การทำบุญแบบนี้ใช่รึป่าวหนอ ??

ในห้อง 'กฎแห่งกรรม - ภพภูมิ' ตั้งกระทู้โดย xanxus, 17 มกราคม 2008.

  1. xanxus

    xanxus เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    73
    ค่าพลัง:
    +175
    เวลาพวกเราทำบุญกันอะคับ แล้ว ชอบ อธิฐาน ขอพร ต่างๆ เนีย มันเปนการ
    ทำบุญ โดยหวังผลตอบแทนรึป่าว คับ ??
     
  2. เฮียปอ ตำมะลัง

    เฮียปอ ตำมะลัง ทุกสิ่งจบสิ้นลงด้วยความตาย วุ่นวายทำไม ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    24,969
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +91,129
    สาธุ..ลองอ่านดูครับ

     
  3. 道教พินอิน

    道教พินอิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    322
    ค่าพลัง:
    +510
    ความหวังมันมีอยู่ในใจของทุกคนที่ยังไม่เข้าถึงอรหัตผล

    แม้ไม่ได้อธิฐานด้วยความตั้งใจ ความหวังก็ยังมีอยู่นั่นแหละ

    การปรารถนาความเป็นสิ่งนั้นสิ่งนี้ เวลาทำบุญนั้น ไม่ใช่เรื่องที่ไม่มีค่า

    แต่กลับเป็นการเคารพในทานที่ตนเองทำ แต่ว่าเมื่อเราทำความดีไปจนดีติดใจ

    ความหวังที่เคยหวังเพื่อตนเองเพียงฝ่ายเดียวก็จะหดหายไป กลายเป็นทำดี

    เพราะเรานั้นดีแล้ว เพราะเรานั้นมีจิตใจเอื่อเฟื้อแล้ว การตั้งความปรารถนานั้น

    ไม่ใช่เรื่องที่ไม่สำคัญ แม้พระพุทธองค์ท่านก็ได้ตั้งความปรารถนาเอาไว่ว่าจะ

    เป็นพระพุทธเจ้า ท่านจึงได้มาตรสรู้เป็นดั่งที่ท่านหวัง แต่การทำความดีของ

    บางคนนั้นยังไม่ใช่ดีแท้ เพราะเขาจะทำเฉพาะเวลาหวยใกล้ออกบ้าง หรือได้

    ยินว่ามีพระดังบอกเลขใบ้หวยแม่น พวกเขาเหล่านั้นจึงไปให้ทานในที่นั้นๆกับ

    ท่านนั้นๆ การทำความดีดังนี้แลจึงเป็นการทำความดีที่ให้ผลน้อย ไม่ได้ชำละ

    จิตใจของตนเองเลย มันต่างกันนะ ต่างกันในเจตนาที่หวัง จิตที่ตั้งมั่นใน

    หวัง อย่างมีใครสักคนอยากเป็นผู้ใหญ่บ้านเลยชอบไปวัด เพื่อสร้างภาพให้ดู

    ดี เพราะหวังว่าใครๆจะเห็นว่าตนดีจะได้เลือกเป็นผู้ใหญ่บ้าน ทำดีดังนี้นั้น

    มันดีจริงหรือ ความหวังแบบนี้มันหวังแบบไหน เป็นสัมมาทิฐิ หรือมิตฉาทิฐิ

    กัน จิตใจเข้ามีแต่มายาสาไถ สร้างภาพหลอกชาวบ้าน หวังเหมื่อนกัน

    แต่เจตนาอันเป็นบาทฐานของกาตั้งความหวังมันต่างกัน คุณค่าเลยต่างกัน

    อย่าด่วนสรุปไปว่าคำสอนที่ไม่ให้หวังนั้นผิด จงพินิจตรองก่อนให้ดี

    ขออนุโมทนานะ
     
  4. Dennis O

    Dennis O Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 มกราคม 2008
    โพสต์:
    18
    ค่าพลัง:
    +60
    อ้างอิง:

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ xanxus [​IMG]
    เวลาพวกเราทำบุญกันอะคับ แล้ว ชอบ อธิฐาน ขอพร ต่างๆ เนีย มันเปนการ
    ทำบุญ โดยหวังผลตอบแทนรึป่าว คับ ??

