หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง และพระคณาจารย์สายต่างๆ (ข้อมูลวัตถุมงคล หน้า 1-8)....

ในห้อง 'ประสบการณ์ เรื่องเล่า' ตั้งกระทู้โดย ทุเรียนทอด, 16 พฤษภาคม 2011.

  1. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    <a href="http://image.ohozaa.com/view2/vWhTzEMjrAlGG5UI" target="_blank"><img border="0" src="http://image.ohozaa.com/i/32c/nKY6tF.JPG" /></a>

    พระองค์นี้เคยลงให้ดูแล้ว แต่ขอนํามาลงเพื่อความต่อเนื่องและจะได้เปรียบเทียบกับพิมพ์จอบข้างบนครับ ในรูปเป็นพระพิมพ์จอบเหมือนกันแต่องค์นี้เป็นเนื้อผงชุบขมิ้น เป็นองค์หลวงปู่นั่งอยู่ในซุ้มใข่ปลาเหมือนกัน

    พระเนื้อดินของท่าน เรียกว่า พระกสิน ครับ หลวงปู่ท่านสวดมนต์เดินจงกรมบริกรรมทั้งหมดครับถ้าดินสุกแล้วท่านจะนำมาไว้ที่ห้องสวดมนต์ท่านจะสวดลายลักษณ์ของพระพุทธเจ้าตลอดถึงพระคาถาและบทสวดต่างๆมากมายเลยครับสำหรับพระยุคแรกๆของท่าน

    นะมะภะทะจะภะกะสะนะโมพุทธายะนะชาลีติพุทธคุณังธัมมะคุณังสังฆคุณังสะระนังคัจฉามิ พระคาถาหลวงปู่พิศดู ไว้สวดเสกกำกับ พระกสิน. เวลาเราสวมใส่เห็นหน้าใครต้องการผูกมิตรทำจิตใจให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม. เมกะมุอุ. ครับ. หลวงปู่เคยกล่าวไว้ว่า การบูชาพระพุทธเจ้านำมาชื่งเดชเดชาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระธรรมเจ้านำมาซึ่งปัญญาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระสงฆ์เจ้านำมาซึ่งทรัพย์อันยิ่งใหญ่ ครับ. พระผงกรรมมัฏฐาน ยุคแรกๆของท่านสามารถใช้มือกำภาวนาได้ครับ คาถากำกับ พระขมิ้นเสกต่าง มิตติ จิตติ จิตติ มิตติ นะชาลีติ นโมพุทธายะ. (ทำไมหลวงปู่ถึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระครับ. เหตุผล. พระเวลาบวชต้องห่มเหลืองสมัยก่อนเขาใช้ขมิ้นย้อมผ้า. ขมิ้นเหลืองดั่งทองคำมิผันแปรเหมือนดั่งทองคำ. ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ท่านจึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระเสมอๆครับ. ) หลวงปู่เสกพระด้วยบทกรรมมัฏฐานทั้งสิ้น เช่นสวดพิจารณาอาการ32 เกสา โลมา.........มัตถะลุงคันติสาคะลังและอื่นๆ คาถาพระปัจเจกก็ใช้สวดด้วยสมัยก่อนท่านสวดทุกเช้าศิษย์เก่ารู้ดีครับ
     
  2. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    <a href="http://image.ohozaa.com/view2/vWhXXcuIEAC3I9UY" target="_blank"><img border="0" src="http://image.ohozaa.com/i/31a/MgjRbm.JPG" /></a>

    องค์นี้ก็เคยลงไปแล้วครับ นํากับมาลงให้ดูอีกทีเพื่อความต่อเนื่อง ในรูปเป็นแบบลองพิมพ์ก่อนที่จะดัดแปลงและแก้แบบบางส่วนและทําให้เกิดพิมพ์ที่ส่วนคล้ายกันหลายพิมพ์ครับ แต่ถึงจะเป็นองค์ลองพิมพ์แต่ก็ใส่มวลสารเยอะมากแบบในรูปซึ่งก็ยังไม่มีการตัดปีกครับ

