!!! จับตาพายุลูกใหม่ ที่กำลังก่อตัว ณ ขณะนี้ !!!

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 25 มกราคม 2007.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    "พายุสุริยะ" เรื่องนอกโลกที่ใกล้ตัว

    "พายุสุริยะ" เรื่องนอกโลกที่ใกล้ตัว<!-- [​IMG] [​IMG] ภายใต้กระบวนการผลิตพลังงานอันร้อนแรงแห่งดาวฤกษ์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ แกนดวงอาทิตย์เร่งปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นเดือดดาลอยู่ภายในแกนกลาง สะสมเป็นแรงดันระเบิดที่มีอำนาจทำลายล้างสูงกว่าอาวุธร้ายใดๆ ที่มนุษย์เคยคิดค้นขึ้นมา เกือบครึ่งชีวิตของมันแล้วที่ทำหน้าที่ผลิตพลังงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย


    ดวงอาทิตย์ให้ทั้งความสว่างและพลังงานแสงอันอบอุ่นต่อโลกของเรา แม้จะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ถึง 150 ล้านกิโลเมตร แต่บางครั้งกระบวนการผลิตพลังงานของดวงอาทิตย์ อาจจะส่งผลกระทบต่อโลกของเราโดยไม่ตั้งใจ
    ที่ผ่านมา...คลื่นประจุไฟฟ้าความเร็วสูง หรือ "พายุสุริยะ" จากดวงอาทิตย์เคยซัดมายังโลกของเราหลายครั้งแล้ว?!?
    "...โลกยังโคจรอยู่บนชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ อนุภาคพลังงานสูงที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์ อยู่ในรูปอนุภาคประจุไฟฟ้า เช่น อิเล็กตรอนและโปรตอน เราเรียกสายธารของอนุภาคที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์ว่า ลมสุริยะ และในบางครั้งลมสุริยะก็อาจทวีความรุนแรงกว่าปกติ เรียก พายุสุริยะ..."
    ส่วนหนึ่งของบทความเรื่องพายุสุริยะของ "วิมุติ วสะหลาย" หัวหน้ากองบรรณาธิการวารสารทางช้างเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย ที่สรุปถึงข้อข้องใจของการเกิดพายุสุริยะ ผ่านการสนทนาทางอิเล็กทรอนิกส์ (แชท) ก่อนจะส่งบทความพายุสุริยะที่เขาเคยแปลและเรียบเรียงไว้ถึง 4 ตอน เพื่ออ้างอิงความรู้เรื่องพายุสุริยะ
    "...ในศตวรรรที่ 12 เป็นช่วงที่ปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์รุนแรงต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ซึ่งสอดคล้องกับช่วงเวลาที่ดินแดนตอนเหนือของโลกมีอุณหภูมิอุ่นเป็นพิเศษ จนมีคนไปตั้งรกรากอยู่บนกรีนแลนด์ได้ อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงความเข้มของประจุไฟฟ้ารอบๆ โลก ทำให้สนามแม่เหล็กโลกอาจเหนี่ยวนำไฟฟ้า บนวัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าบนผิวโลก อย่างเช่น ท่อส่งน้ำมัน สายไฟฟ้าแรงสูง ถ้าเกิดกรณีดังกล่าวกับสายไฟฟ้าแรงสูง จะทำให้หม้อแปลงระเบิด และระบบส่งจ่ายไฟฟ้าขัดข้อง อย่างที่เคยเกิดขึ้นเมื่อปี 2532 ที่ควิบิก แคนาดา และเมืองหนึ่งในรัฐนิวเจอร์ซีของสหรัฐอเมริกา"
    พายุสุริยะเกิดขึ้นได้อย่างไร?
