คัมภีร์แห่งอัตตาเส้นทางของปัจเจก

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย supanon2011, 5 กันยายน 2011.

  1. supanon2011

    supanon2011 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    133
    ค่าพลัง:
    +84
    คัมภีร์แห่งอัตตาเส้นทางของปัจเจกffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>


    วัฏฏะแห่งการพัฒนาของมนุษยชาติ<O:p></O:p>

    <O:p> </O:p>
    โลกนี้เต็มไปด้วยการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ฤดูกาลและความเจริญเติบโตจึงมีการพัฒนาการอย่างต่อเนื่องไม่จนถึงจุดสูงสุดแล้วค่อยๆ เสื่อมทรามลงในที่สุดก็สลายไป แล้วก็กลับมีขึ้นมาใหม่หมุนเวียนเปลี่ยนไปแบบนี้ไม่มีที่สิ้นสุด มนุษย์ทั้งหลายที่พากันมาเกิดในโลกนี้ก็มีสภาพดุจเดียวกัน โลกประกอบด้วยสสารที่เป็นแบบหยาบจนถึงละเอียด จากที่สามารถใช้เครื่องมือวัดได้และที่ไม่มีเครื่องมือที่สามารถจะใช้วัดได้ อีกตัวหนึ่งคือพลังงานเป็นสภาวะที่ไม่ใช่รูป ไม่เป็นสสารต้องอาศัยความรู้สึกเท่านั้นจึงจะสัมผัสได้ มนุษย์ประกอบไปด้วยสองส่วน ร่างกายเป็นส่วนของวัตถุ จิตใจเป็นส่วนทางจิตวิญญาณ การพัฒนาที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นการพัฒนาทางจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นเรื่องลึกซึ้งละเอียดอ่อน อะไรคือจิตวิญญาณที่ต้องพัฒนาสิ่งนั้นคือ อัตตะ หรือ EGO ในภาษาพระเรียกว่า ภาวะ ซึ่งแปลว่า ความมีความเป็น ซึ่งภาวะนี้เริ่มจากอวิชชาจนถึงอุปาทานทำให้เกิดภาวะความมีความเป็นขึ้นมาจากคัมภีร์ปฏิจจสมุปปบาท อัตตะภาวะนี้แบ่งออกเป็นสองกลุ่มหนึ่งคือกลุ่มวัตถุนิยม ชาวตะวันตกมีความก้าวหน้าไปด้านนี้มาก อีกกลุ่มหนึ่งคือกลุ่มจิตนิยมชาวตะวันออกเราก้าวหน้าไปไกลกว่า โดยที่จริงแล้ววัตถุและจิตใจ จำเป็นต้องเดินร่วมกันไปอย่างสมดุล จึงจะทำให้ชีวิตมีความสมบูรณ์ เมื่อความสมดุลเกิดขึ้น อัตตาสภาวะก็จะพัฒนาสูงขึ้นจนกระทั้งหลุดพ้นจากอัตตะสภาวะในที่สุด วัฏฏะแห่งการพัฒนาของมนุษย์ชาติจะเป็นแนวทางให้ได้ทราบว่า อัตตะสภาวะในปัจจุบันนั้นอยู่แค่ไหนต้องพัฒนาขึ้นไปด้วยวิธีการอย่างไร ฐานข้อมูลที่นำมาเรียบเรียงอธิบายนี้มาจากศาสนาและลัทธิต่างๆ ของไทยและต่างประเทศ จะเริ่มจากสามเหลี่ยมแห่งการพัฒนาการ<O:p></O:p>
    <?