    พระเนื้อดินของท่าน เรียกว่า พระกสิน ครับ หลวงปู่ท่านสวดมนต์เดินจงกรมบริกรรมทั้งหมดครับถ้าดินสุกแล้วท่านจะนำมาไว้ที่ห้องสวดมนต์ท่านจะสวดลายลักษณ์ของพระพุทธเจ้าตลอดถึงพระคาถาและบทสวดต่างๆมากมายเลยครับสำหรับพระยุคแรกๆของท่าน

    นะมะภะทะจะภะกะสะนะโมพุทธายะนะชาลีติพุทธคุณังธัมมะคุณังสังฆคุณังสะระนังคัจฉามิ พระคาถาหลวงปู่พิศดู ไว้สวดเสกกำกับ พระกสิน. เวลาเราสวมใส่เห็นหน้าใครต้องการผูกมิตรทำจิตใจให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม. เมกะมุอุ. ครับ. หลวงปู่เคยกล่าวไว้ว่า การบูชาพระพุทธเจ้านำมาชื่งเดชเดชาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระธรรมเจ้านำมาซึ่งปัญญาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระสงฆ์เจ้านำมาซึ่งทรัพย์อันยิ่งใหญ่ ครับ. พระผงกรรมมัฏฐาน ยุคแรกๆของท่านสามารถใช้มือกำภาวนาได้ครับ คาถากำกับ พระขมิ้นเสกต่าง มิตติ จิตติ จิตติ มิตติ นะชาลีติ นโมพุทธายะ. (ทำไมหลวงปู่ถึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระครับ. เหตุผล. พระเวลาบวชต้องห่มเหลืองสมัยก่อนเขาใช้ขมิ้นย้อมผ้า. ขมิ้นเหลืองดั่งทองคำมิผันแปรเหมือนดั่งทองคำ. ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ท่านจึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระเสมอๆครับ. ) หลวงปู่เสกพระด้วยบทกรรมมัฏฐานทั้งสิ้น เช่นสวดพิจารณาอาการ32 เกสา โลมา.........มัตถะลุงคันติสาคะลังและอื่นๆ คาถาพระปัจเจกก็ใช้สวดด้วยสมัยก่อนท่านสวดทุกเช้าศิษย์เก่ารู้ดีครับ
     
  3. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    ฝันดีมากเลยนะครับ ผมยังไม่มีบุญเห็นการสร้งพระกสินเลย เดี๋ยวจะรบกวน pm ไปถามเป็นการส่วนตัว จะได้เอามาเทียบเคียงกับข้อมูลของคณะผู้สร้างนะครับ ว่าแต่พระกสินพิมพ์ที่ได้ไปเป็นพิมพ์ใหนครับ พอจะบอกได้หรือเปล่า (deejai)
     
  4. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    <a href="http://image.ohozaa.com/view2/vWjlL7to5wsxIWyI" target="_blank"><img border="0" src="http://image.ohozaa.com/i/51f/2g0rnK.JPG" /></a>

    พระกสินเนื้อดินผสมผง ทรงกลมหรือพิมพ์จันทร์ลอยก็ได้เนื้อนี้เป็นเนื้อมามาตราฐานของพระกสินครับ องค์นี้เลี่ยมเก่ามาแต่เดิมครับไม่รู้มีอะไรดีหรือเปล่าเพราะเลี่ยมใช้สมัยนั้นขึ้นคอ

    พระเนื้อดินของท่าน เรียกว่า พระกสิน ครับ หลวงปู่ท่านสวดมนต์เดินจงกรมบริกรรมทั้งหมดครับถ้าดินสุกแล้วท่านจะนำมาไว้ที่ห้องสวดมนต์ท่านจะสวดลายลักษณ์ของพระพุทธเจ้าตลอดถึงพระคาถาและบทสวดต่างๆมากมายเลยครับสำหรับพระยุคแรกๆของท่าน


