02:00 พายุดีเปรสชัน 02L เคลื่อนที่จากฝั่ง ลงอ่าวเม็กซิโก ใช้ความร้อนจากน้ำทะเล ทวีกำลังกลายเป็นพายุโซนร้อน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 35 น็อต ได้ชื่อว่่า แบรี BARRY 00:30 พายุโซนร้อนหลี่ผี ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 35 น็อต เคลื่อนมาทางตะวันออกของไต้หวัน ทิศทางยังมุ่งญี่ปุ่น
แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ เวลา 07.00 แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ เวลา 13.00 แผนที่อากาศจากกรมอุตุวันนี้ เวลา 13.00
แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS) เมื่อ 16.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ Nei Mongol-Heilongjiang (ตรงรอยต่อ) ประเทศจีน ที่ความลึก 14.80 กม. เมื่อ 14.26 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ หมู่เกาะคุริว ที่ความลึก 146.30 กม. เมื่อ 14.16 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 57.90 กม. เมื่อ 13.27 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 98.00 กม. เมื่อ 13.00 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 35.10 กม. เมื่อ 10.45 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ ตอนกลางของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 10.20 กม. เมื่อ 09.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ San Francisco Bay area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 8.30 กม. เมื่อ 08.49 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ ใกล้ชายฝั่งตะวันออกของ เกาะฮอนชู ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 51.20 กม เมื่อ 08.03 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 18.70 กม. เมื่อ 07.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 บริเวณ Kepulauan Sangihe ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 146.60 กม. เมื่อ 07.02 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.4 บริเวณ สาธารนรัฐโดมินิกัน ที่ความลึก 135.00 กม. เมื่อ 06.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 4.80 กม. เมื่อ 06.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.10 กม. เมื่อ 04.29 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.7 บริเวณ Mendoza ประเทศอาเจนตินา ที่ความลึก 99.50 กม. เมื่อ 03.55 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ Greater Los Angeles area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 2.20 กม. เมื่อ 02.11 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ Greater Los Angeles area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 5.70 กม. เมื่อ 01.48 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 29.00 กม. เมื่อ 01.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 7.00 กม. เมื่อ 00.58 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ เปอร์โตริโก ที่ความลึก 41.00 กม.
รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 21 มิถุนายน 2556 (วันครีษมายัน) เหตุการณ์วันนี้ 23:50 ยอดตายจากน้ำท่วมอินเดีย ใกล้ 600 ศพ หลังพบศพจำนวนมากในรัฐอุตรขัณฑ์ 23:00 พายุโซร้อนเบบินคา เปลี่ยนใจไม่เข้าจีน เอียงลงมาหาเวียดนามอีกครั้ง 22:00 ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา “พายุ “เบบินคา” (BEBINCA) ” ฉบับที่ 3 กดอ่าน 21:00 พายุดีเปรสชันหลี่ผีและพายุโซร้อนเบบินคา แยกย้ายกันเข้าจีนและญี่ปุ่น ด้วยความเร็วลมและเส้นทางพายุตามภาพจาก TSR
17:30 JTWC ประกาศการสลายตัวของพายุดีเปรสชันหลี่ผีแล้ว คงเหลือแต่พายุโซนร้อนเบบินคา 17:00 หมอกควันจากไฟป่าที่อินโดนีเซียยังปกคลุมประเทศสิงค์โปร์อย่างต่อเนื่อง
15:00 ไต้หวันยืนยันการพบผู้ติดเชื้อ H6N1 รายแรก 14:00 พายุดีเปรสชัน 05W ทวีกำลังเป็ฯพายุโซนร้อน ได้ชื่อเรียกว่า เบบินคา ( ชื่อขนมพุดดิงของมาเก๊า) ทาง TSR ปรับเส้นทางพายุอีกครั้ง ดังภาพ
