ทำไม ? ถึงละกิเลสไม่ได้สักที!

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย เสขะ บุคคล, 1 กุมภาพันธ์ 2015.

  1. เสขะ บุคคล

    เสขะ บุคคล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,240
    กระทู้เรื่องเด่น:
    53
    ค่าพลัง:
    +4,021
    ทำไม ? ถึงละกิเลสไม่ได้สักที!

    :mad::'(
     
  2. chyochin

    chyochin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    90
    ค่าพลัง:
    +224
    เป็นธรรมดาครับ ง่ายก็ละกันได้หมดแล้วครับ ต้องใช้ความพยายามต่อไปครับ ผมว่าอย่าไปละเลยครับ รู้ดีกว่าครับ รู้แล้ววางไปเรื่อยๆๆ จะดีขึ้นเองครับ
     
  3. บรา

    บรา สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2014
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +17
    ใช้คำว่า... ขัดเกลา เบากว่า ละ... :cool:
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2015
  4. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    อินทรีย์ยังไม่สมบูรณ์ต้องอาศัยเวลา 100ปีก็ยังถือว่าน้อย. ใจเย็นๆครับกิเลสไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรามันเป็นเพียงผู้มาอาศัย. และมันค่อยๆเข้ามาเป็นเจ้านายเราใช้เราให้ทำตามใจมันทุกอย่าง เราต้องรู้เท่าทันมันโดยใช้สติพิจารณาเมื่อเราเห็นมันเมื่อใดนั้นแหล่ะ เราถึงจะเริ่มขัดใจมันบ้างเริ่มไม่ทำตามมัน ไม่ทำตามมันบ่อยๆกำลังมันจะน้อยลงๆ เมื่อกำลังมันน้อยลง. มรรคจิตซึ่งเป็นสังขารธรรมฝ่ายดีจะเริ่มจัดการกับมันเอง. ตัวเราก็ไม่ใช่ของเราอะไรก็ไม่ใช่ของเราทุกอย่างเป็นไปตามปัจจัย เพียงพยามมีสติระลึกสภาวะธรรมให้ตรงกับความจริงให้ได้มากที่สุด (ระลึกว่าสิ่งนั้นเป็นเพียงสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นอะไรเพียงเกิดขึ้นตั้งอยูดับไปเปลี่ยนแปลงไป ไม่ใช่ตนตนเราเขา)ทำสมาธิให้เกิดขึ้นให้ได้อย่างน้อยสุดปฐมฌาน จุดหมายก็ไม่ไกลเกินฝัน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2015
  5. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    ผมไปเรียนธรรมกับครูบาอาจารย์ ระยะหลัง ๆ ผมสังเกตวิธีการของท่านได้ดังนี้คือ
    ใหม่ ๆ จะชม ให้กำลังใจ ประคับประคองเสมอ ชมไปสอนไป
    ตอนหลัง ขนาบๆๆ ทุบๆๆ อย่างเดียว
    ตอนได้รับคำชม ให้กำลังใจ ใบหน้าก็เบิกบาน ธรรมที่ท่านแสดงช่างไพเราะยิ่งนัก
    ตอนหลังพอท่านเริ่มเปิดของที่ปิด หงายของที่คว่ำให้ หน่อยเดียว เผ่นกันแน่บเลย
    เหลือไม่กี่คน ที่จะรับธรรมท่านได้จริง ๆ ความจริงท่านสอนๆๆ แล้วท่านก็ทดสอบ
    ทดสอบวิธีการเอาตัวรอด วิธีออกจากทุกข์ ว่าออกกันเป็นจริง ๆ หรือยัง
    บางคนกว่าจะคิดได้เป็นปีเลยนะ พวกมาแบบเหนือชั้นเจอบททดสอบแบบนี้เข้า
    บางคนหงายเก๋งไม่เป็นท่า แสดงความอ่อนแอ โกรธ พยาบาท ไม่พอใจ
    พวกตอแหล เจ้าเล่ห์ มารยา กลบทุกข์เก่ง ๆ ไปเจอท่านทีกระเด็นกระดอนหมด
    นี่แหละ ตัวอย่างของเหตุที่ทำให้บรรลุธรรมยากง่ายต่างกันไป
     
  6. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    อุปทานในมรรคที่ถืออยุ่หรือเปล่าหละ

    มรรคเปนฝ่ายสังขตธรรม ปฏิบัตแล้วไม่เคยยกเหน
    มรรคเกิด มรรคดับ มรรคเสื่อม จึงมีเจริญให้ระลึก
    มันก้จะงงนะ มรรคเสื่อม เขาปรากฏ ก้ดันทะลึ่งปิดตา
    เสียดายมรรคที่ถือเอาไปอุปทาน ปฏิภานว่าเจ๋ง