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:shapetype class=inlineimg id=_x0000_t75 title="Tongue out" alt="" border="0" src="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif" o:p</v:shapetype>referrelative="t" o:spt="75" coordsize="21600,21600"><v:stroke joinstyle="miter"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"></v:f><v:f eqn="sum @0 1 0"></v:f><v:f eqn="sum 0 0 @1"></v:f><v:f eqn="prod @2 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @0 0 1"></v:f><v:f eqn="prod @6 1 2"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"></v:f><v:f eqn="sum @8 21600 0"></v:f><v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"></v:f><v:f eqn="sum @10 21600 0"></v:f></v:formulas><V:path o:connecttype="rect" gradientshapeok="t" o:extrusionok="f"></V:path><?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</o:lock><v:shape id=_x0000_i1025 style="WIDTH: 549pt; HEIGHT: 285.75pt" type="#_x0000_t75"><v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\supanonr\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.png" o:title="untitled"></v:imagedata></v:shape><O:p></O:p>
    แรกสุดกายภายนอก (PHYSICAL BODY) ทรงกายอยู่ได้อาด้วยอาหารที่แปรสภาพมาเป็นเลือด เนื้อ เอ็น กระดูก อันเป็นที่ทราบกันอยู่โดยทั่วไป ต่อมาเป็นกายทิพย์ (ASTRAL BODY) หรือกายแห่งกิเลสตัณหา กายนี้เป็นอัตตะสภาวะของปุหรือกายแห่งกิเลสตัณหา กายนี้เป็นอัตตะสภาวะของปุถุชนคนธรรมดาทั่วไป ซึ่งมักใช้อารมณ์เป็นตัวนำการกระทำเหตุผลเป็นเพียงข้ออ้างแล้วแต่ใจจะอ้างอย่างไร เหราะเหตุว่ามีตัณหาอุปาทานเป็นตัวนำ มันจึงไม่ใช่เป็นสิ่งจริงแท้แน่นอน แบ่งออกได้เป็นหลายกลุ่ม จากฐานข้อมูลความเชื่อของคนโบราณทางภาคเหนือในไทยและในต่างประเทศมาจากศาสนาแบบเทวะวิทยา และลัทธิความเชื่อมมานานในเอเชีย ยุโรป รัสเซีย ก็มีข่าวกระเซ็นกระสายมาบ้าง ส่วนออสเตรียไม่มีข้อมูลชัดเจน จากข้อมูลได้จัดไว้ตั้งแต่หยาบไปถึงละเอียดหรือต่ำไปหาสูง<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    กลุ่มแรก เป็นกลุ่มที่มีพัฒนาการต่ำที่สุด เป็นพวกที่เห็นแก่ตัวอย่างเดียวสิ่งใดที่เป็นของตัวจะหวงแหนไม่ให้ใครแม้กระทั่งญาติสนิทมิตรสหาย ส่วนของผู้อื่นเมื่ออยากได้จะทำทุกวิธีการโดยไม่คำนึงถึงใครว่าจะเดือดร้อนมากน้อยแค่ไหนอย่างไรขอให้ฉันได้ก็แล้วกัน กายทิพย์ของคนกลุ่มนี้จะดำคล้ำสกปรกน่าขยะแขยงน่าสะอิดสะเอียน โบราณท่านว่าเมื่อตายแล้วต้องไปสู่อบายภูมิเมื่อรับความทุกข์ทรมานพอผลกรรมบรรเทาเบาบางลงก็กลับมาเกิดเป็นมนุษย์ใหม่ก็ทำชั่วอีกไปอบายภูมิอีก จะวนเวียนอยู่อย่างนี้จนกว่าอัตตะสภาวะจะพัฒนาขึ้นมาจนพ้นภพภูมินี้<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    กลุ่มที่สอง ต่อมาเป็นกลุ่มที่อัตตะสภาวะพัฒนาขึ้นมาจากภพภูมิที่แล้วบุคคลกลุ่มนี้ก็ยังมีความเห็นแก่ตัวอยู่ แต่กับญาติสนิทมิตรสหายยังมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่บ้าง