เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    ในระหว่างวันที่ 19-21 มิถุนายน จะเป็นวันที่มีความสำคัญทางดาราศาสตร์ เกี่ยวข้องกับโลก และดาวพุธ เป็นพิเศษ เป็นช่วงที่โลก และดาวพุธจะเรียงตัวกับทางช้างเผือกเป็นเส้นตรง และโลกจะเข้าสู่ช่วงฤดูร้อน (summer solstice : Summer solstice - Wikipedia, the free encyclopedia) อย่างเป็นทางการ ในช่วงเดียวกันนั้นจะเป็นช่วงที่ดวงจันทร์ อยู่ในแนวตั้งฉากระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ (This month's moon phases and calculator for any day since 1951 | StarDate Online) ในช่วงนี้เองขอให้ทุกท่านสังเกตปฏิกริยาดวงอาทิตย์ เช่นปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลก นอกเหนือจากฤดูกาลตามปกติ เพื่อพิสูจน์ถึงความสัมพันธ์แบบฉับพลัน ระหว่างดวงดาวและสภาพอากาศรอบๆดวงดาวเหล่านั้นครับ
     
  2. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 19 มิถุนายน เวลา 19:24 UT เกิดปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์มากกว่าปกติ เป็นมุมกว้าง ส่งพลังงานออกมาในแนวเดียวกับโลก ในขณะที่รังสี X-ray ที่ตรวจวัดได้อยู่ในระดับ C1 จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 22 มิถุนายน เวลา 23 UT +/- 7 ชั่วโมง ทุกท่านที่สนใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์นี้กับการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลก โปรดติดตามสังเกตุการณ์ได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 23 มิถุนายน ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอปฏิกริยาที่ผิวดวงอาทิตย์ Filament Eruption and Spiraling CME (6/19/2014) - YouTube
    - ปริมาณจุดดับที่ผิวดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - รังสี X-ray ที่วัดได้จากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
    - วิดิโอภาพถ่ายดวงอาทิตย์ เป็นมุมกว้างโดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/06/19/ahead_20140619_cor2_512.mpg
     
  3. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 21 มิถุนายน เวลาประมาณ 4 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติ ส่งเปลวพลังงานออกมาในทิศทางตรงกับโลกทางทิศเหนือ เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นในช่วงที่ปริมาณจุดดับลดลงต่ำสุดในรอบ 2 สัปดาห์ และเป็นช่วงที่ปริมาณรังสี X-ray ลดลงต่ำสุด จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 25 มิถุนายน เวลา 0 UT +/- 7 ชั่วโมง ท่านที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 26 มิถุนายน ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอปฏิกริยาที่ผิวดวงอาทิตย์ในครั้งนี้ (โปรดดูในช่วงวันที่ 21 มิย เวลาระหว่าง 4-10 UT) Helioviewer.org - Solar and heliospheric image visualization tool
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์สู่โลก http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=667651563
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/06/21/ahead_20140621_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/06/21/behind_20140621_cor2_512.mpg
     
  4. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 25 และ 26 มิถุนายน เวลาประมาณ 23 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติ โดยมีแนวพลังงานบางส่วนที่ตรงกับโลก ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และส่งรังสี X-ray ออกมาในระดับ C2 จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 29 มิถุนายน เวลา 0 UT +/- 7 ชั่วโมง ผู้ที่สนใจการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ดังกล่าวโปรดติตดามสังเกตุการณ์ได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 30 มิถุนายน ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายที่ดวงอาทิตย์ในหลายย่ายความถี่ http://www.solarham.net/pictures/update.jpg
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=669240339
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ STEREO
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ
    http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/06/27/behind_20140627_cor2_512.mpg
    - รังสี X-ray ที่วัดได้นอกโลกในช่วงนี้ 3-day GOES X-ray Flux Monitor
     
  5. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    กลายเป็นว่าโลกมีขั้วแม่เหล็ก 4 ขั้ว เหมือนดวงอาทิตย์ ?????

    Swarm mission makes magnetic maps
    By Jonathan Amos
    Science correspondent, BBC News

    [​IMG]
    A field snapshot in June. Reds are strong; blues are weak. The view is dominated by the core contribution

    Swarm 'delivers on magnetic promise'
    Satellites launch to map magnetism
    Mission to sense ocean magnetism
    Europe's Swarm space mission has begun making maps of Earth's magnetic field.