12:30 ผลจากหลุมโคโรนาที่หันมาตรงกับโลกเมื่อ 3-4 วันก่อนหน้านี้ ขณะนี้ลมสุริยะ ทวีความเร็วขึ้นเป็น 492 กม/วินาที เริ่มมีการรบกวนสนามแม่เหล็กโลก ค่า kp เพิ่มไปที่ระดับ 4 ผลของปรากฏการณ์นี้ไม่มีผลต่อเมืองไทย แต่ประเทศในแถบอาร์คติคจะมีโอกาสได้เห็นแสงออโรราสวยๆ
11:00 ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา “พายุ “เบบินคา” (BEBINCA) ” ฉบับที่ 2 กดอ่าน 10:30 ฝนตกหลายเขตใน กทม 10:14 เกิดการปะทุระดับ M2.9 ที่จุดดับหมายเลข 1777 บนดวงอาทิตย์ ประเทศแถบซีกโลกเหนือจะได้เห็นแสงออโรรา 10:00 ทางอุตุนิยมฯของญี่ปุ่นหรือ JMA คำนวนเส้นทางพายุดีเปรสชัน 05W หรือเบบินคา ( ชื่อขนมพุดดิงของมาเก๊า) ว่าจะขึ้นฝั่งด้านตะวันออกเฉียงใต้ของจีน
07:30 พายุดีเปรสชัน 05W ในทะเลจีนใต้ มีแนวโน้มจะเคลื่อนเข้าจีน แทนการขึ้นฝั่งที่เวียดนาม 06:30 พายุโซนร้อนหลี่ผี เคลื่อนที่เลยเกาะไต้หวันแล้ว ลดกำลังลงเป็นดีเปรสชัน กำลังจะเลี้ยวขวา เข้าญี่ปุ่น
05:30 JTWC ประกาศให้สถานะของพายุหลี่ผีสลายตัวแล้ว โดยให้เป็น RMNTS ดังภาพ 05:00 พายุดีเปรสชันแบรี มีแนวโน้มอ่อนตัวลงและสลายตัวในวันนี้ หลังขึ้นฝั่งที่ประเทศเม็กซิโก
04:15 ภาพจากดาวเทียม GOES-13 แสดงตำแหน่งและลักษณะเมฆล่าสุด ของพายุดีเปรสชันแบรีที่เม็กซิโก 04:00 พายุหมุนเขตร้อนทั้ง 3 ลูกลดกำลังลงเป็นดีเปรสชันทั้งหมด โดยมีพิกัดและความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางตามภาพด้านล่างนี้
แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS) เมื่อ 22.46 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 5.90 กม. เมื่อ 22.09 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.7 บริเวณ ทางใต้ของ อลาสกา ที่ความลึก 100.00 กม. เมื่อ 21.08 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.9 บริเวณ ประเทศตองกา ที่ความลึก 24.70 กม. เมื่อ 20.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ Greater Los Angeles area แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 2.70 กม. เมื่อ 19.20 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.1 บริเวณ ทางเหนือของ ประเทศอิตาลี ที่ความลึก 10.00 กม. เมื่อ 19.12 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ ทางเหนือของ ประเทศอิตาลี ที่ความลึก 10.00 กม. เมื่อ 18.05 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.2 บริเวณ นอกชายฝั่ง ประเทศกัวเตมาลา ที่ความลึก 35.00 กม. เมื่อ 17.33 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ ทางเหนือของ ประเทศอิตาลี ที่ความลึก 10.30 กม. เมื่อ 17.14 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ Maine ที่ความลึก 5.00 กม. เมื่อ 17.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.0 บริเวณ Oahu รัฐฮาวาย ที่ความลึก 25.90 กม. เมื่อ 15.30 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ Oregon ที่ความลึก 0.20 กม. เมื่อ 14.31 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.7 บริเวณ หมู่เกาะริวกิว ประเทศญี่ปุ่น ที่ความลึก 37.70 กม. เมื่อ 12.18 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ เมืองซานฮวน Islands Washington ที่ความลึก 9.10 กม. เมื่อ 11.35 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ เมืองซานฮวน Islands Washington ที่ความลึก 11.40 กม. เมื่อ 09.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ คาบสมุทรกัมชัตกา ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 139.90 กม. เมื่อ 07.07 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 106.20 กม. เมื่อ 06.06 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 บริเวณ ตอนกลางของ อลาสกา ที่ความลึก 16.40 กม. เมื่อ 04.21 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 บริเวณ Komandorskiye Ostrova ประเทศรัสเซีย ที่ความลึก 25.50 กม. มื่อ 04.01 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.1 บริเวณ Wyoming ที่ความลึก 5.00 กม. เมื่อ 00.38 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ เกาะฮาวาย รัฐฮาวาย ที่ความลึก 36.30 กม.