ส่วนใดที่เป็นของผู้อื่นไม่คิดอยากได้ด้วยการกระทำอันไม่ชอบ บุญทานก็ทำไปตามสังคมที่ตนเองเกี่ยวข้องอยู่ กายทิพย์ของบุคคลกลุ่มนี้แม้ยังมีความสกปรกอยู่แต่ก็ไม่ถึงกับน่าเกลียดน่ากลัวเท่าใดนัก โบราณทานว่าเมื่อตายแล้วก็กลับมาเกิดเป็นคนใหม่ ก็วนเวียนอยู่อย่างนี้จนกว่าอัตตะสภาวะจะพัฒนาสูงขึ้นจนพ้นภพภูมินี้ หากจะมีคำถามว่าการพัฒนาอัตตะสภาวะนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร คำตอบก็มีอยู่ว่าการพัฒนาอัตตะสภาวะจะพึงบังเกิดขึ้นจากความเบื่อหน่ายในความมีความเป็นที่ซ้ำซากจำเจ เมื่อเบื่อหน่ายจึงคลายความกำหนัดยินดีในสภาวะนั้นจิตก็จะแสวงหาหนทางหรือวิธีการใหม่ๆ เพื่อจะทำให้ตนพ้นไปจากสภาวะนั้น นั่นจึงเป็นเหตุให้ไปศึกษาจากท่านผู้รู้จริงปฏิบัติได้แล้วนำหลักการคำสั่งสอนของท่านมาประพฤติปฏิบัติ เมื่อปฏิบัติอย่างจริงจังจนเกิดผล อัตตะสภาวะของผู้ปฏิบัตินั้นจึงพัฒนาขึ้นจากภพภูมิที่มีที่เป็นอยู่ขณะนั้นไปสู่ภพภูมิที่สู่งกว่า ส่วนจะไปสู่ภพภูมิที่สูงมากน้อยขนาดไหนนั้นขึ้นอยู่กับผลของการปฏิบัติ<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    กลุ่มที่สาม เป็นกลุ่มที่ผ่านการพัฒนามาจากกลุ่มที่สอง จึงทำให้มีจิตวิญญาณที่เป็นไปในทางดีมากขึ้น การทำบุญทำทานก็ยังต้องการผลประโยชน์แฝงเร้นอันเป็นวัตถุอยู่ ไม่ว่าจะเป็นลาภ ยศ สรรเสริญ โลกีย์สุข ความไม่มีโรคความไม่มีภัย แต่เนื่องจากมีศรัทธาในท่านผู้รู้จริงปฏิบัติได้ นำคำสั่งสอนของท่านผู้รู้จริงปฏิบัติได้มาประพฤติปฏิบัติสม่ำเสมอ เพื่อให้ตนเองมีความเจริญในทางสังคมหรือวัตถุ ซึ่งสามารถพบเห็นได้มากในยุคปัจจุบันนี้ มีบางพวกชอบแต่สนุกสนานเฮฮา ชอบรื่นเริงบันเทิงใจ ไม่ค่อยสนใจในอนาคตทำงานไปวันๆ กายทิพย์ของคนพวกนี้จะซอมซ่อมัวๆ โบราณท่านว่าตายแล้วจะไปสู่แดนกิเลสมีความสุขพอสมควร แล้วก็เวียนมาเกิดเป็นมนุษย์ใหม่ มีบางพวกลุ่มหลงในกามโลกีย์ชอบเปลี่ยนคู่นอนบ่อยๆ ไม่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการจัดการสิ่งต่างๆ กายทิพย์ของคนพวกนี้จะออกสีแดงคล้ำๆ ไม่สวยงาม โบราณท่านว่าตายแล้วจะไปอยู่แดนกิเลสมีความสุขพอสมควร แล้วก็เวียนมาเกิดใหม่มีบางพวกชอบฝักใฝ่ไปในทางฤทธิ์าณท่านว่าตายแล้วจะไปสู่แดนกิเลสมเดชต่างๆ คนเหล่านี้ก็จะเสาะหาวิธีการพิธีการพิธีกรรมเพื่อให้มีฤทธิ์เดชอันจะนำไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ กายทิพย์ของคนพวกนี้จะมืดๆ ขมุกขมัวมองไม่ชัดเจน ตายแล้วก็จะไปสู่แดนกิเลสมีความสุขพอประมาณ ในหมู่ชนทั้งสามพวกนี้ในแต่ละบุคคลอาจจะมีครบทั้งสามอย่าหรือสองอย่าง ส่วนที่จะมีอย่างเดียวหาได้น้อยมาก กลุ่มคนในแดนกิเลสที่เมื่อตายแล้วยังประสบพบกับความสุขพอสมควร