    Data just released shows how the field generated in the planet's liquid outer core varies in strength over the course of a few months.

    Swarm's early assessment appears to support the prevailing view that this magnetic cloak in general is weakening.

    Many experts believe it heralds a flip in the poles, where north becomes south and vice versa, although it would take thousands of years to complete.

    The European Space Agency's Swarm mission was launched last November.

    It comprises three satellites that are equipped with a variety of instruments - the key ones being state-of-the-art magnetometers that measure field strength and direction.

    They fly in a configuration that offsets one platform from the other two.

    The intention is that this should provide a three-dimensional view of the field, and make it easier to tease apart its various components.

    In the release this week from Esa, we get a view that is dominated by the contribution (95%) from the core. But eventually, Swarm will have the sensitivity to describe magnetism from other, more subtle sources, including that generated by the movement of our salt-water oceans

    [​IMG]
    Magnetic field
    Change in the field since January. Reds are a strengthening; blues are a weakening
    The maps on this page use the magnetic unit of a nanoTesla. Earth's field typically has a full strength of some 50,000nT.

    The maps illustrate a snapshot (in June) and the change that occurs through time (January to June). In the latter, field strength is seen to drop over the western hemisphere but rise in other areas, such as the southern Indian Ocean.

    Earth's magnetic field is worthy of study because it is the vital shield that protects the planet from all the charged particles streaming off the Sun.

    Without it, those particles would strip away the atmosphere, just as they have done at Mars.

    Investigating the magnetic field also has direct practical benefits, such as improving the reliability of satellite navigation systems which can be affected by magnetic and electrical conditions high in the atmosphere.

    "I started my career in magnetometry and the accuracy we had then in the laboratories was less than what we can fly in space now," explained Prof Volker Liebig, the director of Earth observation at Esa.

    "So what we have on Swarm is fantastic, but we need long time series to understand fully the Earth's magnetic field, and we will get that from this mission," he told BBC News
    [​IMG]
    The Swarm fly high above the Earth in a configuration that offsets one satellite from a pair of spacecraft

    Jonathan.Amos-INTERNET@bbc.co.uk and follow me on Twitter: @BBCAmos

    http://disaster-situation.blogspot.com/2014/06/esa.html#more
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 มิถุนายน 2014
  6. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 30 มิถุนายน เวลา 17 UT ถึงวันที่ 1 กรกฏาคม เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติเป็นมุมกว้างหลายทิศทาง เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในช่วงที่ปริมาณจุดดับกำลังเพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 2 สัปดาห์ และปริมาณรังสี X-ray อยู่ในระดับ M1 จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 4 กรกฏาคม เวลา 6 UT +/- 7 ชั่วโมง ผู้ที่สนใจโปรดติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ครั้งนี้ได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 5 กรกฏาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ปริมาณรังสี X-ray ที่วัดได้จากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ในครั้งนี้
    http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=670639037
    http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=670477807
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    CACTUS CME Details
    - วิดิโอภายถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ (30 มิถุนายน) http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/06/30/behind_20140630_cor2_512.mpg
    - วิดิโอภายถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ (1 กรกฏาคม) http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/07/01/ahead_20140701_cor2_512.mpg
     
  7. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น·ครับ

    วันที่ 6 กรกฏาคม เวลา 5:48 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติ และพบว่าปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์เพิ่มปริมาณขึ้นสูงสุดในรอบ 3 สัปดาห์ และได้ส่งรังสี X-ray มาที่โลกสูงสุดในระดับ C5 คาดว่าคลื่นพลังงานจากเหตุการณ์ครั้งนี้จะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 9-10 กรกฏาคม ท่านที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 10 กรกฏาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ โดยเห็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณจุดดับในช่วงนี้ http://spaceweather.com/images2014/05jul14/manyspots_anim.gif?PHPSESSID=oembngufv38hhir973jmd6u011
    - ภาพถ่ายมุมกว้างของปฏิกริยาดวงอาทิตย์วันที่ 6 กรกฏาคม มุมมองจากโลก http://www.sidc.oma.be/cactus/out/CME0021/CME.html
    - ภาพถ่ายมุมกว้างของปฏิกริยาดวงอาทิตย์วันที่ 6 กรกฏาคม โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/07/06/behind_20140706_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างของปฏิกริยาดวงอาทิตย์วันที่ 6 กรกฏาคม โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือ
    http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/07/06/ahead_20140706_cor2_512.mpg
    - ปริมาณรังสี X-ray ที่วัดได้จากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
     
