ความหมายของคำว่าพระโพธิสัคว์

ในห้อง 'กฎแห่งกรรม - ภพภูมิ' ตั้งกระทู้โดย lionking2512, 15 กรกฎาคม 2010.

  1. lionking2512

    lionking2512 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,525
    ค่าพลัง:
    +7,632
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="OneNote.File"><meta name="Generator" content="Microsoft OneNote 12"> <table valign="top" style="direction: ltr; border-collapse: collapse; border: 0pt solid rgb(163, 163, 163);" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 10.7631in; padding: 4pt;"> [FONT=&quot] พระโพธิสัตว์ คือ บุคคลที่ปรารถนาเพื่อความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคตแบ่งเป็น ๒ ลักษณะ คือ[/FONT]

    [FONT=&quot]๑. พระโพธิสัตว์ที่ยังไม่ได้รับพุทธพยากรณ์จากองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอดีตเลย เรียกว่า อนิตยะโพธิสัตว์ คือ ยังมีความไม่แน่นอนว่าจะเป็นพระพุทธเจ้าหรือไม่ ต้องสะสมบารมีอีกมาก เพราะอาจจะล้มเลิกความปรารถนาเมื่อใดก็ได้[/FONT]

    </td> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 0.7166in; padding: 4pt;">
    </td> </tr> <tr> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 10.7631in; padding: 4pt;"> [FONT=&quot]๒. พระโพธิสัตว์ที่ได้รับพุทธพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าในอดีตมาแล้ว เรียกว่า นิตยะโพธิสัตว์ คือ มีความแน่นอนที่จะเป็นพระพุทธเจ้า เพราะมีการบำเพ็ญบารมีมามากจนสามารถเข้าพระนิพพานได้ แต่ก็ไม่อาจเข้านิพพานได้จะต้องดำรงพระฐานะเป็นสมเด็จองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสียก่อน แต่พระบารมีและเวลายังไม่สมบูรณ์ แม้จะพยายามปฏิบัติอย่างยิ่งยวดบังเกิดปัญญาอย่างเยี่ยมยอดก็ไม่สามารถเข้านิพพานก่อนได้ แม้จะทุกข์ท้อแท้เพียงใด จนคิดที่จะเลิกเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ตาม แต่แล้วในที่สุดมหากุศลที่เป็นอนุสัย ก็จะพุ่งกระจายขึ้นมาให้ตั้งมั่นและบำเพ็ญบารมีต่อกันจนกว่าบารมีและเวลาจะสมบูรณ์ สำหรับพระโพธิสัตว์ที่เป็นอนิตยะโพธิสัตว์ ที่สร้างบารมีสมบูรณ์แล้ว จะได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรก ต่อหน้าพระพักตร์พระพุทธเจ้า จะต้องมีธรรมมโนธาน ๘ ประการสมบูรณ์ จึงได้รับพุทธพยากรณ์โดยนัยว่า จะได้ตรัสรู้เป็นองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงพระนามว่าอย่างนั้น ในกัปอันเป็นอนาคตที่เท่านั้นก็จะกลายเป็น นิตยะโพธิสัตว์ ทันทีเป็นพระโพธิสัตว์ที่เที่ยงแท้[/FONT]
    </td> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 0.7166in; padding: 4pt;">
    </td> </tr> <tr> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 10.7631in; padding: 4pt;">
    [FONT=&quot]ธรรมมโนธาน ๘ ประการ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑. ได้เกิดเป็นมนุษย์[/FONT]
    [FONT=&quot]๒. เป็นบุรุษเพศไม่เป็นกระเทย (หรือมีที่กาย ๒ เพศ)[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. มีอุปนิสัยปัจจัยแห่งพระอรหันต์รุ่งเรืองอยู่ในขันธสันดาน(ถ้าเกิดลาพุทธภูมิจะเป็นพระอรหันต์ทันที)[/FONT]
    [FONT=&quot]๔. ต้องพบสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าขณะมีพระชนม์ชีพอยู่และได้สร้างกองบุญกุศลต่อหน้าพระพักตร์[/FONT]
    [FONT=&quot]๕. ต้องเป็นบรรพชิต หรือว่าโยคี ฤาษี ดาบส หรือปริพาชก ที่มีลัทธิเชื่อว่า บุญมี บาปมี ทำบุญได้บุญ ทำบาปได้บาป ต้องไม่เป็นคฤหัสถ์ผู้ครองเรือน[/FONT]
    [FONT=&quot]๖. ต้องมีอภิญญาและฌานสมาบัติอันเชี่ยวชาญ[/FONT]
    [FONT=&quot]๗. เคยใช้ชีวิตของตนเป็นทาน เพื่อพระสัมโพธิญาณในอดีต[/FONT]
    [FONT=&quot]๘. ต้องฉันทะ คือ ความรัก ความพอใจในพุทธภูมิเป็นกำลัง[/FONT]
    </td> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 0.7166in; padding: 4pt;">
    </td> </tr> </tbody></table>