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ในส่วนตัวผมคิดว่า การอธิษฐานเวลาทำบุญ เพื่อให้มีบุญกุศลรวมเป็นบารมี ในการตัดกิเลส ในการลด ละ คลาย กิเลส และ ช่วยสรรพสัตว์ เป็นการหวังผลที่ให้ตนเองดียิ่งๆขึ้นไปจนไม่มีตัวไม่มีตน นั่นคือนิพพาน ในความรู้สึกผมเหมือนคนพายเรือข้ามฝั่ง ในขณะพายก็ต้องอาศัยเรือในการพายให้ข้ามฝั่ง แต่เมื่อถึงฝั่งแล้ว เราก็ไม่ได้เอาเรือนั้นไปด้วย

    การพาย = การบำเพ็ญบารมีขณะเราเวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะสงสาร (การอธิษฐาน เป็น1ใน บารมี10)


    เรือ = ร่างในแต่ละภพภูมิ ที่ใช้การการบำเพ็ญบารมี

    การถึงฝั่ง = นิพพาน


    ข้อความข้างล่างลองอ่านดูนะครับ แต่ละคนให้คำตอบได้ดีเลยครับ อนุโมทนาด้วยครับ [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700 border=0><TBODY><TR><TD>การอธิษฐานจิต

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><!"#853A7B"><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#bbddff border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> เนื้อความ :
    เราควรจะอธิฐานจิตทุกครั้งที่ทำบุญหรือไม่ การอธิฐานนี้คือสิ่งเดียวกับการวอนขอหรือไม่ คิดไปคิดมาแล้วก็ค่อนข้างสับสนค่ะ มีเพื่อนมาถามน่ะค่ะ ตอบไม่ถุกเหมือนกัน เรียนท่านผุ้รุ้ทั้งหลายช่วยกรุณาตอบด้วยค่ะ ขอบคุณค่ะ​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : อสาพติ [ 8 พ.ค. 2546 / 21:36:14 น. ]
    [ IP Address : 203.156.1.102 ] </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 1 : (ดังตฤณ)

    ควรอธิษฐานให้ครั้งหน้าทำบุญได้โดยไม่มีใจพะวงครับ
    ถ้าบังเกิดผลให้มั่นใจได้ จะอธิษฐานอะไรก็สำเร็จ
    เช่นขอให้เป็นเหตุปัจจัยให้ใจ "ทิ้งขันธ์" ได้เหมือนให้ทาน/ทำบุญครั้งนี้​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : ดังตฤณ [ 8 พ.ค. 2546 / 21:39:01 น. ]
    [ IP Address : 202.133.161.177 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 2 : (ยังอยู่หรือเปล่า)

    ผมอยากสนทนาธรรมด้วยจะรออยู่ที่ www.watkoh.com/chat.htm ขอบคุณครับ ใครที่เข้ามาอ่านตอนนี้ผมรออยู่ครับ ​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : ยังอยู่หรือเปล่า [ 8 พ.ค. 2546 / 21:42:14 น. ]
    [ IP Address : 203.113.67.69 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 3 : (cc.)

    อธิษฐานแล้วจิตใจฉุ่มฉ่ำเย็นกายสบายใจก็อธิษฐานไปเต๊อะ
    และจะยิ่งดี ขณะทำบุญ ขณะให้ ก็เจริญสติว่ากำลังให้เพื่อให้
    มีความรู้ตัวสบายๆทุกขณะที่ให้ทาน
    อันนี้แม้ว่าจะไม่มีคำอธิษฐานใดๆปรากฏ
    ก็ถือว่าเป็น เนื้อแท้ของการอธิษฐานทั้งปวงอันนี้เยี่ยมมาก หล่ะเด้อ
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : cc. [ 8 พ.ค. 2546 / 21:53:14 น. ]
    [ IP Address : 203.156.8.136 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 4 : (kaan)