  8. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 8 กรกฏาคม เวลา 20:32 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติ เป็นมุมกว้าง โดยมีทิศทางหลักไปทางทิศตะวันออก ด้านเดียวกับโลก เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในช่วงที่ดวงอาทิตย์ ส่งพลังงาน X-ray ออกมาในระดับ M6 จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 11 กรกฏาคม เวลา 0 UT +/- 7 ชั่วโมง ผู้ที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ดังกล่าวได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 12 กรกฏาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ Llamarada Clase M
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ โลกhttp://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/07/08/behind_20140708_cor2_512.mpg
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของคลื่นพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=632038207
    - ปริมาณจุดดับที่ผิวดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
     
  9. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 10 กรกฏาคม เวลา 11 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้างรอบด้าน โดยมีทิศทางหลักออกไปทางทิศตะวันตก ตรงข้ามกับโลก เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในช่วงที่ดวงอาทิตย์ส่งรังสี X-ray สูงสุดในระดับ M1 จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจากเหตุการณ์ครั้งนี้จะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลก เริ่มตั้งแต่วันที่ 12 กรกฏาคม เวลา 18 UT +/- 7 ชั่วโมง จนถึงวันที่ 13 กรกฏาคม เวลา 11 UT ดังนั้นท่านที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงของโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ครั้งนี้ได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 14 กรกฏาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ SOLARHAM.com - CME Tracker
    http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=633740134
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ (โดยประมาณ) http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/07/10/behind_20140710_cor2_512.mpg
    - ปริมาณ X-ray ที่วัดได้จากนอกโลกในช่วงนี้ 3-day GOES X-ray Flux Monitor
     
  10. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 26 กรกฏาคม เวลา 12:36 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติทางทิศตะวันตก ด้านตรงกันข้ามกับโลก เหตุการณ์ครั้งนี้ เกิดขึ้นในช่วงที่ดวงอาทิตย์ส่งรังสี X-ray ออกมาในระดับ C1 และเป็นช่วงที่ปริมาณจุดดับเพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบสัปดาห์ จากโมเดลพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 30 กรกฏาคม เวลา 6 UT +/- 10 ชั่วโมง ผู้ที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ครั้งนี้ ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 31 กรกฏาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - ภาพถ่ายมุมกว้างของปฏิกริยาดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/07/26/ahead_20140726_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างของปฏิกริยาดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/07/26/behind_20140726_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างของปฏิกริยาดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - ปริมาณ X-ray ที่วัดได้จากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
    - ปริมาณจุดดับที่ผิวดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานหลักออกจากดวงอาทิตย์ ของปฏิกริยาดวงอาทิตย์ในครั้งนี้ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=677917874
     
  11. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    ช่วงนี้ติดงาน อาจจะมาอัพเดทให้ช้านะครับ
    -----------------------------------------
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 30 กรกฏาคม เวลา 8 UT เกิดปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้าง โดยมีทิศทางหลัก-ตรงกับโลก- และเป็นช่วงที่ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์เพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 2 สัปดาห์ เหตุการณ์ครั้งนี้มาพร้อมกับปริมาณ X-ray สูงสุดระดับ M1 ในวันที่ 31 กรกฏาคม จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 2 สิงหาคม เวลา 6 UT +/- 7 ชั่วโมง ผู้ที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงของโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 3 สิงหาคมครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=679065661
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/07/30/ahead_20140730_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/07/30/behind_20140730_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก
    http://spaceweather.com/images2014/31jul14/cme_anim.gif?PHPSESSID=mta6igrg30ver2ag324lbvt3k3
    CACTUS CME Details
    - ปริมาณ X-ray จากดวงอาทิตย์ ที่วัดได้จากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
     