    งงเลย มรรคเสื่อม มรรคดับ ธรรมเขาแสดงธรรมในธรรมให้ดุ

    ดุไม่เปน เฉยเลย
     
  7. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ถ้าอริยะสติไม่เกิด
    มันละไม่ได้หรอกกิเลส มันก็ละได้แต่ปากว่า
    ( หลวงปู่บุญฤทธิ์ ปัณฑิโต)




    อีก วลี

    “ไม่มีใครสอน ผมคิดของผมเอง ไม่มีใครจะไปตั้งใจละกิเลส โลภ โกรธ หลงได้ พระพุทธเจ้าท่านก็ไม่ได้สอนให้ละกิเลส โลภ โกรธ หลง โดยตรง

    (หลวงปู่พุธ ฐานิโย )
    อ่านต่อที่นี่
     
  8. Pattarakorn2010

    Pattarakorn2010 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กันยายน 2014
    โพสต์:
    465
    ค่าพลัง:
    +1,727
    ดูภาพปลงอสุภะ พวกนี้เยอะมันอาจจะช่วยให้ละจากกิเลสได้บ้างนะครับ
    www.mahamodo.com
     
  9. Sriaraya5

    Sriaraya5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    3,079
    ค่าพลัง:
    +12,852
    ลองเปิดใจให้กว้าง แล้วใช้คำพูดที่เป็นบวก
    เราต้องละกิเลสให้ได้ ใจของคุณจะได้เปิดออก(ทำดูนะครับ)
    การใช้คำพูดในทำนองนั้นจะทำให้ใจปิด
     
  10. ตั้งฉาก

    ตั้งฉาก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2013
    โพสต์:
    495
    ค่าพลัง:
    +573
    เพราะยังต้องพัวพันอยู่

    เพราะยังไม่น้อม ไม่โน้ม ไม่โอน สู่พระธรรมคำสอน อย่างแท้จริง
    เพราะยังยึดถือ ในขันธ์5
    เพราะยังไม่วิเวก ไม่วิราคะ ไม่นิโรธ

    เพราะยังไม่เข้าถึง "ไม่เห็นทุกข์ ไม่เห็นเรา"

    จึงยังไม่ปกติ

    จึงยังจิตไม่ผ่องแผ้ว จึงยังศึลให้ไม่บริสุทธิ์ จึงยังทำบาปทั้งปวง จึงยังไม่ทำกุศลให้ถึงพร้อม

    เพราะยังไม่หยุด อันด้วย อวิชชา (ขาดความรู้ + ขาดสภาวะ อันเป็นธรรม)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กุมภาพันธ์ 2015
  11. ปุณฑ์

    ปุณฑ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,692
    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๕ - หน้าที่ 439

    อาฬวกยักษ์ทูลถามว่า
    บุคคลย่อมข้ามโอฆะได้อย่างไร
    บุคคลย่อมข้ามอรรณพได้อย่างไร
    บุคคลย่อมล่วงทุกข์ได้อย่างไร
    ย่อมบริสุทธิ์ได้อย่างไร.

    พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบด้วยพระคาถาว่า
    บุคคลย่อมข้ามโอฆะได้ด้วยศรัทธา
    ย่อมข้ามอรรณพได้ด้วยความไม่ประมาท
    ย่อมล่วงทุกข์ได้ด้วยความเพียร
    ย่อมบริสุทธิ์ได้ด้วยปัญญา.

    ผมจะละกิเลสได้อย่างไร ?
    http://www.dhammahome.com/webboard/topic/7292
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2015
  12. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    [FONT=&quot][FONT=&quot]คำตอบนี้เป็นความหมายเดียวกันกับคำตอบของท่าน[FONT=&quot]พี่นิวรณ์ แต่คนละสำนวน[/FONT][/FONT]

    ผัสสะ[/FONT] > [FONT=&quot]เวทนา [/FONT]> [FONT=&quot]ตัณหา [/FONT]>[FONT=&quot] อุปาทาน [/FONT]>[FONT=&quot] ภพ [/FONT]>[FONT=&quot] ชาติ [/FONT]>[FONT=&quot] ชรา [/FONT]>[FONT=&quot] มรณะ[/FONT]

    [FONT=&quot]เมื่อเกิดผัสสะ ก็จะเกิดเวทนา
    เมื่อมีเวทนาต้องมีสติรู้เท่าทันไม่เข้าไปยึดไม่เข้าไปมีตัณหาอุปาทานในขันธ์
    ให้รู้ว่าเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของของเรา

    ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ ก็จะดับ[/FONT]
     