    เป็นความเข้าใจผิดในหมู่ชาวพุทธไม่น้อยว่า อธิฐาน คือการขอ พอทำบุญ แล้วให้อธิฐาน ก็จะขอนั่นนี่ ส่วนใหญ่ขอมากกว่าที่ทำบุญอยู่ กลายเป็นตั้งจิตเป็นโลภะ จะได้บุญอย่างไร กำลังบำเพ็ญจิตภาวะแบบ เปรต มากกว่า
    แท้จริง อธิฐาน โดยศัพย์ก็แปลว่า จิตอันยิ่งใหญ่ จิตที่ยิ่งใหญ่คือจิตที่ประกอบด้วย หรือตั้งใจจะพยายามให้มี พุทธคุณ คือจิตที่ต้องไม่ติดข้องกับสิ่งใด หรือไปทางหมดอัตตาตัวตน ของตน(บริสุทธิคุณ) เป็นจิตที่รู้ตื่นเข้าใจความจริงตามความเป็นจริงตามสัจจะ(ปัญญาธิคุณ) และมีแต่จิตที่คิดทำประโยชน์เพื่อผู้อื่น(มหากรุณาธิคุณ) ถ้าตั้งจิตอย่างนี้จึงเป็นอธิฐานธรรมแท้​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : kaan [ 9 พ.ค. 2546 / 08:44:11 น. ]
    [ IP Address : 203.157.72.253 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 5 : (1)

    อธิฐาน เป็น 1 ใน บารมี 10 ที่พระโพธิสัตว์ ต้องกระทำ​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : 1 [ 9 พ.ค. 2546 / 10:04:27 น. ]
    [ IP Address : 203.144.157.226 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 6 : (สปาย)

    ขออนุญาตครับ
    อธิษฐาน
    ไม่พบคำว่า อธิฐาน ในพจนานุกรม แม้ว่าตัวรูปคำจะพอแปลได้ว่า
    ฐานที่ยิ่งใหญ่

    นึกถึง พระองคุลีมาลโปรดหญิงมีครรภ์ โดยสัตยาธิษฐาน
    ดูกรน้องหญิง ตั้งแต่เวลาที่ฉันเกิดแล้วในอริยชาติ จะแกล้งปลง
    สัตว์จากชีวิตทั้งรู้หามิได้ ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน
    ขอความสวัสดีจงมีแก่ครรภ์ของท่านเถิด
    ครั้งนั้น ความสวัสดีได้มีแก่หญิง ความสวัสดีได้มีแก่ครรภ์ของ
    หญิงแล้ว. ​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : สปาย [ 9 พ.ค. 2546 / 11:33:02 น. ]
    [ IP Address : 203.107.236.3 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 7 : (อ่อนหัด)

    ขันติบารมี สัจจะบารมี เป็นบารมีจิตชั้นสูง เราควรหัดอธิษฐานจิตจากง่ายไปหายากก่อนครับ เช่น ข้าพเจ้าจะนั่งสมาธิให้ได้ วันละ 5 นาทีเป็นต้น​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : อ่อนหัด [ 9 พ.ค. 2546 / 14:48:38 น. ]
    [ IP Address : 202.183.129.133 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 8 : (กำแพงทอง/)

    การอธิษฐาน สำหรับผู้ยังหลงในกิเลสกาม วัตถุกาม เป็นเหมือนการทำบุญ แล้ว ต้องการสิ่งแลกเปลี่ยน จากกุศลผลบุญที่ได้ทำนั้น นับว่า ไม่เป็นไปเพื่อการหลุดพ้น
    เป็นการเพิ่มพูนกิเลส ของตัวเอง
    การอธิษฐาน ที่น่าสรรเสริญ เพื่อการหลุดพ้น คือ การอธิษฐานในการปฏิบัติธรรม
    เพื่อเพิ่มพูน กำลังจิต กำลังใจ ในการภาวนา ในการสิ่งที่เป็นยอดธรรม คือ พระนิพพาน นั้น ต้องใช้ สัจจะ ควบคู่กันไป จากสิ่งที่ง่าย ไปยาก​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : กำแพงทอง/ [ 9 พ.ค. 2546 / 18:46:00 น. ]
    [ IP Address : 203.155.42.19 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 9 : (อสาพติ)