    <table valign="top" style="direction: ltr; border-collapse: collapse; border: 0pt solid rgb(163, 163, 163);" width="509" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="1758"> <tbody><tr> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 10.7631in; padding: 4pt;"> [FONT=&quot]พระโพธิสัตว์ต้องบำเพ็ญบารมี ๓๐ ทัศ[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]๑. ทานบารมี คือ การให้ทานทำบุญ บริจาคทรัพย์ บริจาคร่างกาย หรือบริจาคสัตว์ทั้งหลายของตน (รวมถึงภรรยา บุตร ธิดาของตนเอง)[/FONT]
    [FONT=&quot]๒. ศีลบารมี คือ การรักษาศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๒๒๗ ข้อ[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. เนกขัมมะบารมี คือ การออกบวชเป็นพระ หรือเป็นฤาษี เป็นโยคี เป็นพราหมณ์ คือ การบำเพ็ญพรหมจรรย์ตามกำลัง[/FONT]
    [FONT=&quot]๔. ปัญญาบารมี คือ สร้างเสริมความรู้ ความสามารถ และปัญญาทางธรรมะให้เพิ่มขึ้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๕. วิริยะบารมี คือ มีความขยันหมั่นเพียร กระทำสิ่งที่เป็นคุณประโยชน์ ทั้งในทางธรรมะ จนกระทั่งสำเร็จ[/FONT]
    [FONT=&quot]๖. ขันติบารมี คือ มีความอดทนต่ออารมณ์อันไม่พึงพอใจ ต่อการงานต่างๆ ต่อการปฏิบัติธรรม และต่อสิ่งแวดล้อมที่ไม่อำนวย[/FONT]
    [FONT=&quot]๗. สัจจะบารมี คือ การพูดความจริง ที่ประกอบไปด้วยความดีตามกาล และทำตามที่กล่าวไว้[/FONT]
    [FONT=&quot]๘. อธิษฐานบารมี คือ ตั้งจิตอธิษฐานเมื่อสร้างกุศล ในสิ่งที่พึงปรารถนาที่เป็นคุณงามความดี[/FONT]
    [FONT=&quot]๙. เมตตาบารมี คือ มีจิตใจเมตตาต่อสัตว์ทั้งหลายเสมอเหมือนกัน[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๐. อุเบกขาบารมี คือ มีใจเป็นอุเบกขาต่อความสุขความทุกข์ที่เกิดขึ้น[/FONT]
    [FONT=&quot] [/FONT]
    </td> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 0.7166in; padding: 4pt;">
    </td> </tr> <tr> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 10.7631in; padding: 4pt;"> [FONT=&quot]บารมีทั้ง ๑๐ สามารถแยกออกได้เป็น ๓ ระดับ คือ[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]๑. บารมีธรรมดาทั่วไป หรือเรียกว่า เบื้องต้น[/FONT]
    [FONT=&quot]๒. อุปบารมี บารมีอย่างกลางแลกด้วยปัจจัยภายนอกจนหมดสิ้น หรือเรียกว่า ท่ามกลาง[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. ปรมัตถบารมี คือ บารมีอย่างยิ่ง แลกด้วยชีวิต หรือเรียกว่า ที่สุด[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อแบ่งเป็นระดับการบำเพ็ญบารมีแล้วก็จะกลายเป็นบารมี ๓๐ ทัศ และพระนิตยะโพธิสัตว์
    [/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อได้รับพุทธพยากรณ์เป็นครั้งแรกแล้ว จะมีอานิสงส์ ๑๘ ประการ ซึ่งจะดำรงไว้ตลอดจนกว่าจะได้มาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ได้แก่[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]

