เหตุการณ์ใน-นอกโลก VS ภัยธรรมชาติ และupdate พายุสุริยะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 10 มกราคม 2011.

  1. sunny430

    sunny430 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,299
    ค่าพลัง:
    +5,425
    วันหนึ่งไฟฟ้าจะดับ เเบกระทันหัน เเละ สังคมอาจจะเกิดความวุ่นวายเเบภายในสาม สี่ ชม และ ยิ่งประเทศไทย ระบบส่วนรัฐ ที่เเก้ปัญหาได้ช้าอยู่เเล้ว จะวุ่นวายมากครับ
     
  2. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    Updated 11/9/2013 @ 13:50 UTC
    Solar Update / Aurora Watch


    Good morning. Attached is an updated image of the visible solar disk on Saturday. Solar activity declined to low levels with only minor C-Class activity detected within the past 24 hours. Although in a state of decay, sunspot 1890 remains the largest visible Earth facing region and continues to maintain a Beta-Gamma-Delta magnetic configuration. There will remain a chance for an isolated moderate to strong solar flare within the next 24-48 hours. All other regions remain stable.

    Geomagnetic activity remains elevated near minor storm levels. The solar wind stream is currently above 500 km/s and the Bz component of the interplanetary magnetic field (IMF) did spend several hours pointed sharply south. Visible aurora was reported at high latitudes early this morning. Periods of minor storming will be possible during the next 24 hours while Earth remains under the influence of a Coronal Hole High Speed Stream (CH HSS).

    Proton levels streaming past Earth remain slightly enhanced following the X1 solar flare early Friday. The eruption did generate a coronal mass ejection (CME) with a mostly southward trajectory. A glancing blow impact to our geomagnetic field will be possible within 48-72 hours. A widespread increase in geomagnetic activity is not expected at this time. Stay tuned to www.solarham.com for the most up to date space weather news and information.

    [​IMG]

    [​IMG]
     
  3. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    มี X class อีก 1 ลูกสดๆ ร้อนๆ
    เมื่อ 12.14 น.ตามเวลาในประเทศไทย

    [​IMG]

    space weather บอกว่าเป็น X1
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 พฤศจิกายน 2013
  4. sunny430

    sunny430 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,299
    ค่าพลัง:
    +5,425
    มันถี่ไปแล้วป่าว
     
  5. iamprateep

    iamprateep เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    448
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,685
    "อันนี้แค่ขอความรู้นะครับ" เห็นว่า solar flare มีหลายๆ class
    C, M, X แล้วมากกว่า X มีการจัด class ใว้รึเปล่าครับ? อยากรู้เฉยๆครับ P class รึเปล่า?
    และมันต้องมีข้อมูลทางเทคนิคอย่างไรบ้างครับ ต่างกัน class ละเท่าไหร่กันนะ? ...

    (ช่วงนี้ว่างๆก็อยากหาข้อมูลใว้บ้างครับ เพื่อความรู้น่ะ รบกวนทุกท่านที่รู้ด้วยนะ เพราะยังไม่รู้เรื่องอะไรมาก)


    ... ^^ ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 พฤศจิกายน 2013
  6. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 พฤศจิกายน 2013
  7. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]

    [​IMG]

    ล่าสุดนี่น่าจะเป็น C Class
    CME ก็แรงอยู่แล้ว
    ขอที่ไว้ให้คนแก่ได้สงบๆ บ้างเถอะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 พฤศจิกายน 2013
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ขอเสริมสำหรับท่านที่เพิ่งศึกษา ครับ

    SOLAR FLARE CLASSIFICATION

    [​IMG]

    [​IMG]

    ข้างบน จะเห็นว่า Solar Flare มีแค่ X-Class แต่ปีนี้ ได้มีการบัญญัติ Z-Class ขึ้นมา คงเพราะเห็นว่า ในอดีตเราไม่ได้จำกัดค่าของ X-Class คือ มีค่าได้มากกว่า 9.9 บางท่านคงเคยเห็นตัวเลข X28 หรือ X40 มาแล้ว ข้างล่างเป็นตารางล่าสุด อ้างอิงจาก Wikipedia ครับ

    [​IMG]