    ขอบคุณสำหรับทุกความเห็นค่ะ.......พอสรุปได้ว่า ถ้าจะอธิษฐานก็ให้ขอแบบเป็นไปเพื่อละวางกิเลสดั่งเช่นกองทานที่เราทำอย่างความเห็นของคุณ ดังตฤณ หรือไม่อธิษฐานก็จะเป็นไปเพื่อความหลุดพ้นเช่นกัน.... คือเราชาวพุทธควรมีความเห็นว่าทุกสิ่งที่ทำไม่ว่าจะเป็นการทำบุญหรือทานก็ดี ก็เพื่อเป็นปัจจัยที่จะนำไปสู่การถึงที่สุดแห่งทุกข์ แต่ถ้าหากบุคคลนั้นๆ แม้จะนับถือศาสนาพุทะ แต่ยังไม่สามารถที่จะเข้าถึงแก่นแห่งพุทธคือการละวางได้จริง ยังอยากเวียนว่ายในวัฎฎะอยุ่แต่ก็มีจิตที่ใฝ่ดี จะอธิษฐานเพื่อประโยชน์ของตนโดยที่ไม่เดือดร้อนผุ้อื่น อย่างเช่น อธิษฐานว่า ขอให้อยุ่เป็นคู่กับคนนี้ (สมมุติน่ะคะ เหมือนเรื่องทางนฤพาน น่ะค่ะที่ ตัวเอกของเรื่องทำบุญมาด้วยกันจึงพบกัน) หรืออธิษฐานแบบทางโลกอย่างอื่นๆๆ ก็คงไม่ผิดใช่ไม๊ค่ะ เพียงแต่ว่า บุคคลนั้นๆก็ยังจะยังไม่ถึงทางสุดท้ายสักที ก็ยังคงต้องมีการเวียนว่ายตายเกิด ต้องสุขต้องทุกข์ตามกรรมของตน ไม่ทราบว่าการเข้าใจอย่างนี้ถูกต้องหรือไม่ค่ะ ขอบคุณค่ะ​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : อสาพติ [ 9 พ.ค. 2546 / 19:06:02 น. ]
    [ IP Address : 203.156.0.2 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 10 : (ดังตฤณ)

    การอธิษฐานนั้นเหมือนกับการโปรแกรมตัวเองไว้ครับคุณอสาพติ
    ถ้าอ้างสัจจะ หรือการกระทำบางอย่างเป็นตัวตั้ง
    เช่น "ขอให้ผลบุญนี้ จงทำให้เราได้ครองคู่กับ... (ระบุชื่อ)"
    อย่างนี้มีผลจริง แต่จะแท้แค่ไหนต้องดูปัจจัยอื่นประกอบ

    ยกตัวอย่างแบบอธิษฐานข้ามชาติ
    เมื่อมีสามีภรรยาไปทูลถามพระพุทธองค์ว่าทำอย่างไรจะได้ครองคู่กันทุกชาติ
    (ตรงความตั้งใจนั้นเองถือว่าเป็นการอธิษฐานอยู่ในตัวเองแล้ว เพราะเป็นความปรารถนาอย่างแรง)
    พระพุทธองค์ตรัสว่าทาน ศีล ภาวนาต้องเสมอกัน
    ถ้าร่วมศึกษาและบำเพ็ญทาน ศีล ภาวนาให้เสมอกัน
    ก็คือเป็นตัวแปรให้การอธิษฐานสำเร็จผล 100%


    สมมุติว่ามีใครนึกอยากจะครองคู่กับผู้ที่ตนชอบใจ
    แล้วไปทำสังฆทานหนึ่งครั้ง ปล่อยนกปล่อยปลาอีกหน
    จากนั้นแอบอธิษฐานเงียบๆฝ่ายเดียวว่าขอให้บุญนี้เป็นปัจจัยไปครองคู่กับคนนั้น
    หรืออธิษฐานคนเดียวแล้วไปฝืนใจให้อีกคนยอมอนุโมทนาทั้งที่ไม่มีความเต็มใจอยู่ก่อน
    อันนี้ก็อาจให้ผลเหมือนกัน แต่น้อย และจะมาในรูปของการหลงรักข้างเดียว

    เท่าที่เคยได้ยิน เล่าให้ฟังแบบเล่นๆนะครับ
    หากใครมีกำลังจิตแรง คือตั้งสัตย์อะไรแล้วทำได้ตามคิดหรือตามที่พูด
    กับทั้งมีโอกาสทำบุญใหญ่กับพระชั้นอริยะ
    พออธิษฐานอะไรมักเกิดผลตามนั้น
    เช่นขอให้ชนะใจใครบางคนสักชาติหนึ่ง
    ก็อาจจะชนะใจเขาได้จริงๆ แต่จะอยู่ด้วยกันแบบไม่มีความสุข
    เพราะไปใช้กำลังบุญบีบบังคับหัวใจเขาโดยเจ้าตัวไม่ยินยอม