    อันดับแรกต้องทำความรู้จักกับปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์ก่อน ได้แก่ จุดดำ (Sunspot) แฟลร์ (Flare) และคอโรนอล แมส อีเจคชั่น (Coronal Mass Ejection)
    จุดดำ : บริเวณสนามแม่เหล็กที่มีการหมุนเวียนของแก๊ส ที่พวยพุ่งออกมาจากจุดดำบนดวงอาทิตย์ มีวัฏจักรการเกิดเฉลี่ย 11 ปีต่อครั้ง โดยจุดดำมี 2 แบบ คือ จุดดำที่เป็นคู่และจุดดำเดี่ยวๆ โดยจุดดำที่เป็นคู่นั้นเมื่อแก๊สพวยพุ่งหลุดชั้นบรรยากาศ ที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด (โฟโตสเฟียร์) ก็จะพุ่งกลับไปยังจุดดำอีกจุดที่อยู่คู่กัน ส่วนจุดดำเดี่ยวๆ สนามแม่เหล็กจะพุ่งออกมาจากจุดดำชั้นใน และสาดออกไปสู่อวกาศเป็นที่มาของ ลมสุริยะ นั่นเอง
    ลมสุริยะ มีความเร็วเกือบพันกิโลเมตรต่อวินาที ใช้เวลา 26 ชั่วโมง เดินทางผ่านอวกาศจากดวงอาทิตย์มาถึงโลกมนุษย์ แต่ก็ยังจัดว่ามีความเร็วและความรุนแรงต่ำ แต่ลมสุริยะจะทวีความรุนแรงจนกลายเป็น พายุสุริยะ ก็ต่อเมื่อเกิดปรากฏการณ์ แฟลร์ และ คอโรนอล แมส อีเจคชั่น
    แฟลร์ : เป็นการระเบิดอย่างรุนแรงที่ชั้นบรรยากาศส่วนกลางของดวงอาทิตย์ (โครโมสเฟียร์) โดยจะเกิดเหนือรอยต่อระหว่างขั้วของสนามแม่เหล็ก กึ่งกลางจุดดำแบบคู่ หรือท่ามกลางกระจุกของจุดดำ ที่มีสนามแม่เหล็กปั่นป่วนซับซ้อน
    ทั้งนี้ พลังงานของแฟลร์ลูกหนึ่งอาจมากเท่ากับระเบิดไฮโดรเจนขนาด 100 เมกะตัน 1 ล้านลูกรวมกัน ซึ่งการระเบิดของแฟลร์ จะปล่อยพลังงานความร้อนมหาศาล และสาดอนุภาคประจุไฟฟ้าออกมาอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ช่วยเสริมกำลัง ลมสุริยะ ให้กลายเป็น พายุสุริยะ เดินทางมาถึงโลกในเวลาไม่กี่สิบนาที
    คอโรนอล แมส อีเจคชั่น : เป็นปรากฏการณ์ที่มีความรุนแรงกว่าแฟลร์หลายเท่านัก เพราะมีการสาดมวลสารจำนวนมหาศาล คล้ายฟองมหึมาถูกเป่าออกสู่อวกาศ ด้วยความเร็วสูงนับพันกิโลเมตรต่อวินาที ส่วนสาเหตุการเกิดคอโรนอล แมส อีเจคชั่นนั้น นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกก็ยังมีคำตอบที่ไม่ชัดเจนนัก
    วิมุติ พูดถึงผลกระทบของพายุสุริยะสั้นๆ ได้ใจความว่า เมื่อเกิดพายุสุริยะพัดมายังโลก จะทำให้มือถือใช้ไม่ได้ จีพีเอสใช้ไม่ได้ เพราะดาวเทียมสื่อสารพัง ที่ผ่านมายานสำรวจดาวอังคารของญี่ปุ่นเคยโดนพายุสุริยะซัดพังมาแล้ว นอกจากนี้ยังเคยเกิดไฟดับทั้งเมืองเมื่อปี 2532 ที่ จ.ควิบิก ประเทศแคนาดา มาแล้ว
    อย่างไรก็ตาม หัวหน้ากองบรรณาธิการวารสารทางช้างเผือก ให้คนไทยสบายใจได้ เพราะประเทศไทยและประเทศที่ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตรของโลกจะปลอดภัย หรืออย่างน้อยก็ปลอดภัย เพราะเหตุการณ์ไฟฟ้าดับหรือหม้อแปลงระเบิด ส่วนใหญ่มักจะเกิดกับประเทศแถบขั้วโลก ที่มีสนามแม่เหล็กของโลกเท่านั้น!
    แต่ก็ไม่อาจวางใจได้ ถ้าคนทั่วโลกยังใช้ประโยชน์จากดาวเทียม ที่โคจรอยู่เหนือชั้นบรรยากาศของโลกอยู่ต่อไป!?!
    ด้วยพายุสุริยะที่ซัดมายังโลก อาจพัดมาถูกดาวเทียมที่กำลังโคจรอยู่ จนทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นที่ผิวดาวเทียม ประจุไฟฟ้านี้ทำให้เกิดสัญญาณไฟฟ้ารบกวนกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในของดาวเทียม อาจทำให้ดาวเทียมทำงานผิดพลาดได้
    สอดคล้องกับ ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ที่พูดถึงพายุสุริยะผ่านโทรศัพท์ทางไกลจากเชียงใหม่ ว่าเมื่อเกิดพายุสุริยะนักบินอวกาศ ตลอดจนดาวเทียมที่โคจรอยู่เหนือชั้นบรรยากาศโลก จะได้รับผลกระทบ แต่สิ่งมีชีวิตบนพื้นโลกจะไม่ได้รับผลกระทบ เพราะโลกมีสนามแม่เหล็กเป็นเกราะคุ้มกัน ไม่ให้อนุภาคประจุพลังงานไฟฟ้าทะลุทะลวงมาถึงชั้นบรรยากาศ สิ่งมีชีวิตบนโลกจึงปลอดภัย