    นะมะภะทะจะภะกะสะนะโมพุทธายะนะชาลีติพุทธคุณังธัมมะคุณังสังฆคุณังสะระนังคัจฉามิ พระคาถาหลวงปู่พิศดู ไว้สวดเสกกำกับ พระกสิน. เวลาเราสวมใส่เห็นหน้าใครต้องการผูกมิตรทำจิตใจให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม. เมกะมุอุ. ครับ. หลวงปู่เคยกล่าวไว้ว่า การบูชาพระพุทธเจ้านำมาชื่งเดชเดชาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระธรรมเจ้านำมาซึ่งปัญญาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระสงฆ์เจ้านำมาซึ่งทรัพย์อันยิ่งใหญ่ ครับ. พระผงกรรมมัฏฐาน ยุคแรกๆของท่านสามารถใช้มือกำภาวนาได้ครับ คาถากำกับ พระขมิ้นเสกต่าง มิตติ จิตติ จิตติ มิตติ นะชาลีติ นโมพุทธายะ. (ทำไมหลวงปู่ถึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระครับ. เหตุผล. พระเวลาบวชต้องห่มเหลืองสมัยก่อนเขาใช้ขมิ้นย้อมผ้า. ขมิ้นเหลืองดั่งทองคำมิผันแปรเหมือนดั่งทองคำ. ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ท่านจึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระเสมอๆครับ. ) หลวงปู่เสกพระด้วยบทกรรมมัฏฐานทั้งสิ้น เช่นสวดพิจารณาอาการ32 เกสา โลมา.........มัตถะลุงคันติสาคะลังและอื่นๆ คาถาพระปัจเจกก็ใช้สวดด้วยสมัยก่อนท่านสวดทุกเช้าศิษย์เก่ารู้ดีครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 มีนาคม 2012
  5. หอยสังข์

    หอยสังข์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มกราคม 2011
    โพสต์:
    774
    ค่าพลัง:
    +7,662
    กราบหลวงปู่พิศดูและครูบากฤษดา บรมครูผู้เมตตาศิทย์และสวัสดีสมาชิกทุกท่านครับ วันเวลาผ่านไปเร็วเหลือเกิน อีกไม่นานก็จะครบปีหนึ่งพอดี ที่หลวงปู่พิศดูท่านละสังขาร ผมยังจำภาพหลวงปู่ได้ดีในความทรงจำและความเมตตาของหลวงปู่ที่เมตตาศิทย์ไม่เคยลืมคิดถึงท่านก็มีความสุขแล้วคำสอนของปู่จะอยู่กับศิทย์และจะจำใส่หัวและจะพยายามทำตามคำสอนของปู่ตลอดไป อยากให้หลวงปู่ท่านอยู่โปรดศิทย์นานแต่ก็ถึงเวลาที่ท่านต้องละสังขารไปแต่ท่านยังคงอยู่กับศิทย์ทุกคนและยังคงโปรดศิทย์ท่านเสมอผมมีความเชื่อมั่นอย่างนั้นเต็มร้อยครับ ด้วยความระฤกถึงเสมอ
     
  6. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    <a href="http://image.ohozaa.com/view2/vWqxReT9ZolSGXpm" target="_blank"><img border="0" src="http://image.ohozaa.com/i/3c9/zONGiU.JPG" /></a>

    องค์นี้ก็เลี่ยมเก่ามาแต่เดิมครับ เป็นพระกสินที่สร้างยุคเดียวกับพิมพ์กลมข้างบน และเป็นชุดที่อยู่กับองค์หลวงปู่นานที่สุดเพราะได้นําแจกตอนนํ้าท่วม


    พระเนื้อดินของท่าน เรียกว่า พระกสิน ครับ หลวงปู่ท่านสวดมนต์เดินจงกรมบริกรรมทั้งหมดครับถ้าดินสุกแล้วท่านจะนำมาไว้ที่ห้องสวดมนต์ท่านจะสวดลายลักษณ์ของพระพุทธเจ้าตลอดถึงพระคาถาและบทสวดต่างๆมากมายเลยครับสำหรับพระยุคแรกๆของท่าน

    นะมะภะทะจะภะกะสะนะโมพุทธายะนะชาลีติพุทธคุณังธัมมะคุณังสังฆคุณังสะระนังคัจฉามิ พระคาถาหลวงปู่พิศดู ไว้สวดเสกกำกับ พระกสิน. เวลาเราสวมใส่เห็นหน้าใครต้องการผูกมิตรทำจิตใจให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม. เมกะมุอุ. ครับ. หลวงปู่เคยกล่าวไว้ว่า การบูชาพระพุทธเจ้านำมาชื่งเดชเดชาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระธรรมเจ้านำมาซึ่งปัญญาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระสงฆ์เจ้านำมาซึ่งทรัพย์อันยิ่งใหญ่ ครับ. พระผงกรรมมัฏฐาน ยุคแรกๆของท่านสามารถใช้มือกำภาวนาได้ครับ คาถากำกับ พระขมิ้นเสกต่าง มิตติ จิตติ จิตติ มิตติ นะชาลีติ นโมพุทธายะ. (ทำไมหลวงปู่ถึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระครับ. เหตุผล. พระเวลาบวชต้องห่มเหลืองสมัยก่อนเขาใช้ขมิ้นย้อมผ้า. ขมิ้นเหลืองดั่งทองคำมิผันแปรเหมือนดั่งทองคำ. ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ท่านจึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระเสมอๆครับ. ) หลวงปู่เสกพระด้วยบทกรรมมัฏฐานทั้งสิ้น เช่นสวดพิจารณาอาการ32 เกสา โลมา.........มัตถะลุงคันติสาคะลังและอื่นๆ คาถาพระปัจเจกก็ใช้สวดด้วยสมัยก่อนท่านสวดทุกเช้าศิษย์เก่ารู้ดีครับ
    __________________
     
  7. จันท์คับ

    จันท์คับ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    3,334
    ค่าพลัง:
    +11,056
    กราบหลวงปู่พิศดู สวัสดีพี่ๆทุกท่านครับ แวะมาติดตามเช่นเคยครับ:cool:
     
  8. จันท์คับ

    จันท์คับ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    3,334
    ค่าพลัง:
    +11,056
    สวยงามครับ ศิลปะการเลี่ยมเก่าได้ใจ คลาสสิคดีจริงๆครับ ชอบมากๆ(good)
     
  9. ปัทมินทร์

    ปัทมินทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    467
    ค่าพลัง:
    +1,393
    องค์ท่านพ่ออุปคุต และองค์หลวงปู่พิศดู ท่านตามดูคุ้มครองลูกศิษย์ลูกหาทั้งแดนใกล้ไกลของท่านตลอดเวลาครับ เมื่อระลึกแบบนี้ จิตใจของเราก็จะไม่เสี่ยงคิดไปในอกุศลกรรม ยามใดที่จิตใจเราใฝ่ไปในการที่ถูกต้องดีงาม องค์ครูบาอาจารย์ท่านคงอนุโมทนาอวยพรให้

    ขอให้เก็บรักษาของขวัญที่องค์หลวงปู่ได้ฝากไว้ให้แก่พวกเรากันอย่างดีนะครับ กราบไหว้บูชาทุกเช้า-ค่ำ สิ่งร้ายจะไม่มากล้ำกลาย สิ่งดีๆจะมีแก่ทุกท่านตลอดไป
     
  10. นายน้ำ5

    นายน้ำ5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    1,159
    ค่าพลัง:
    +7,287
    งดงามเหลือเกินบรรยายครับ มวลสารเข้มข้นมากครับท่านแฝงจันทร์
     