    [FONT=&quot]๑. เมื่อเป็นมนุษย์ย่อมไม่เกิดเป็นคนมีจักษุบอดมาแต่กำเนิด[/FONT]
    [FONT=&quot]๒. ไม่เป็นคนหูหนวกมาแต่กำเนิด[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. ไม่เป็นคนบ้า[/FONT]
    [FONT=&quot]๔. ไม่เป็นคนใบ้[/FONT]
    [FONT=&quot]๕. ไม่เป็นคนง่อยเปลี้ย[/FONT]
    [FONT=&quot]๖. ไม่เกิดในมิลักขประเทศ คือประเทศป่าเถื่อน หรือมิสามารถจะสร้างบารมีได้[/FONT]
    [FONT=&quot]๗. ไม่เกิดในท้องนางทาสี (แต่เกิดในฐานะคนจัณฑาลได้ ดังพระโพธิสัตว์มาตังคะฤาษี ท่านเป็นบุตรของคนจัณฑาล แต่ไม่ได้เป็นนางทาสีหรือทาส)[/FONT]
    [FONT=&quot]๘. ไม่เป็นมิจฉาทิฏฐิ[/FONT]
    [FONT=&quot]๙. ไม่เป็นสตรีเพศ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๐. ไม่ทำอนันตยกรรม คือกรรมหนัก ๔ ประการ[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๑. ไม่เป็นโรคเรื้อน[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๒. เมื่อเกิดเป็นสัตว์เดียรฉาน มีกายเล็กกว่านกกระจาบและไม่ใหญ่ไปกว่าช้าง[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๓. ไม่เกิดในขุปปิปาสิกเปรต นิชฌานตัณหิกเปรต และกาลกัญจิกาสุรกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๔. ไม่เกิดในอเวจีมหานรก และโลกันตนรก[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๕. ไม่เกิดเป็นเทวดาในกามาพจรสวรรค์ ไม่เกิดเป็นเทวดาที่นับเข้าในเทวดาหมู่มาร[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๖. เมื่อเกิดเป็นรูปพรหม จะไม่เกิดในปัญจสุทธวาสพรหมโลก (พรหมชั้นอนาคามี) [/FONT]
    [FONT=&quot]และอสัญญสัตตาภูมิพรหม (มีแต่เพียงรูปอย่างเดียว)[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๗. ไม่เกิดในอรูปพรหมโลก[/FONT]
    [FONT=&quot]๑๘. ไม่เกิดในจักรวาลอื่น[/FONT]

    [FONT=&quot] อานิสงส์พิเศษ อีกอย่างหนึ่งของพระนิตยโพธิสัตว์ คือ การทำอธิมุตตกาลกริยา คือ เมื่อท่านเกิดเป็นเทวดาหรือพรหมจะเกิดความเบื่อหน่ายในการเสวยสุขนั้นปรารถนาที่จะสร้างบารมีในโลกมนุษย์ ท่านก็สามารถทำการอธิมุตต คือ อธิษฐานให้จุติ (ตายจากการเป็นเทพ) มาเกิดเป็นมนุษย์ได้ทันที โดยง่ายซึ่งเหล่าเทพเทวดาอื่นๆ ไม่สามารถทำอย่างนี้ได้
    [/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT]
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="OneNote.File"><meta name="Generator" content="Microsoft OneNote 12"> ที่มา http://www.sutthawong.com
    </td> <td style="border-width: 0pt; vertical-align: top; width: 0.7166in; padding: 4pt;">
    </td> </tr> </tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...