  13. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    [FONT=&quot]ปัญจขันธสูตร[/FONT]
    [FONT=&quot]ว่าด้วยขันธ์และอุปาทานขันธ์ ๕

    [/FONT]
    [FONT=&quot] [๙๕] พระนครสาวัตถี ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงขันธ์ ๕ และอุปาทานขันธ์ ๕[/FONT]
    [FONT=&quot]เธอทั้งหลายจงฟัง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ขันธ์ ๕ เป็นไฉน[/FONT][FONT=&quot]? ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปอย่างใดอย่าง[/FONT]
    [FONT=&quot]หนึ่ง เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือ[/FONT]
    [FONT=&quot]ประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้. นี้เรียกว่า รูปขันธ์. เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯลฯ สัญญาอย่าง[/FONT]
    [FONT=&quot]ใดอย่างหนึ่ง ฯลฯ สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ฯลฯ วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอดีต อนาคต[/FONT]
    [FONT=&quot]และปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้.[/FONT]
    [FONT=&quot]นี้เรียกว่า วิญญาณขันธ์. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหล่านี้เรียกว่า ขันธ์ ๕.[/FONT]

    [FONT=&quot] [๙๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นไฉน? ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูป[/FONT]
    [FONT=&quot]อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด[/FONT]
    [FONT=&quot]เลวหรือประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้ เป็นไปกับด้วยอาสวะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน.[/FONT]
    [FONT=&quot]นี้เรียกว่า อุปาทานขันธ์คือรูป. [/FONT][FONT=&quot]เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯลฯ สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯลฯ[/FONT]
    [FONT=&quot]สังขารเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ฯลฯ วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง [/FONT][FONT=&quot]เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็น[/FONT]
    [FONT=&quot]ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต อยู่ในที่ไกลหรือใกล้ เป็นไปกับด้วย[/FONT]
    [FONT=&quot]อาสวะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน. นี้เรียกว่า. อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ [/FONT][FONT=&quot]ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหล่านี้[/FONT]
    [FONT=&quot]เรียกว่า อุปาทานขันธ์ ๕.[/FONT]

    http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/v.php?B=17&A=1065&Z=1082
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:EnableOpenTypeKerning/> <w:DontFlipMirrorIndents/> <w:OverrideTableStyleHps/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]-->
     
  14. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    ผู้ไม่เข้าไปหา ย่อมหลุดพ้น

    ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้เข้าไปหา เป็นผู้ไม่หลุดพ้น; ผู้ไม่เข้าไปหา เป็นผู้หลุดพ้น.

    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอารูปตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์
    มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงามไพบูลย์ได้;


    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาเวทนาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์
    มีเวทนา เป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ได้;


    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาสัญญาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์
    มีสัญญาป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้;


    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาสังขารตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้, เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์
    มีสังขาร เป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึง ความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ได้.


    ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า “เรา จักบัญญัติ ซึ่งการมา การไป การจุติ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม
    และความไพบูลย์ของวิญญาณ โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร” ดังนี้นั้น, นี่ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.


    ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ ภิกษุละได้แล้ว;
    เพราะละราคะได้ อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี, วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงาม
    หลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง, เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น, เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง, เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,
    เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.


    ย่อมรู้ชัดว่า “ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว, กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว, กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก” ดังนี้.

    ตามรอยธรรม หน้า ๔๗
    (ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๓/๑๐๕ : คลิกดูพระสูตร
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2015
  15. ABT