เพราะอาศัยความศรัทธาหรือความเชื่อเป็นบรรทัดฐานในการทำบุญทำทาน ดังนั้นอาสิสงค์ผลบุญกุศล จึงมีกำลังมากพอที่จะทำให้พบกับความสุขได้ก็จะเวียนเกิดเวียนตายอยู่ภพภูมินี้จนกว่า อัตตะสภาวะของเขาจะพัฒนาขึ้นจนพ้นภพภูมินี้<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    กลุ่มที่สี่ เป็นกลุ่มแห่งผู้ประกอบด้วยศรัทธาปสาทะในท่านผู้รู้จริงปฏิบัติได้แล้วนำคำสั่งสอน หลักการของท่านมาประพฤติปฏิบัติอย่างจริงจังและมั่นคงแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนของบุญฤทธิ์และส่วนของอิทธิฤทธิ์ พวกบุญฤทธิ์ คือ พวกที่ทำบุญทำทานประกอบด้วยศรัทธาปรารถนาให้ผลบุญกุศลนำส่งให้ไปปฏิสนธิในโลกสวรรค์ ไม่ว่าจะเป็นสวดมนต์ ภาวนา ถือศีลตามเทศกาล บริจาคอาหารและวัตถุอื่นๆ เมื่อได้กระทำไปด้วยเจตนาอันแน่วแน่และมั่นคง กายทิพย์ของท่านผู้นั้นก็จะสดใสสวยงาม โบราณท่านว่า ตายแล้วจะไปปฏิสนธิเป็นเทพบุตร เทพธิดา ในโลกสวรรค์ ส่วนจะเป็นสวรรค์ชั้นใดตั้งแต่ภุมมะเทวดาไปจนถึงชั้นปรนัมมิตะวะสวัตตีนั้นแล้วแต่อานิสงค์ผลบุญกุศลที่บำเพ็ญมา อีกพวกหนึ่งเป็นพวกอิทธิฤทธิ์ คือ เป็นผู้ที่มีความยึดมั่นในคุณธรรมอันเป็นฝ่ายกุศลอย่างจริงจัง เช่นกตัญญู ความยุติธรรม ฯลฯ อื่นๆ เป็นต้น ตลอดทั้งมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กับบุคคลทั่วไปมีกำลังใจที่เข้มแข็งฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ ที่มาบั่นทอน บางคนก็ฝึกสมาธิภาวนาตามแบบที่ชอบ กายทิพย์ก็จะสดใสสว่าง เป็นไปตามคุณธรรมที่ปฏับัติได้ ตายแล้วโบราณท่านว่าจะไป เป็นเทพเจ้า จะเป็นสวรรค์ชั้นไหนก็แล้วแต่อานิสงค์ที่บำเพ็ญมา เริ่มจากภุมมะเทวดาเป็นต้นไป ทั้งสองพวกในกลุ่มที่สี่นี้จะวนเวียนระหว่างมนุษย์กับสวรรค์ไปจนกว่าจะเบื่อหน่าย แล้วไปศึกษากับผู้รู้จริงปฏิบัติได้ นำคำสั่งสอนมาประพฤติปฏิบัติจนเกิดผล ทำให้อัตตะสภาวะพัฒนาขึ้นจนพ้นภพภูมินี้ ขึ้นสู่อัตตะสภาวะของกายใจ (MIND BODY)<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    กลุ่มที่ห้า เป็นกลุ่มที่อัตตะสภาวะอยู่ในภพกายใจ (MING BODY) เมื่อพัฒนามาถึงภพภูมินี้ อัตตะสภาวะจะเข้มแข็งไปด้วยสมาธิเป็นอย่างมาก มีความเมตตากรุณาเป็นปกติ เรื่องศีล เรื่องทาน เรื่องบุญกุศลจะทำอยู่เสมอ รัศมีของกายใจ (MIND BODY) จะมีแสงสว่างสดใสเป็นประกายสวยงามมากเมื่อตายลงโบราณท่านว่าถ้าทรงสมาธิขณะตายจะไปเป็นพรหม ถ้าตายนอกสมาธิจะไปเป็นเทวดา<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    กลุ่มที่หก เป็นกลุ่มที่พัฒนาขึ้นมาจากกลุ่มที่ห้าที่อาศัยสมาธิอันเป็นรูปลักษณ์มา พอพัฒนาขึ้นมาถึงกลุ่มที่หกนี้จะเป็นสมาธิแบบไร้รูป ไร้ลักษณ์ อัตตะสภาวะเข้าสู่ระบบกายวิญญาณ (CAUSAL BODY) ซึ่งจะมีแสงสว่างสดใสงดงามเป็นกายระยิบระยับสวยงามมากจนจับตา เมื่อตายลงโบราณท่านว่าจะไปเสวยสุขในแดนอรูปพรหม ซึ่งมีอายุยาวนานมาก จากกลุ่มแรกมาถึงกลุ่มที่หกนี้ยังเป็นวัฏฏะที่ต้องวนเวียนมาเกิดมาตายไม่รู้สิ้นสุด จนกว่าจะพัฒนาอัตตะสภาวะขึ้นไปสู่ขั้นสุดท้าย คือหลุดพ้นจากภาวะความมีความเป็นทั้งปวง<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    กลุ่มที่เจ็ด ซึ่งเป็นการพัฒนาขั้นสุดท้าย ในพระพุทธศาสนาอาศัย ศีล สมาธิ ปัญญาหรือ มรรค มีองค์แปดเป็นฐานในการปฏิบัติ จนล่วงพ้นจากกายวิญญาณเข้าสู่เขตแห่งการไร้ซึ่งอัตตะสภาวะ หมายถึงการดับสิ้น ( นิพพาน) ในความรู้ทั้งปวงซึ่งเป็นอริยะมรรค อันใช้เวลาไม่นานนัก อริยะผลก็จะตามมา นิพพานความดับสิ้นเป็นการทะลุทะลวงกายวิญญาณ (CAUSAL BODY) อันยังมีอาสวะเป็นองค์ประกอบเข้าไปสู่จิต (SPRIRIT) โดยตรง เมื่อกายวิญญาณ (CAUSAL BODY) ไม่ปรากฏการรู้ในสิ่งต่างๆ จึงไม่มี เมื่อจิตมีความรู้ยิ่งเห็นจริงโดยตัวของมันเองแล้วอาสวะที่ประกอบร่วมกับกายวิญญาณ (CAUSAL BODY) จึงถูกทำลายลง ทำให้อริยะผลปรากฏให้ได้รับรู้โดยกายวิญญาณ (CAUSAL BODY) ที่สะอาดไม่ได้หมักหมมไปด้วยกิเลส ตัณหา อุปาทาน อันเป็นอาสวะดังที่เคยเป็นมาก่อน เพราะฉะนั้นผู้ที่บรรลุแล้วเท่านั้นจึงทราบว่าชาติสิ้นแล้วพรหมจรรย์จบแล้ว กิจอื่นที่จะต้องพึงทำไม่มีต่อไปอีก<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    สรุป ได้ว่าคัมภีร์แห่งอัตตาที่นำเสนอมานี้ เพื่อเป็นการตอบสนองในคำกล่าวที่ว่าเมื่อไม่รู้อัตตาจะรู้อนัตตาได้อย่างไร เป็นคำกล่าวของบางคนบางสำนัก เนื่องจากผู้คนยุคนี้ชอบเป็นนักคิดนักวิชาการมากกว่าเป็นนักปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงคำสอนในสภาวะนั้นๆ จริงๆ ในผู้คนยุคก่อนๆ จะไม่สนใจในเรื่องเหล่านี้หรือท่านทราบกันดีก็อาจเป็นไปได้ ท่านเหล่านั้นจึงมุ่งหน้าประพฤติปฏิบัติไปตามหลักเกณฑ์ทั้งปวงที่วางไว้ การเข้าถึงสภาวะที่สอนเอาไว้จริงๆ จึงมีอยู่เป็นจำนวนมากพอสมควร แต่ทั้งหลายทั้งปวงเมื่ออ่านมาถึงนี่แล้วจงใช้ หลักกามาลสูตรในเบื้องต้นที่บอกว่า จงอย่าเชื่อโดยอาศัยเหตุสิบอย่าง และกาลามสูตรในตอนสุดท้ายที่ท่านตรัสถึงโลภะ โทสะ โมหะ ซึ่งชาวกาลามะบอกว่าไม่ดี เมื่อสมาทานแล้วเกิดทุกข์ เกิดความเดือดร้อน ท่านก็บอกว่าอย่าไปทำ อโลภะ อโทสะ อโมหะ ซึ่งชาวกาลามะบอกว่าเป็นสิ่งดี เมื่อสมาทานแล้วสร้างความสุขความเจริญให้เกิดขึ้น ท่านก็บอกว่าจงปฏิบัติเถิด นี้เป็นคำสั่งคำสอนของพระศาสดา ขอจบตรงที่ว่า อัปปมาเทนะ สัมปาเทถะ เธอจงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด .... สวัสดี.<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>