  11. นายน้ำ5

    นายน้ำ5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    1,159
    ค่าพลัง:
    +7,287
    กลิ่นกายของหลวงปู่ท่านไม่ทราบว่ากลิ่นคล้ายประคำที่หลวงปู่คล้องคอไว้แจกหรือเปล่าครับ(ผูกด้ายสีเหลืองๆน่าจะเป็นไหม แต่ไม่ได้หอมจากไหมนะครับ) หอมอ่อนๆ เวลาเหนื่อยๆท้อๆเอามาดมแล้วมีแรงใจสู้ต่อครับ
     
  12. เด็กไทรน้อย

    เด็กไทรน้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 เมษายน 2008
    โพสต์:
    3,259
    ค่าพลัง:
    +4,327
    ยันต์คล้ายๆองค์พระรึเปล่าครับยันต์ที่ลงหลังองค์พระนี้เป็นตำรับของหลวงปู่ท่านหรือว่าศิษย์ท่านทำกันมาครับ
     
  13. เพียรมีสติ

    เพียรมีสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กันยายน 2011
    โพสต์:
    43
    ค่าพลัง:
    +619
    [FONT=&quot][FONT=&quot][/FONT][/FONT]
    ตามอ่านข้อความกระทู้ ของหลาย ๆ ท่านแล้ว ได้ความรู้เพิ่มเติมมากมายเลยค่ะ ทั้งเรื่อง การตักบาตรพระอุปคุต ที่ไม่เคยทราบมาก่อน เรื่องของหลวงปู่พิศดู โดยคุณทุเรียนทอด และเหล่าศิษย์ ของหลวงปู่ท่านอื่น ๆ ความรู้เรื่องพระเครื่องรุ่นเก่าของหลวงปู่พิศดู โดยท่านแฝงจันทร์ ไม่ทราบว่า บ้านของท่านแฝงจันทร์ อยู่ที่ใดกันคะ..เผื่อจะมีคนตามแอบไปซุ่มดู... อ่ะล้อเล่นค่ะ...
    และที่สำคัญ !! หนูจะเป็นอีกหนึ่งเสียงที่ช่วยอธิษฐาน และขอร้องให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ให้พระอินทร์ เทพ หรือเทวดาดลใจ ให้คนที่นำอัฐิธาตุ ส่วนที่เป็นเศียรเกล้า ทั้งหมด ของหลวงปู่กลับมาคืน ยังวัดเทพธารทอง ไว ๆ ค่ะ สาธุ catt7
    <!--[if gte vml 1]><v:shapetype id="_x0000_t75" coordsize="21600,21600" o:spt="75" o:preferrelative="t" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" filled="f" stroked="f"> <v:stroke joinstyle="miter"/> <v:formulas> <v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"/> <v:f eqn="sum @0 1 0"/> <v:f eqn="sum 0 0 @1"/> <v:f eqn="prod @2 1 2"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @0 0 1"/> <v:f eqn="prod @6 1 2"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="sum @8 21600 0"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @10 21600 0"/> </v:formulas> <v:path o:extrusionok="f" gradientshapeok="t" o:connecttype="rect"/> <o:lock v:ext="edit" aspectratio="t"/> </v:shapetype><v:shape id="_x0000_i1025" type="#_x0000_t75" alt="" style='width:33.75pt; height:29.25pt'> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\Nui\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.jpg" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/pp01p.JPG"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]--><!--[endif]--><!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1026" type="#_x0000_t75" alt="" style='width:60pt;height:58.5pt'> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\Nui\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image002.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/e7c3916b5ac0a931759f580tg7.gif"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]--><!--[endif]--><o:p></o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:shapetype id="_x0000_t75" coordsize="21600,21600" o:spt="75" o:preferrelative="t" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" filled="f" stroked="f"> <v:stroke joinstyle="miter"/> <v:formulas> <v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"/> <v:f eqn="sum @0 1 0"/> <v:f eqn="sum 0 0 @1"/> <v:f eqn="prod @2 1 2"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @0 0 1"/> <v:f eqn="prod @6 1 2"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="sum @8 21600 0"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @10 21600 0"/> </v:formulas> <v:path o:extrusionok="f" gradientshapeok="t" o:connecttype="rect"/> <o:lock v:ext="edit" aspectratio="t"/> </v:shapetype><v:shape id="_x0000_i1025" type="#_x0000_t75" alt="" style='width:33.75pt; height:29.25pt'> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\Nui\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.jpg" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/pp01p.JPG"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]--><!--[endif]--><!--[if gte vml 1]><v:shape id="_x0000_i1026" type="#_x0000_t75" alt="" style='width:60pt;height:58.5pt'> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\Nui\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image002.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/e7c3916b5ac0a931759f580tg7.gif"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]--><!--[endif]--><o:p></o:p>
     