รายงานภัยพิบัติประจำวันที่ 22 มิถุนายน 2556 แผ่นดินไหวทั่วโลก ยกเว้นในไทยและใกล้เคียงหากต่ำกว่า M4.5 (จาก USGS) เมื่อ 13.17 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.2 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 50.00 กม. เมื่อ 12.47 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.0 บริเวณ หมู่เกาะโซโลมอน ที่ความลึก 35.10 กม. เมื่อ 12.42 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.2 บริเวณ Lombok ประเทศอินโดนีเซีย ที่ความลึก 10.00 กม. เมื่อ 11.53 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.6 บริเวณ คาบสมุทรแคนาย อลาสกา ที่ความลึก 29.10 กม. เมื่อ 09.54 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.00 กม. เมื่อ 08.56 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.5 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 27.00 กม. เมื่อ 08.41 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 บริเวณ เกาะกวม ที่ความลึก 10.00 กม. เมื่อ 06.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 15.90 กม. เมื่อ 06.15 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.8 บริเวณ ทางใต้ของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 21.40 กม. เมื่อ 05.19 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 บริเวณ เกาะกวม ที่ความลึก 10.80 กม. เมื่อ 05.17 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 2.9 บริเวณ ทางเหนือของ แคลิฟอร์เนีย ที่ความลึก 0.20 กม. เมื่อ 04.04 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 บริเวณ หมู่เกาะเวอร์จิน ที่ความลึก 52.00 กม. เมื่อ 03.51 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.8 บริเวณ แถบเทือกเขาฮินดู คุช ประเทศอัฟกานิสถาน ที่ความลึก 49.90 กม. เมื่อ 03.43 ตามเวลาไทย เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.3 บริเวณ กลุ่มเกาะแอนเดรียน หมู่เกาะอะลูเชียน , อลาสกา ที่ความลึก 23.10 กม.
11:00 ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา “พายุ เบบินคา” ฉบับที่ 6 ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา "พายุ “เบบินคา”" ฉบับที่ 6 ลงวันที่ 22 มิถุนายน 2556 เมื่อเวลา 10.00 น. วันนี้ (22 มิ.ย. 56) พายุโซนร้อน “เบบินคา” (BEBINCA) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน มีศูนย์กลางห่างประมาณ 100 กิโลเมตร ทางตะวันออกของเกาะไหหลำ ประเทศจีน หรือที่ ละติจูด 19.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 111.3 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลาง ประมาณ 65 กม./ชม. และกำลังเคลื่อนที่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือด้วยความเร็วประมาณ 18 กม./ชม. คาดว่า พายุนี้จะเคลื่อนผ่านเกาะไหหลำ และขึ้นฝั่งบริเวณประเทศจีนตอนใต้ในคืนนี้ ต่อจากนั้นจะอ่อนกำลังลง โดยอิทธิพลของพายุนี้ทำให้ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมีฝนเพิ่มมากขึ้นในระยะ 2-3 วันนี้ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้กำลังแรงยังคงพัดปกคลุมทะเลอันดามันตอนบน ประเทศไทย และอ่าวไทย ทำให้ด้านตะวันตกของภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ตอนบนมีฝนเพิ่มขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่งในระยะนี้ สำหรับคลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันตอนบนมีกำลังแรง โดยมีคลื่นสูง 2-3 เมตร ส่วนชายฝั่งภาคตะวันออกมีคลื่นสูง ประมาณ 2 เมตร ขอให้ชาวเรือบริเวณดังกล่าวเพิ่มความระมัดระวังอันตรายในการเดินเรือ และเรือเล็กในทะเลอันดามันตอนบนควรงดออกจากฝั่งต่อไปอีกจนถึงวันที่ 23 มิถุนายน 2556 ไว้ด้วย ประกาศ ณ วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เวลา 11.00 น.
10:32 พายุโซนร้อนเบบินคา เคลื่อนไปถึงเกาะไห่หนานแล้ว [VDO]http://www.youtube.com/watch?feature=player_embedded&v=pDVfbJCxnFk[/VDO]
11:00 ฝุ่นขนาด pm2.5 ล่าสุดทางใต้ของเกาะสิงค์โปร์ ยังสูงในระดับอันตรายยิ่งยวด (นอกจากสวมหน้ากากแล้วต้องสวมแว่นตาด้วย)