    ส่วน P ไม่รวมอยู่ใน Solar-Flare Class แต่เป็น Proton Event หรือ CME ครับ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 พฤศจิกายน 2013
  9. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]

    ยังมีจุดดับอีกหลายจุดที่รอเลื่อนเข้ามาแทน
    จุดปัจจุบันที่ยังแอคทีพอยู่นะครับ ช่วงนี้คง Peak จริงๆ
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  11. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    [​IMG]

    ไป M อีกแล้ว เมื่่อไหร่จะหมดเนี่ย
    ของเดิม Noaa ว่า C7
    ค่า K ก็เพิ่ม เดี๋ยวก็มีอะไรไม่ดีอีก
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 พฤศจิกายน 2013
  12. Jingjoknayork

    Jingjoknayork เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    700
    ค่าพลัง:
    +3,726
    จากเฟซ อ.ก้องภพ อยู่เย็นครับ

    วันที่ 10 พฤศจิกายน เวลา 10 UT เกิดเหตุการณ์ปะทุที่ดวงอาทิตย์ ส่งพลังงานออกมาในทิศทางที่-ตรงกับโลก- เหตุการณ์นี้ยังส่งพลังงานรังสี X-ray ในระดับสูงออกมา ในขณะที่ปริมาณจุดดับที่ผิวดวงอาทิตย์ลดลงจากก่อนหน้านี้ จากการคำนวณพบว่าพลังงานจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 12 พฤศจิกายน เวลา 18:39 UT +/- 6 ชั่วโมง ท่านทีสนใจถึงผลกระทบครั้งนี้ต่อโลกโปรดติดตามได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 13 พฤศจิกายน ครับ

    ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้

    - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ทางด้านซ้ายมือของภาพ http://stereo.gsfc.nasa.gov/browse/2013/11/10/ahead_20131110_cor2_512.mpg
    - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของคลื่นพลังงานมุมกว้าง http://www.solarham.net/archive/nov10_2013_stream.gif
    - ภาพถ่ายที่ดวงอาทิตย์ มุมมองจากโลก http://spaceweather.com/images2013/10nov13/x1_anim.gif?PHPSESSID=3nbhqlimm05jqtkhtbqbdrflk4
    - ตารางคำนวณคาดการณ์พลังงานที่จะเข้ามาตรงกับโลกในช่วงนี้ iNtegrated Space Weather Analysis System ( iSWA ) : iswax : Version 1.14.1 [MHStinger]
    - ปริมาณ X-ray ที่ตรวจวัดได้จากนอกโลกในช่วงนี้ 3-day GOES X-ray Flux Monitor
    - ปริมาณจุดดับดวงอาทิตย์ ESA Daily Sun Spot Number
     
  13. maxttdcv

    maxttdcv เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +760
    อันนี้จริงเท็จแค่ไหนครับ

    [​IMG]


    Piyacheep S. Vatcharobol

    ต้องอ่าน ต้องทราบ ต้องคิดตาม ต้องเตรียมพร้อมให้เสร็จอย่างช้า ๒๕ พฤศขิกายนนี้
    เพราะนอกจากพายุโคตะระสุริยะ ที่กำลังจะเกิดถี่ๆหลายๆลูกแล้ว
    อุกาบาต ที่เป็นอุกาบาตจริง จนต้องเรียกว่า "ฝน"อุกาบาต
    และอุกาบาตที่เกิดดาวเทียมถูกพายุสุริยะทำลายและตกลงสู่โลก
    ที่สมัยก่อนรู้กันในชื่อของ สกายแลป Sky Lab ที่ตกลงสู่โลกเพียงดวงเดียว
    แต่นี่น่าจะมีไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ ดาวเทียม ที่จะต้องตกลงสู่โลก
    หลังดาวหางไอวอนเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ และวกกลับในวันที่ ๒๘ นี้
    แล้วโคจรมาทางวงโคจรของโลก แม้นจะคนละระนาบ แต่อิทธิพลโดนๆ

    ความรุนแรงของโคตะระพายุสุริยะที่จะเกิดขึ้นนั้นประมารไหน
    นักวิชาการนอกคอกหลายท่าน หลายประเทศกล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า
    ทะลุเกิน X จากมาตราวัดทั่วไป A 0.1 ถึง 9.9 แล้วไป B
    B 0.1 ถึง 9.9 แล้วไป C C 0.1 ถึง 9.9 แล้วไป M
    M 0.1 ถึง 9.9 แล้วไป X X 0.1 ถึง 9.9 แล้วไป ......