    เรื่องของการอธิษฐานนั้นมีตัวแปรอยู่มากมายครับ และมีผลจริงถ้าอ้างบุญที่ทำเป็นสัจจวาจา
    มีพระเกจิบางองค์ที่ท่านพูดเผื่อสัตว์ที่ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกนาน
    ท่านว่าทำบุญแต่ละครั้งควรอธิษฐานกำกับไว้ เพื่อให้ได้เดินทางแบบมีทิศ มีสัญญาณนำร่อง

    โดยส่วนตัวแล้วถ้าหากจะฝึกทำบุญแล้วอธิษฐานกำกับ
    ก็อยากให้อธิษฐานเช่นขอให้พบอริยเจ้า อย่าปรามาสอริยเจ้า ขอให้มีศรัทธาในอริยเจ้าของจริง
    อย่าหลงไปศรัทธานักบวชเก๊หรืออลัชชีเข้าได้
    ขอให้เป็นสัมมาทิฏฐิ ขอให้เป็นคนไม่หลงสติคบคนพาลเป็นมิตร ฯลฯ
    อะไรในทางดีๆที่เข้ากันได้จริงกับนิสัยปัจจุบัน ขอให้อ้างอันนั้นไว้
    จะได้เป็นปัจจัยสำทับบุญกุศลในทางที่ตนถนัดให้รุ่งเรืองยิ่งๆขึ้น


    ส่วนตัวผมนั้นปัจจุบันจะทำบุญเอาปีติสุขล้วนๆ
    แต่ถ้าทำบุญใหญ่มากๆ แล้วนึกอยากอธิษฐาน
    ก็จะอธิษฐานอย่างที่กล่าวไว้แล้วในความเห็นที่ ๑ ครับ​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : ดังตฤณ [ 9 พ.ค. 2546 / 23:00:07 น. ]
    [ IP Address : 202.133.161.11 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 11 : (ตันหยง)

    ต่อไปเวลาทำบุญ จะทำตามที่พี่ตุลย์บอกค่ะ
    ขอให้ กิเลสของข้าพเจ้าจงลดลงด้วยเทอญ
    และมีวันหนึ่งที่ สามารถไปตามทางนิพพานด้วยเทอญ
    ขอบคุณค่ะ
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : ตันหยง [ 10 พ.ค. 2546 / 05:57:14 น. ]
    [ IP Address : 128.252.41.34 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 12 : (kaan)

    ขอบพระคุณ คุณสปาย ผมผิดอย่างแรงที่ไปเขียนเป็น "อธิฐาน" ต้องเป็น "อธิษฐาน" ถูกต้องแล้ว
    และจากผลการค้นหา โดยใช้เครื่องมือ ของลานธรรมนี้ได้มาว่า(มีหลายความหมาย แต่สรุปแล้วอันดับที่๒๕ จะคลุมความหมายได้ดี
    อธิษฐาน
    1.ในทางพระวินัย แปลว่าการตั้งเอาไว้หรือตั้งใจกำหนดเอาไว้คือตั้งเอาไว้เป็นของนั้นๆหรือตั้งใจกำหนด
    เอาไว้ว่าจะใช้เป็นของประจำตัวชนิดนั้นๆ เช่นได้ผ้ามาผืนหนึ่งตั้งใจว่าใช้เป็นอะไรคือจะเป็นสังฆาฏิ อุตตราสงค์
    อันตรวาสก ก็อธิษฐานเป็นอย่างนั้นๆ เมื่ออธิษฐานแล้ว ของนั้นเรียกว่าเป็นของอธิษฐานเช่น เป็นสังฆาฏิอธิษฐาน
    จีวรอธิษฐาน (นิยมเรียกกันว่า จีวรครอง) ตลอดจนบาตรอธิษฐาน ส่วนของชนิดนั้นที่ได้เพิ่มมาอีกหรือเกินจากนั้น
    ไปก็เป็นอติเรก เช่น เป็นอติเรกจีวร อติเรกบาตร, คำอธิษฐาน เช่น ?อิมํ สงฺฆาฏึอธิฏฺฐามิ? (ถ้าอธิษฐานของอื่น ก็
    เปลี่ยนไปตามชื่อของนั้น เช่น เป็น อุตฺตราสงฺคํ, อนฺตราวาสกํ เป็นต้น) 2.ความตั้งใจมั่น, การตัดสินใจเด็ดเดี่ยว, ความ
    มั่นคง เด็ดเดี่ยว แน่วแน่ในทางดำเนินและจุดมุ่งหมายของตน (ข้อ ๘ ในบารมี๑๐),
    ในภาษาไทยมักใช้ในความหมายว่า ความตั้งใจ มุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ความตั้งจิตปรารถนา

