังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์

    หลายท่านคงเคยได้ยินชื่อพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ หนึ่งในพระที่นั่งสำคัญของพระราชวังบวรสถานมงคล “วังหน้า” ปัจจุบันคือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

    พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ เป็นสถานที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปประจำวังหน้า ในอดีตสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาททรงมีพระประสงค์ให้พระที่นั่งแห่งนี้ใช้เป็นที่ประกอบพระราชพิธีต่างๆ ทุกวันนี้กรมศิลปากรยังคงได้ใช้เป็นสถานที่ทำพิธีกรรมทางศาสนา บำเพ็ญกุศลถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นที่สักการะพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองคือ พระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปต่างๆ ที่ประดิษฐานไว้บนฐานบุษบก พร้อมๆ กับเป็นห้องจัดแสดง ตู้พระธรรมลายรดน้ำ ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนเรื่องพุทธประวัติบริเวณผนังข้างหน้าต่างประตู ภาพเทพชุมนุม ภาพนักสิทธิ์และวิทยาธรที่อยู่เหนือขึ้นไปของฝาผนัง
    ในที่นี้จึงนำเกร็ดความรู้ภาพเทพชุมนุมในพระที่นั่งแห่งนี้ คัดจากเรื่องการสร้างตาลปัตรชุด “เทพชุมนุม” ที่รฤกพระราชวังบวรสถานมงคล พุทธศักราช 2550 สมชาย ณ นครพนม และ เกียรติศักดิ์ สุวรรรพงศ์ ในนิตยสารศิลปากร ฉ.มกราคม–กุมภาพันธ์ ปีที่ 60 ได้อธิบายภาพเทพชุมชน นำมาบางตอนเป็นเกร็ดความรู้เผยแพร่อีกทอดนึง เผื่อว่าบางท่านสนใจและได้ไปสักการะพระพุทธสิหิงค์ พร้อมชมภาพเทพชุมนุม
    c6efff30299ee22a8baf764fd40e1ade5a4d8ba5c60e172ada25c6bb6341f1dd.jpg