    เขาว่ามันถึง X 10 ถึง X 20 ซึ่งอาจจะดูเกินจริงไป
    หากเทียบกับข้อมูลที่บันทึกได้แล้วในประวัติศาสตร์มนุษยชาติเพียง ๕๐๐ ปี

    เราลองมาเปรียบเทียบของจริงของ CME เมื่อวันที่ ๑๐ ที่ผ่านมาว่าแรงแค่ไหน?
    X 1.1 มีความแรงเท่ากับ
    หลอดไฟฟ้าขนาด ๑๐๐ วัตต์ จำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หรือ

    ความแรงเท่ากับแผ่นดินไหวขนาด ๙ ริคเตอร์ รวมกัน ๒๕๐ ครั้ง หรือ

    ความแรงเท่ากับพายุเฮริเคนรวมกัน ๕๐๐ ลูก หรือ

    ๒๐,๐๐๐ เท่า ของพลังงานทั้งหมดที่ใช้ทั้งโลกในเวลา ๑ ปี หรือ

    การระเบิดของภูเขาไฟ ๑๐ ล้าน ครั้ง

    แล้้วท่านคิดว่าน่ากลัวไหมครับ??? ป้องกันได้ บรรเทาได้หากจะทำ
    วางแผนการดำเนินชีวิตให้ดี การเมืองวิกฤติจะพากันพินาศล่มจมแล้ว
    มหาภัยธรรมชาติ จากปฏิกิริยาผิดธรรมชาติ กำลังจะเกิดอีก

    เตรียมตัว อาหาร น้ำ ยา พลังงานไฟฟ้าแสงสว่างอย่างน้อย ๓๐ วัน
    สถานที่หลบภัยออกจากชุมชนเมือง ขึ้นเหนือ เพชรบูรณ์ เลย แพร่ น่าน
    ลำปาง(บางส่วน) เชียงใหม่ เชียงราย พะเยาว์ และแม่ฮ่องสอน(บางส่วน)

    ไม่ต้องลงทุนมาก แค่เตรียมคนรู้จัก เพื่อน เพื่อนของเพื่อนรองรับการอพยพไว้
    เตรียมอาหาร น้ำ ยา เสื้อผ้ากันหนาว อาวุธป้องกันตัวไว้ที่ ที่เตรียมไว้
    ศึกษาพุทธศาสนา การทำสมาธิ เจริญสติ อโหสิกรรม ปล่อยว่าง วางลง

    คงไม่เกินความสามารถ หากท่านจะทำใช่ไหมครับ

    NASA Solar Dynamics Observatory (Little SDO) ได้แชร์รูปภาพของ The Sun Today: Solar Facts and Space Weather
    This drives it home! Thank you friends over at The Sun Today: Solar Facts and Space Weather!

    The power output of yesterday's X1.1 solar is ~1 million trillion 100 watt lightbulbs. The total energy is ~250 mag. 9 earthquakes or 500 hurricanes or 20,000 world yearly energy usage or 10 million volcanic eruptions or 10,000 trillion lightning bolts or 1 hundredth of sun's output every sec. credit: NASA/SDO/helioviewer

    https://www.facebook.com/photo.php?...9580931868.198413.327349956868&type=1&theater
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    [​IMG]
     
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    จุดไหนครับ ที่สงสัย

    .
     
  16. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  17. maxttdcv

    maxttdcv เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +760
    ที่ผมเอามาลงครับ ดูเหมือนจะเป็นเรื่องใหญ่มาก ระดับ X 10 ถึง X 20 เลย
     
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ไม่มีใครบอกอนาคตได้ และผมคิดว่าไม่น่าจะรุนแรงมาก ประเทศไทยอยู่แถวศูนย์สูตร ผลกระทบจะน้อย ที่หนักๆ จะเป็นทวีปอเมริกาเหนือ ครับ

    .
     