    ABT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    232
    ค่าพลัง:
    +1,524
    พระอานนท์ เป็นผู้ใกล้ชิดพระผู้มีพระภาคเจ้ามากที่สุด ตอนพระผู้มีพระภาคเจ้ายังทรงพระชนม์ชีพอยู่ ท่านยังไม่บรรลุพระอรหันต์ แต่เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าดับขันธ์แล้ว พระอานนท์จะเคว้งคว้าง อ้างว้างขนาดไหน ที่ท่านไปนั่งร้องไห้คนเดียวนะท่านเสีัยใจมาก และท่านก็มาเสีัยใจอีกคำรบสองเมื่อ สิ้นจากเสาหลักที่ตนนับถือแล้วยังทำอย่างไรก็ไม่บรรลุพระอรหันต์ ใกล้วันสังคยนาพระไตรปิฏกด้วย กลุ้ม กดดัน ไม่มีทางออก ธรรมไม่ว่าบทไหนก็รู้หมด เพราะตนเป็นพหูสูตรฟ้งธรรมจากพระผู้มีพระภาคเจ้าทุกบท แต่ก็ไม่บรรลุครับ จนวันสุดท้ายตอนเช้าจะทำการสังคยนาฯ แล้ว ก็ยังไม่บรรลุพระอรหันต์ ทรุดตัวนั่งลงอย่างหมดหวัง เฝ้าดูกระแสธรรมที่หลั่งไหลเข้ามาภายในใจ ไม่ยึดติด ไม่ยินดี ปล่อยวาง จนกระแสแห่งธรรมนำท่านบรรลุพระอรหันต์ได้ในที่สุด ครับ ที่ยกเรื่องนี้มานะเพื่อประเปรียบเทียบว่า หากเหนื่อยนัก ก็พักแล้วปล่อยใจไปตามกระแสแห่งธรรมจะพาไป จนถึงที่สุดแล้วจะพบแสงสว่างอย่างที่เราหวังได้ กิเลสอย่างหยาบต้องใช้กำลังเข้าปราบปราม กิเลสอย่างกลางต้องใช้ธรรมถอดถอน กิเลสอย่างละเอียดกระแสแห่งธรรมเพื่อขุดรากถอนโคนให้หมด สุดท้ายแล้วทุกอย่างก็จะราบเป็นหน้ากลอง ไม่มีเขา ไม่มีเรา (ฝากทุกท่านไปคิดครับครูบาอาจารย์หลายท่านได้กล่าวไว้ "สุดท้ายก็ราบเป็นหน้ากลอง ไม่มีอะไร เสมอกันหมดไม่มีหญิง ไม่มีชาย ไม่มีเขา ไม่มีเรา ") ท่านว่าบอกลักษณะของการบรรลุไว้ชัดเจน ไม่เข้าใจหรอกครับ ต้องปฏิบัติถึงขั้นนั้นจะรู้ได้ ขอทุกท่านเจริญในธรรม "ธรรมใดที่ใช้แล้วลดละเลิกกิเลสไม่ได้ แสดงว่าไม่ใช่จริตเรา ไม่ใช่ธรรมผิด เราต้องหาธรรมใหม่มาถอดถอน" ขออนุโมทนาครับ
     
  16. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    ที่ตั้งอยู่ของวิญญาณ (นัยที่ ๒)

    ภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งที่ใช้เป็นพืชมี ๕ อย่าง เหล่านี้.
    ๕ อย่าง เหล่าไหนเล่า ? ๕ อย่าง คือ :-
    (๑) พืชจากเหง้าหรือราก (มูลพีช)
    (๒) พืชจากต้น (ขนฺธพีช)
    (๓) พืชจากตาหรือผล (ผลพีช)
    (๔) พืชจากยอด (อคฺคพีช)
    (๕) พืชจากเมล็ด (พีชพีช)

    ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้า สิ่งที่ใช้เป็นพืช ๕ อย่าง เหล่านี้ ที่ไม่ถูกทำลาย ยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด
    ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี แต่ดิน น้ำ ไม่มี.

    ภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ๕ อย่าง เหล่านั้น จะพึงเจริญงอกงามไพบูลย์ ได้แลหรือ ?
    หาเป็นเช่นนั้นไม่ พระเจ้าข้า !
    ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้า สิ่งที่ใช้เป็นพืช ๕ อย่าง เหล่านี้แหละ ที่ไม่ถูกทำลายยังไม่เน่าเปื่อย ยังไม่แห้งเพราะลมและแดด
    ยังมีเชื้องอกบริบูรณ์อยู่ และอันเจ้าของเก็บไว้ด้วยดี ทั้งดิน น้ำ ก็มีด้วย.

    ภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งที่ใช้เป็นพืช ๕ อย่าง เหล่านั้น จะพึงเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้มิใช่หรือ ?
    อย่างนั้น พระเจ้าข้า !
    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณฐิต๔ อย่าง (รูป เวทนา สัญญา สังขาร) พึงเห็นว่า เหมือนกับ ดิน.
    ภิกษุทั้งหลาย ! นันทิราคะ (ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งความเพลิน) พึงเห็นว่าเหมือนกับ นํ้า.
    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัย พึงเห็นว่าเหมือนกับ พืชสดทั้ง ๕ นั้น.
    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอารูป ตั้ง อยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็นที่ตั้งอาศัย
    มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญงอกงาม ไพบูลย์ได้.

    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอาเวทนา ตั้ง อยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์
    มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้.

    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอาสัญญา ตั้ง อยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์
    มีสัญญาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้.

    ภิกษุทั้งหลาย ! วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอาสังขาร ตั้ง อยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์
    มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปส้องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้.