    c023633406d9ec6df69adf342a100ca29955b8107ad20e926746ccd48e2f99f4.jpg
    ภาพเทพชุมนุมในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ เป็นงานจิตรกรรมฝาผนังของศิลปะไทยสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ คงเขียนขึ้นแต่ครั้งแรกสร้างพระที่นั่งหลังนี้ในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อพ.ศ.2338 โดยรูปแบบทางศิลปะบนจิตรกรรมฝาผนังยังคงเห็นถึงรูปแบบของศิลปะอยุธยาที่ถ่ายทอดมาถึงสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ในครั้งนั้นสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ลงมาจากเชียงใหม่มาประดิษฐานไว้ที่พระที่นั่งนี้ ทรงให้เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา แล้วให้ชื่อพระที่นั่งว่า “พระที่นั่งพุทธาสวรรย์” ในเอกสารบางเล่มเรียกชื่อเดิมว่า “พระที่นั่งสุทธาสวรรย์”
    สมัยสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ ในรัชกาลที่ 3 มีการปฏิสังขรณ์พระที่นั่งครั้งใหญ่ ดังปรากฏลักษณะสถาปัตยกรรมที่เห็นในปัจจุบัน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเปลี่ยนชื่อพระที่นั่งใหม่เป็น “พระที่นั่งพุทไธสวรรย์” พระที่นั่งนี้ได้รับการบูรณะมาเป็นระยะๆ และซ่อมภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภาพเทพชุมนุม ครั้งหลังสุดปี 2560 ภายใต้โครงการอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนังพระที่นั่งพุทไธสวรรย์
    9a3fcbdb3379b596487be27905dd37e32649816a9ed65580ffd6bada828ee3f7.jpg
    ภาพเทพชุมนุมมีทั้งหมด 400 องค์ ภาพเหล่าเทพทั้งหลายนั่งเรียงแถวซ้อนกัน 4 ชั้น โดยรอบผนังทั้ง 4 ด้าน แต่ละชั้นคั่นด้วยลายประจำยามก้ามปู ไล่เรียงจากชั้นล่างหรือชั้นที 1 เป็นเทพหรือเทวดาในสวรรค์ชั้นมหาราชิกา เป็นชั้นที่อยู่ใกล้โลกมนุษย์ที่สุด เทพในชั้นนี้จะเป็นจตุโลกบาลหรือเทพผู้รักษาโลกในทิศทั้ง 4 คือ ท้าวธตรฐเป็นใหญ่ทางทิศตะวันออกและปกครองคนธรรพ์ วิทยาธร กุมภัณฑ์ ท้าววิรุฬหกเป็นใหญ่ทางทิศใต้และปกครองพวกครุฑ ท้าววิรูปักษ์ผู้เป็นใหญ่ทางทิศตะวันออก ปกครองพวกนาค และท้าวเวสสุวรรณเป็นใหญ่ทางทิศเหนือ ปกครองพวกยักษ์ ทุกองค์อยู่ในท่านั่งบนพื้นหลังสีแดง ในชั้นนี้จึงปรากฏภาพเทพ ครุฑ นาคและยักษ์สลับกันไป นอกจากนั้นยังมีภาพกินนร ภาพฤาษีหรือวิทยาธรแทรกอยู่ในแถวข้างประตูกลางด้านตะวันออกด้วย และเฉพาะผนังด้านตะวันออกเหนือประตูกลาง เขียนเป็นภาพขนาดเล็กเป็นภาพเจดีย์ทุสเจดีย์ มีพระพรหม 2 องค์ นั่งประนมกรหันหน้าเข้าหากัน ส่วนที่อยู่เหนือประตูด้านหลังพระประธานเขียนเป็นภาพเจดีย์จุฬามณี มีพระอินทร์ 2 องค์นั่งประนมกรหันหน้าเข้าหาพระเจดีย์
    2d01639f8fe9694203a0a1e389f7af0048ed21a1d7de10ba54977c352a834c89.jpg
    ส่วนเทพชุมนุมในชั้นที่ 2 ลงสีพื้นหลังสีดำ เป็นสวรรค์ชั้นดาวดึงส์และชั้นยามา ซึ่งชั้นดาวดึงส์นั้นมีพระอินทร์เป็นใหญ่ และชั้นที่ 3 พื้นหลังสีแดงเป็นสวรรค์ชั้นดุสิตและชั้นนิมมานรดี โดยเขียนเป็นภาพเทพทั้งหมด สลับกันทั้งหน้าด้านข้างและหน้าเสี้ยว ส่วนชั้นที่ 4 เป็นสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัสดี เป็นภาพของพระพรหมบนพื้นสีดำ ในช่องระหว่างเทพในทุกชั้น เป็นพุ่มดอกไม้พุทธบูชาหรือพุ่มทรงข้าวบิณฑ์ โดยชั้นที่ 1 และชั้นที่ 3 เป็นลายช่อดอกไม้ ส่วนชั้นที่ 2 และชั้นที่ 4 เป็นลายพุ่มข้าวบิณฑ์ มีก้านตั้งตรงยาวจรดพื้นที่เหล่าทวยเทพนั่งอยู่
    f7392b381352ab046ccbe8ac45ab560eb723c15693a82bffb39eab8bfa7b4ed0.jpg
    ส่วนชั้นบนสุดเหนือเส้นสินเทาแบบหยักฟันปลา ไปจนจรดเพดานและลงพื้นเป็นสีฟ้า เป็นภาพเหล่า นักสิทธิ์และวิทยาธร เกือบทุกตนที่มือข้างหนึ่งถือพระขรรค์ แต่อีกข้างหนึ่งถือช่อดอกไม้เพื่อมาเป็นพุทธบูชา ทั้งหมดแสดงท่าทางเหาะเหินอยู่บนท้องฟ้าหรือสวรรค์ เส้นสินเทาที่กล่าวถึงนี้ ใช้ในการแบ่งเหตุการณ์ของภาพจิตรกรรม ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการสืบทอดรูปแบบของจิตรกรรมที่นิยมมาตั้งแต่สมัยอยุธยา

    ภาพเทพชุมนุมในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ยังได้ถูกนำมาบรรจงเขียนภาพในการสร้างตาลปัตรชุด “เทพชุมนุม” เพื่อใช้ในงานพิธีทางศาสนาของวังหน้าโดยเฉพาะอีกด้วย

    ที่มา : https://siamrath.co.th/n/127281
     
  15. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  16. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  17. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ที่มา : youtube TheOngkhaphayop
    เทพทอง

    .............................................................................................
    ที่มา : youtube The Cloud
    วังน่านิมิต 06 : พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
    www.youtube.com/watch?v=GF2yip5whAU
    ............................................................................................
    ที่มา : youtube
    ตุ้ม พิชิตชัย official
    เที่ยวทิพย์ | ตุ้ม พิชิตชัย ( OFFICIAL AUDIO )
    www.youtube.com/watch?v=IOsQ7eVzxQc
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ตุลาคม 2021
  18. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  19. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    เพลงนี้แถมนะ ทอสู้คน (ในใจ)o_O

    ที่มา : youtube คุณพระช่วย
    เพลงมวยไทย | ตุ้ม พิชิตชัย, ทีมนาฏมวยไทยศรศิลป์ | คุณพระช่วยสำแดงสด ๔ รวมแผ่นดิน
    www.youtube.com/watch?v=A5WSjKzWOVc
     
  20. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283

แชร์หน้านี้

Loading...