    ซึ่งโดยรวมก็คือ การตั้งจิตตั้งใจของตนเองอย่างจริงจัง ซึ่งต้องมีการกระทำในการสร้างเหตุปัจจัยด้วยตนเองให้เกิดผลเช่นนั้นด้วย ไม่ใช่หวังผลดลบันดาลแน่นอน​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : kaan [ 10 พ.ค. 2546 / 21:09:19 น. ]
    [ IP Address : 210.203.183.161 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>




    <TABLE cellSpacing=10 width=700 bgColor=#853a7b border=0><TBODY><TR><TD align=middle width="100%">
    <CENTER><TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2> ความคิดเห็นที่ 13 : (อสาพติ)

    ขอบคุณอีกครั้งค่ะ คุณ ดังตฤณ ได้รับคำอธิบายที่แจ่มแจ้งดี พอที่จะนำไปตอบเพื่อนๆได้แล้วค่ะ ขอบคุณทุกๆๆท่านอีกครั้งค่ะ​
    </TD></TR><TR><TD colSpan=2> จากคุณ : อสาพติ [ 10 พ.ค. 2546 / 21:11:43 น. ]
    [ IP Address : 203.156.1.13 ]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​


    http://www.larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/008776.htm
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 มกราคม 2008
  5. Dennis O

    Dennis O Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 มกราคม 2008
    โพสต์:
    18
    ค่าพลัง:
    +60
    <CENTER>อ ธิ ษ ฐ า น จิ ต - ค ว า ม ตั้ ง ใ จ - จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ใ น ใ จ </CENTER>

    การอธิษฐาน ก็คือการตั้งจิต การตั้งใจมั่น การตั้งจุดมุ่งหมาย ตั้งเป้าหมาย ในใจ เหมือนเป็นการตั้งเข็มทิศของชีวิต เขียนแผนที่ทางเดินที่มุ่งมั่น

    หากว่ากันโดยแก่นธรรมแล้ว เมื่อสรรพสัตว์เห็นทุกข์โทษภัยในวัฏฏสงสาร ก็จะเกิดความเบื่อหน่าย หวาดกลัวต่อทุกข์ ต่อการเวียนว่ายตายเกิด
    ผู้ที่มุ่งออกจากทุกข์ จึงมักมุ่งตั้งจิต ตั้งใจมั่นหรือเรียกว่าอธิษฐานก็ได้ ว่าขอให้ได้พ้นทุกข์ เป็นสำคัญ
    การอธิษฐานหรือตั้งจิต จะทำเมื่อไหร่ก็ได้ ตั้งใจให้มั่น ระลึกถึงอยู่ เนืองๆ ก็ได้ ท่านว่าเหมือนเป็นการสั่งซ้ำย้ำเตือนจิต ตอกตะปูความ ตั้งใจและความมุ่งมั่นให้ลึกลงๆ หนักแน่นขึ้นๆ เรื่อยๆ ไปตามกาล อย่างเช่น ในการจบทานทุกครั้ง หลังการเดินจงกรมนั่งสมาธิทุกครั้ง ในการสวดมนต์ไหว้พระทุกครั้ง และตลอดเวลาเมื่อไหร่ก็ตามที่นึก ถึงเรื่องนี้

    คำอธิษฐาน สำหรับผู้ที่มุ่งพ้นทุกข์ ก็อาจเป็นอะไรสั้นๆ ประโยคเดียว ว่าขอให้
     
  6. xanxus

    xanxus เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    73
    ค่าพลัง:
    +175
    ขอขอบคุณ และ อนุโมทนา กีบพี่ๆทั้งหลายที่ ตอบให้ผมได้รับรู้ ขอรับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...