    ภิกษุทั้งหลาย ! ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างนี้ว่า :-
    เราจักบัญญัติซึ่งการมา การไป
    การจุติ
    (การตาย) การอุบัติ (การเกิด)
    ความเจริญ ความงอกงาม
    และความไพบูลย์ของวิญญาณ
    โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา
    เว้นจากสัญญา และเว้นจากสังขาร
    ดังนี้นั้น
    นี่ไม่ใช่ฐานะที่จักมีได้เลย.

    ภิกษุทั้งหลาย ! ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็นสิ่งที่ภิกษุละได้แล้ว.
    เพราะละราคะได้
    อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง
    ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี
    วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้น ก็ไม่งอกงาม
    หลุดพ้นไป เพราะไม่ถูกปรุงแต่ง
    เพราะหลุดพ้นไป ก็ตั้งมั่น
    เพราะตั้งมั่น ก็ยินดีในตนเอง
    เพราะยินดีในตนเอง ก็ไม่หวั่นไหว
    เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน
    ย่อมรู้ชัดว่า
    ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำได้สำเร็จแล้ว
    กิจอื่นที่จะต้องทำเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีก
    ดังนี้.

    ภพภูมิ หน้า ๑๕
    (ภาษาไทย) ขนฺธ. สํ. ๑๗/๕๔/๑๐๖-๑๐๗. : คลิกดูพระสูตร
     
  17. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    ละความเพลิน จิตหลุดพ้น


    สมฺมา ปสฺสํ นิพฺพินฺทติ
    เมื่อเห็นอยู่โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย

    นนฺทิกฺขยา ราคกฺขโย
    เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ

    จึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ

    ราคกฺขยา นนฺทิกฺขโย
    เพราะความสิ้นไปแห่งราคะ

    จึงมีความสิ้นไปแห่งนันทิ

    นนฺทิราคกฺขยา จิตฺตํ สุวิมุตฺตนฺติ วุจฺจตีติ
    เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิและราคะ
    กล่าวได้ว่า “จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี” ดังนี้
    .


    อินทรียสังวร หน้า ๓๒
    (ภาษาไทย) สฬา. สํ. ๑๘/๑๔๖/๒๔๕-๒๔๖. : คลิกดูพระสูตร
     
  18. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    แปลกดีเหมือนกัล คุงมาย

    ที่รุ้ว่า เปนเรื่องวิงยาง กะดุมเม้ดแรก


    ที่พวกมันอ้างว่า กัดถุก เสะแล้ว ไม่ปลอ่ย

    จิตเกิดดับ บอกไม่มี

    แล้วพวกมังจะเหนไหม จิตเกิดทางตา ดับทางตา

    วิงญานังปักเวทนาตรงไหน ดับตรงนั้น

    อยาตนะเกิดดับ เสือกแช่แป้ง ไม่เกิดไม่ตาย

    ก้ฉิหาย ภาวนาแบบเด้กอนุบาล

    ถอดเสื้อไม่เปน
     
  19. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ทีนี้คุงมาย พอเหนไหม เราจะปล่อยซึ่งจิต
    หายใจเข้า หายใจออก

    ถ้าเหน อย่ามัว ห่วงกระดุมเม้ดแรก

    ให้รุ้ทั่วถึงจิตบันเทิง ที่ไม่ใช่จิตสัดส่าย
    เกิดดับ นั้นมีอยุ่


    กำหนดรุ้ตรงอาการขาดๆ ห่างๆ ไม่ฉวย
    เปน การตามเหนความจางคลาย

    แล้วเฝ้นไปการสลัดคืนไม่เหลือ ครบรอบอานา16


    ทำคล่อง ก้ทำให้มากๆ


    พระพุทธองค์จะตรัสว่า หากจะหวังให้ได้
    ปฐมฌาณ ก้สามารถ


    นะ มาเปนพยานให้กรรมฐานของพระพุทธองค์หน่อย


    ไม่ใช่เอะอะ อานาปานขั้นโน้น ขั้นนี้ พ่องเล่น
    สำเร็จฌาณสี่สองแปดไปโน้น จาติง้าว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2015
  20. ตั้งฉาก

    ตั้งฉาก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2013
    โพสต์:
    495
    ค่าพลัง:
    +573
    ความหมายตรงนี้ลึกซึ้งนัก ต้องเน้นไว้ด้วย

    เมื่อจิตละเอียดขั้นสูงสุด อดึตและอนาคต จะรวมเป็นหนึ่งเดียวกับปัจจุบัน
    ไม่ขึ้นกับเวลาอีกต่อไป อุปาทานทั้งปวงจักสิ้นลง ณ สภาวะนี้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2015

แชร์หน้านี้

Loading...