    ผู้เฒ่าข้างวัด<O:p></O:p>


    23 พ.ค. 2546ูกาลและความเจริญเติบ<O:p></O:p>


    <O:p></O:p>

    :'((k):'((k):':)boo:​
     
  2. supanon2011

    supanon2011 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    133
    ค่าพลัง:
    +84
    กัมมัสสกตาทิฏฐิ และ ฌานสัมมาทิฏฐิ

    <H6 class=uiStreamMessage data-ft='{"type":1}'>ไปเจอปัจจเวกขณสัมมาทิฏฐิ พระท่านว่ากัมมัสสกตาทิฏฐิ(ซึ่ง<WBR>เป็นเรื่องของเหตุและผล)และฌานส<WBR>ัมมาทิฏฐิ แม้โลกนี้จะสูญสลายหายไป แต่สิ่งที่มีชีวิตในโลกอื่นก็มี<WBR>ผู้เห็นว่าทุกคนมีกรรม(การกระทำ<WBR>)เป็นของตน เป็นผู้รับผลของกรรมที่ได้กระทำ<WBR> ส่วนฌานย่อมมีผู้ปฏิบัติอยู่เสม<WBR>อไม่เกี่ยวกับศาสนาหรือลัทธิใดๆ<WBR> เมื่อทำถึงจุดมันก็ได้ ที่กล่าวมานี้เป็นสัจจธรรม ของสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยสติ<WBR>ปัญญาพอสมควร ส่วนอริยมรรคสัมมาทิฏฐิ อริยผลสัมมาทิฏฐิมีอยู่ในพุทธศา<WBR>สนาเท่านั้น

    [​IMG]



    <FORM id=u6gyai_89 class="live_326245017444102_131325686911214 commentable_item collapsed_comments autoexpand_mode" onsubmit="return Event.__inlineSubmit(this,event)" method=post action=/ajax/ufi/modify.php data-live='{"seq":0}' rel="async"><INPUT value=€,´,€,´,水,Д,Є type=hidden name=charset_test><INPUT value=AQCLXTlD type=hidden name=fb_dtsg autocomplete="off"><INPUT value='{"actor":"100003275165752","target_fbid":"326245017444102","target_profile_id":"","type_id":"308","assoc_obj_id":"184706378264634","source_app_id":"0","extra_story_params":[],"content_timestamp":"1336185051","check_hash":"AQA20ZZ8DmEtq13Z","source":"0"}' type=hidden name=feedback_params autocomplete="off"> <BUTTON class="like_link stat_elem as_link" title=ถูกใจสิ่งนี้ onclick="fc_click(this, false); return true;" name=like type=submit data-ft='{"tn":">","type":22}'>ถูกใจเฉยๆ</BUTTON> · <LABEL class="uiLinkButton comment_link" title=แสดงความคิดเห็น><INPUT onclick="return fc_click(this);" value=แสดงความคิดเห็น type=button data-ft='{"type":24,"tn":"S"}'></LABEL> ·<BUTTON class="unsub_link stat_elem as_link" title=รับการแจ้งเตือนเมื่อมีคนแสดงความคิดเห็น name=subscribe type=submit>ติดตามโพสต์เลิกติดตามโพสต์</BUTTON> · <A href="http://www.facebook.com/groups/184706378264634/permalink/326245017444102/"><ABBR title="5 พฤษภาคม 2012 เวลา 13:00 น." data-utime="1336185051">5 พฤษภาคม เวลา 13:00 น.</ABBR>

    </FORM></H6>บรรณาการจาก กลุ่ม พุทธธรรมะ : ปรัชญา
     

แชร์หน้านี้

Loading...