  12. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    ประกาศข่าวครับ ในเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างแผ่นดินไหวขนาดใหญ่เกินระดับ 8.0 ขึ้นไป และปฏิกริยาดวงอาทิตย์นั้น มีงานวิจัยและการวัดทางสถิติค้นพบว่ามีความสัมพันธ์กัน จากข้อมูลที่ทำการวัดติดต่อกันมาเป็นเวลา 35 ปีพบว่า แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ (M8+) จะเกิดขึ้นบ่อยในช่วงที่สนามแม่เหล็กที่ดวงอาทิตย์มีการแกว่งตัว โดยเฉพาะในช่วงที่มีค่ามากสุด ต่ำสุด หรือในช่วงที่มีการสลับขั้ว ไม่ว่าจะเป็นแนวสนามแม่เหล็กทางทิศเหนือและทิศใต้ก็ตาม แต่ผลการวิจัยครั้งนี้ยังไม่สามารถบ่งบอกถึงวันที่จะเกิดเหตุได้แน่นอนเนื่องจากข้อมูลสนามแม่เหล็กที่ทำการวัดนั้นเป็นค่าเฉลี่ยในช่วงเวลาทุก 10 วัน รายละเอียดของผลงานวิจัยครั้งนี้ ผู้จัดทำกำลังนำออกมาเผยแพร่ ซึ่งผมจะแจ้งความคืบหน้าให้ทุกท่านทราบต่อไปครับ

    https://docs.google.com/document/d/13m-9vVVnwFOvSO1g9X4239hlJrRuemdBzBVBSQo8lAc/edit
     
  13. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 6 สิงหาคม เวลาประมาณ 9 UT เกิดปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้าง โดยมีทิศทางหลักออกทางไปด้านหลังตรงข้ามกับโลก เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นพร้อมกับปริมาณรังสี X-ray ที่วัดได้ด้านเดียวกับโลกในระดับ C2 และเป็นช่วงที่ปริมาณจุดดับอยู่ในช่วงขาลง จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจากดวงอาทิตย์จะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 10 สิงหาคม เวลา 0 UT +/- 10 ชั่วโมง

    ในช่วงที่มีปฏิกริยาดวงอาทิตย์ครั้งนี้ ก็ยังเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์ (สำหรับดวงอาทิตย์) คือมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ พฤหัส - ในด้านตรงข้ามกับโลก และในวันที่ 8-9 สิงหาคม จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ โลก เป็นเส้นตรง ผู้ที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ครั้งนี้ได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 11 สิงหาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=681205736
    - ปริมาณ X-ray ที่วัดได้จากนอกโลกในช่วงนี้ 3-day GOES X-ray Flux Monitor
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านขวามือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/08/06/behind_20140806_cor2_512.mpg
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2014/08/06/ahead_20140806_cor2_512.mpg
     
  14. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    ช่วงเวลาที่จะเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่บนโลกนั้น (ในบางครั้งก็รวมถึงปฏิกริยาภูเขาไฟปะทุ) ตามสถิติในระยะสั้นแล้วพบว่ามีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของปริมาณจุดดับบนดวงอาทิตย์ โดยเฉพาะในช่วงที่ปริมาณจุดดับมีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในระยะ 1-3 วัน

    ในช่วงระหว่างวันที่ 29 กรกฏาคม ถึง 5 สิงหาคม พศ 2557 ที่ผ่านมา พบว่า แผ่นดินไหวขนาดเกิน 6.6 ขึ้นไป จะเกิดขึ้นในช่วงที่ปริมาณจุดดับมีค่าสูงสูด หรือต่ำสุดตามภาพสถิติด้านล่างนี้ โดยช่วงที่ปริมาณจุดดับมีค่าสูงสุดนั้นจะเป็นช่วงที่มีความน่าจะเป็นสูงที่จะเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่กว่าปกติภายใน 1 วันหลังจากดวงอาทิตย์มีปฏิกริยาสูงสุด ส่วนในช่วงที่ปริมาณจุดดับมีค่าต่ำสุดจะมีแผ่นดินไหวขนาดใหญ่กว่าปกติเกิดขึ้นหน่วงเวลาออกไปภายใน 1-4 วัน

    ทุกท่านที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับภัยธรรมชาติ สามารถใช้ความสัมพันธ์ดังกล่าวข้างต้น เป็นสัญญาณเตือนภัยในภาพรวมของทั้งโลกได้ครับ แต่สัญญาณเตือนภัยในรูปแบบนี้เพียงอย่างเดียวนั้น ไม่เพียงพอที่จะบอกต่ำแหน่งเฉพาะเจาะจงที่เกิดเหตุของแผ่นดินไหวบนโลกได้ จึงต้องอาศัยข้อมูลบนโลกมาประกอบด้วยเพื่อให้ได้สัญญาณเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพสูงมากขึ้นต่อไปในอนาคตครับ