  14. ทุเรียนทอด

    ทุเรียนทอด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,329
    ค่าพลัง:
    +57,981

    ก็อาจจะเป็นยันต์ของหลวงปู่ท่านเองหละครับ เพราะเท่าที่เคยเห็นหลวงปู่ท่านเขียนยันต์ ก็เห็นท่านตั้งยันต์องค์พระอยู่ครับ
     
  15. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    ขอบคุณสําหรับคําชมครับ ยังงั้นก็ขอลงพระกสินแบบเลี่ยมเก่าอีกองค์ครับ

    <a href="http://image.ohozaa.com/view2/vWyMZKuBqnuwchl6" target="_blank"><img border="0" src="http://image.ohozaa.com/i/d91/cSqxs.JPG" /></a>

    ในรูปเป็นพระกสิน พิมพ์พระสาม พระพิมพ์ศิลปะนี้ประกออบด้วยพระพุทธรูปสามองค์นั่งเรียงกัน องค์กลางมีขนาดใหญ่กว่า องค์ด้านข้าง คิดว่าน่าจะเอาพระกรุมาถอดพิมพ์อีกทีครับ มวลสารและเนื้อพระจะเป็นแบบเดียวกับชุดที่แจกนํ้าท่วมครับ ทํายุคเดียวกัน


    พระเนื้อดินของท่าน เรียกว่า พระกสิน ครับ หลวงปู่ท่านสวดมนต์เดินจงกรมบริกรรมทั้งหมดครับถ้าดินสุกแล้วท่านจะนำมาไว้ที่ห้องสวดมนต์ท่านจะสวดลายลักษณ์ของพระพุทธเจ้าตลอดถึงพระคาถาและบทสวดต่างๆมากมายเลยครับสำหรับพระยุคแรกๆของท่าน

    นะมะภะทะจะภะกะสะนะโมพุทธายะนะชาลีติพุทธคุณังธัมมะคุณังสังฆคุณังสะระนังคัจฉามิ พระคาถาหลวงปู่พิศดู ไว้สวดเสกกำกับ พระกสิน. เวลาเราสวมใส่เห็นหน้าใครต้องการผูกมิตรทำจิตใจให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม. เมกะมุอุ. ครับ. หลวงปู่เคยกล่าวไว้ว่า การบูชาพระพุทธเจ้านำมาชื่งเดชเดชาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระธรรมเจ้านำมาซึ่งปัญญาอันยิ่งใหญ่ การบูชาพระสงฆ์เจ้านำมาซึ่งทรัพย์อันยิ่งใหญ่ ครับ. พระผงกรรมมัฏฐาน ยุคแรกๆของท่านสามารถใช้มือกำภาวนาได้ครับ คาถากำกับ พระขมิ้นเสกต่าง มิตติ จิตติ จิตติ มิตติ นะชาลีติ นโมพุทธายะ. (ทำไมหลวงปู่ถึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระครับ. เหตุผล. พระเวลาบวชต้องห่มเหลืองสมัยก่อนเขาใช้ขมิ้นย้อมผ้า. ขมิ้นเหลืองดั่งทองคำมิผันแปรเหมือนดั่งทองคำ. ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ท่านจึงนำขมิ้นมาบดผสมทำพระเสมอๆครับ. ) หลวงปู่เสกพระด้วยบทกรรมมัฏฐานทั้งสิ้น เช่นสวดพิจารณาอาการ32 เกสา โลมา.........มัตถะลุงคันติสาคะลังและอื่นๆ คาถาพระปัจเจกก็ใช้สวดด้วยสมัยก่อนท่านสวดทุกเช้าศิษย์เก่ารู้ดีครับ
     