  19. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ความเห็นของผม วัฎจักรดวงอาทิตย์รอบที่ 24 นี้ ไม่น่าจะรุนแรงมาก เพราะเป็นขาลง หรือ จุดต่ำสุดระหว่างวัฎจักรรอบใหญ่ ( ประมาณ 11-12 รอบของรอบ 11 ปี )

    [​IMG]

    .
     
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ดาวหาง ISON ตอนนี้มีหางสองหาง: นักดาราศาสตร์สมัครเล่นได้เห็นดาวหาง ISON ในมุมที่ดีขึ้น เพราะมันกำลังจะวิ่งเช้าหาดวงอาทิตย์ในวันที่ 28 พฤศจิกายนนี้ เพราะความร้อนของดวงอาทิตย์ และเมื่อความร้อนเพิ่มขึ้น ดาวหางจะสว่างขึ้น และจะปรากฎให้ชัดขึ้นทุกๆ วัน ภาพนี้ถ่ายเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน โดย Michael Jäger of Jauerling Austria แสดงถึงหางคู่ที่สวยงาม

    [​IMG]

    หางข้างหนึ่งคือ หางไอออน ยาวไปด้วยแก๊สไออนที่เกิดขึ้นจากการเป่าออกไปของลมสุริยะ หาง filament ไอออน จะชี้ไปยังฝั่งเกือบจะตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์ อีกหางเป็นหางของฝุ่น คล้ายกับ Hansel and Gretel ที่เวลาไปยังหลงเหลือร่องรอยของหางไว้ ISON จะทิ้งรายของฝุ่นไว้เมื่อมันเคลื่อนผ่านระบบสุริยะ เทียบกับน้ำหนักโมเลกุล น้อยๆ ในหางมัน แต่หางที่เป็นฝุ่นจะน้ำหนักมากและยากกว่าที่ลมสุริยะจะเป่าผ่าน หางที่เป็นฝุ่นเหมือนกับว่าจะยังอยู่แต่จะตกลง แต่หางฝุ่นมันทำให้เราสามารถเห็นวงโคจรของมันและมันจะไม่ไปทิศตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์เหมือนกับหางที่เป็นไอออน

    ตอนนี้ดาวหางกำลังเคลื่อนตัวผ่านกลุ่มดาว Virgo ในทิศตะวันออกก่อนพระอาทิตย์จะขึ้น และมันจะสว่างไหว ในมาตราวัดความสว่างที่ 8 แต่ตอนนี้ยังริบหรี่ที่จะมองได้ด้วยตาเปล่า แต่จะเพิ่มขึ้นหลังจากนี้พอที่จะมองจากสนามหลังบ้านได้ วันที่น่าสนใจคือ ถ้าคุณไปที่กล้องดูดาว GOTO และใส่พิกัดลงไป โดยเฉพาะวันที่ 17 และ 18 เมื่อดาวหางนี้เคลื่อนตัวผ่านดาวที่สว่างไหวชื่อดาว Spica จะเห็นภาพที่สวยงาม


    COMET ISON SPROUTS A DOUBLE TAIL: Amateur astronomers are getting a better look at Comet

    ISON as it dives toward the sun for a Nov. 28th close encounter with solar fire. As the heat rises, the comet brightens, revealing new details every day. This photo, taken Nov. 10th by Michael Jäger of Jauerling Austria, shows a beautiful double tail:

    One tail is the ion tail. It is a thin streamer of ionized gas pushed away from the comet by solar wind. The filamentary ion tail points almost directly away from the sun.

    The other tail is the dust tail. Like Hansel and Gretel leaving bread crumbs to mark their way through the forest, ISON is leaving a trail of comet dust as it moves through the solar system. Compared to the lightweight molecules in the ion tail, grains of comet dust are heavier and harder for solar wind to push around. The dust tends to stay where it is dropped. The dust tail, therefore, traces the comet's orbit and does not point directly away from the sun as the ion tail does.

    Comet ISON is currently moving through the constellation Virgo low in the eastern sky before dawn. Shining like an 8th magnitude star, it is still too dim for naked eye viewing, but an increasingly easy target for backyard optics. Amateur astronomers, if you have a GOTO telescope, enter these coordinates. Special dates of interest are Nov. 17th and 18th when the comet will pass the bright star Spica. Sky maps: Nov. 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 19.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     

แชร์หน้านี้

Loading...