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • low spot.jpg
      low spot.jpg
      ขนาดไฟล์:
      25.8 KB
      เปิดดู:
      1,303
  15. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 8 สิงหาคม เวลา 16:36 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์ เป็นมุมกว้างรอบด้าน โดยมีทิศทางหลักไปทางด้านตรงข้ามกับโลก เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นในช่วงที่ปริมาณรังสี X-ray ระดับ C4 โดยปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ได้เพิ่มขึ้นและลดลงอย่างฉับพลันภายในหนึ่งวัน จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานจะเดินทางมาถึงในแนววงโคจรของโลกในวันที่ 12 สิงหาคม เวลา 12 UT +/- 10 ชั่วโมง

    ในวันที่ 10 สิงหาคม นี้เองยังเป็นช่วงที่ดวงจันทร์จะมีขนาดใหญ่ที่สุดในช่วงฤดูร้อนในปีนี้ถ้ามองจากโลก https://www.bostonglobe.com/news/sc...lace-sunday/FmcfsyNKLbuSbLIYSmVjyL/story.html

    ทุกท่านทีสนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบนโลกที่จะสัมพันธ์กันได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 13 สิงหาคมครับ

    ข้อมฺลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - วิดิโอภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก http://www.sidc.oma.be/cactus/out/CME0017/CME.html
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.ccmc.gsfc.nasa.gov:8080/IswaSystemWebApp/StreamByDataIdServlet?allDataId=682022004
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - รังสี X-ray จากดวงอาทิตย์ ที่วัดได้จากนอกโลก 3-day GOES X-ray Flux Monitor
     
  16. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟส อ.ก้องภพ อยู่เย็น ครับ

    วันที่ 15 สิงหาคม เวลา 18:12 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นมุมกว้างทางทิศเหนือ และมีพลังงานบางส่วนที่มีทิศตรงกับโลก เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นในช่วงที่ปริมาณ X-ray มีค่าสูงสุดในระดับ C2 และจุดดับที่ดวงอาทิตย์มีการขยายตัวอย่างฉับพลัน จากการคำนวณพบว่าคลื่นพลังงานบางส่วนจากดวงอาทิตย์จะเดินทางมาถึงโลกประมาณวันที่ 18 สิงหาคม เวลา 22 UT +/- 7 ชั่วโมง

    ในวันที่ 18 สิงหาคม ยังเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์ คือมีการเรียงตัวระหว่าง โลก ดาวศุกร์ และ ดาวพฤหัส เป็นเส้นตรง ท่านที่สนใจสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงบนโลกที่จะสัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ และ ตำแหน่งของดวงดาวได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 19 สิงหาคม ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์สู่โลก SOLARHAM.com - CME Tracker
    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก CACTUS CME Details
    - แนวดาวเคราะห์เรียงตัวในวันที่ 18 สิงหาคม http://www.truth4thai.org/oldsite/sites/default/files/Alignment_Aug18_14.jpg
    Jupiter And Venus
    - ปริมาณจุดดับที่ดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
    - วิดิโอภาพถ่ายที่ผิวดวงอาทิตย์ในช่วงที่เกิดปฏิกริยาในวันที่ 15-16 สิงหาคม http://spaceweather.com/images2014/...0304.mp4?PHPSESSID=doh10mo3dt34qlc5g8tjq4neh4
     
  17. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    ในภาพมันคืออะไรน่ะ หรือว่าผมจินตนาการไปเอง? (สถานะ: กำลังเมากาแฟอยู่)
    21/08/57 06:30-11:30 น.
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    หมายถึงตรงไหนครับท่าน spammer

    .
     
  19. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    ตรงกลาง กทม. เหมือนมีเมฆเป็นรัศมีวงกว้างขึ้นมา แล้วมีเมฆเป็นเส้นตรงชี้ไปที่ตรงกลางวง เห็นแปลกดีเลยนำมาให้ชมกันครับ

    ลองเข้าไปดู ที่นี่ แล้วกดเล่นภาพเคลื่อนไหวดูครับ (รีบเข้าไปชมก่อนเวปจีนเขาเลื่อนภาพออกไป)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 สิงหาคม 2014
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ขอบคุณครับ

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...