  16. แฝงจันทร์

    แฝงจันทร์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,108
    ค่าพลัง:
    +8,855
    ขอบคุณครับ พระกสินส่องกี่ทีก็ไม่เบื่อครับ มีมิติๆ :cool::cool:
     
  17. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,567
    ค่าพลัง:
    +30,871
    หวัดดีท่านเจ้าของกระทู้และสมาชิกทุกท่านครับ
     
  18. ดินระเบิด

    ดินระเบิด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,087
    ค่าพลัง:
    +8,702
    กราบนมัสการหลวงปู่พิศดู
    สวัสดีครับคุณทุเรียนทอด คุณbat119 คุณแฝงจันทร์ คุณเด็กไทรน้อย คุณนายน้ำ 5 คุณพลศิริ คุณแกงส้ม พี่ๆเพื่อนสมาชิกทุกๆคนครับ

    ผมเองก็เข้ามาอ่านกระทู้อยู่เรื่อยๆครับ ตอนนี้ก็ต้องคอยอ่านเรื่องเล่าประสบการณ์ต่างๆของหลวงปู่ ที่พี่ๆเพื่อนๆนำข้อมูลดีๆมาให้อ่านกันครับ
    และต้องขอขอบคุณพี่ๆเพื่อนๆทุกๆคนครับcatt9catt9catt9
     
  19. สันติภาพ999

    สันติภาพ999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    2,885
    ค่าพลัง:
    +2,229
    ขอสอบถาม พี่เเฝงจันทร์หน่อยครับ เพิ่งเช่ามาครับ ใช้ของหลวงปู่รึเปล่าครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC_0002-2.jpg
      DSC_0002-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      93.5 KB
      เปิดดู:
      124
    • DSC_0004-2.jpg
      DSC_0004-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      119.4 KB
      เปิดดู:
      68
    • DSC_0005-2.jpg
      DSC_0005-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      119.2 KB
      เปิดดู:
      76
  20. สันติภาพ999

    สันติภาพ999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    2,885
    ค่าพลัง:
    +2,229
    องค์ที่ 2 ถึง องค์ที่ 6
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC_0006-2.jpg
      DSC_0006-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      114.3 KB
      เปิดดู:
      93
    • DSC_0008-2.jpg
      DSC_0008-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      115 KB
      เปิดดู:
      84
    • DSC_0009-2.jpg
      DSC_0009-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      88.8 KB
      เปิดดู:
      86
    • DSC_0010-2.jpg
      DSC_0010-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      79.1 KB
      เปิดดู:
      89
    • DSC_0011-2.jpg
      DSC_0011-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      79.3 KB
      เปิดดู:
      86
    • DSC_0012-2.jpg
      DSC_0012-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74.4 KB
      เปิดดู:
      80
    • DSC_0013-2.jpg
      DSC_0013-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74.4 KB
      เปิดดู:
      81
    • DSC_0014-2.jpg
      DSC_0014-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      97.3 KB
      เปิดดู:
      81
    • DSC_0015-2.jpg
      DSC_0015-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      96.3 KB
      เปิดดู:
      84
    • DSC_0016-2.jpg
      DSC_0016-2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      87.8 KB
      เปิดดู:
      77

แชร์หน้านี้

Loading...