    ทั้งนี้ เมื่อลมสุริยะพัดเข้ามาใกล้โลก จะเปลี่ยนทิศทางและตีเกลียวไปตามเส้นแรงแม่เหล็กโลก เมื่ออนุภาคเหล่านี้กระทบถูกบรรยากาศโลกจะถูกดูดกลืนพลังงานไป หรือเกิดปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้ ที่หลายๆ คนรู้จักในชื่อแสงออโลล่าบริเวณขั้วโลกนั่นเอง
    "โลกเรามีสนามแม่เหล็กป้องกันพายุสุริยะ จะเกิดปรากฏการณ์แสงออโลล่าที่ขั้วโลก แถวๆ ทวีปเมริกาเหนือ บางพื้นที่ก็พบแสงออโลล่า 300 วัน หรือเกือบทั้งปี บางครั้งพายุสุริยะก็รบกวนการสื่อสาร โดยเฉพาะคลื่นวิทยุเอเอ็ม ส่วนพวกดาวเทียมจะโดนหนัก ถ้าเกิดแฟลร์หันมาทางโลก อนุภาคประจุไฟฟ้าที่มีความเร็วกว่ากระสุนปืนตกกระทบมาพื้นโลก อย่างที่เคยเกิดขึ้นที่แคนาดา ทำให้หม้อแปลงระเบิด ไฟฟ้าดับทั้งเมืองมาแล้ว" ดร.ศรัณย์ บอกถึงผลกระทบจากพายุสุริยะที่โลกเคยสัมผัส
    อย่างไรก็ตาม รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ย้ำด้วยน้ำเสียงจริงจังว่า พายุสุริยะไม่น่ากลัวเท่ากับโลกร้อน เพราะชั้นโอโซนที่กรองแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบมายังโลกเหลือน้อยเต็มทีแล้ว ทำให้แสงจากดวงอาทิตย์ส่งมายังพื้นโลกมากขึ้น สภาวะแบบนี้น่ากลัวกว่าการเกิดพายุสุริยะมาก
    คงเหมือนกับผลพวงจากสภาวะโลกร้อน ที่คนเชียงใหม่กำลังเผชิญหมอกควันจากไฟป่าปกคลุมไปทั่วเมือง เพราะโลกกำลังถูกคุกคามจากสภาวะโลกร้อน ด้วยฝีมือของคนบนพื้นโลก แต่ถ้าดาวเคราะห์สีน้ำเงินดวงน้อย ตกอยู่ในคราวเคราะห์ ถูกภัยคุกคามจากนอกโลก อย่าง พายุสุริยะซ้ำเติมอีก แล้ว...โลกเราจะมีสภาพเป็นอย่างไร?
    'สเตอริโอ-โซโห' สำรวจพายุสุริยะ

    แม้ว่าภัยจาก "พายุสุริยะ" จะเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก แต่องค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐ (นาซา) ก็ไม่ได้ชะล่าใจ คอยระวังเพศภัยจากพายุสุริยะอย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องมนุษย์อวกาศ สถานีอวกาศ ตลอดจนดาวเทียมต่างๆ ที่โคจรอยู่นอกโลก
    ล่าสุดนาซาได้ส่งดาวเทียมคู่แฝดมูลค่า 22,000 หมื่นล้านบาท ภายใต้ชื่อ "ภารกิจหอสังเกตการณ์ความสัมพันธ์ดวงอาทิตย์กับโลก" หรือสเตอริโอ (STEREO : Solar terrestrial Relations Observatory) เพื่อติดตามดวงอาทิตย์จาก 2 มุมนอกวงโครจรของโลกแบบ 3 มิติ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2549 มีกำหนดทำงาน 2 ปี เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์พยากรณ์สภาพการประทุของดวงอาทิตย์แต่ละครั้งมีผลต่อโลกอย่างไร?
    การปะทุของดวงอาทิตย์ (solar flares) แต่ละครั้งจะปลดปล่อยมวลจากบรรยากาศชั้นโคโรนานับพันๆ ล้านตันกระจายสู่อวกาศ ด้วยความเร็วประมาณ 400 กิโลเมตรต่อวินาที สังเกตจาก "แสงเหนือ" ซึ่งการปะทุนี้อาจรุนแรงถึงขั้นทำลายดาวเทียม หรือนักบินอวกาศที่ประจำการอยู่ด้านนอก จะได้รับรังสีมากกว่าปกติจนเกิดอันตราย รวมถึงเกิดพายุแม่เหล็กรบกวน การส่งไฟฟ้าและการสื่อสารในโลก
    เมื่อ "สเตอริโอ" เทียบวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ จะช่วยให้นักดาราศาสตร์ได้ภาพ 3 มิติ เวลาเกิดปรากฏการณ์พายุสุริยะ นอกจากนี้ ดาวเทียมสเตอริโอยังสอดรับกับการทำงานของดาวเทียมรุ่นพี่ที่ชื่อ "โซโห" หรือ "โครงการโซโห" (SOHO : The Solar and Hoilospheric Observatory) ที่คอยจับภาพการประทุของดวงอาทิตย์ ซึ่งถูกปล่อยสู่อวกาศตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม 2538 หรือเมื่อ 11 ปีก่อนที่สเตอริโอจะทยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศ
    ดาวเทียมที่คอยเฝ้าสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์เหล่านี้ สามารถแจ้งเหตุการกระโชกของลมสุริยะล่วงหน้าประมาณ 1- 2 วัน ก่อนจะพัดมาถึงโลก แต่ถ้าเป็นพายุสุริยะจะเตือนล่วงหน้าได้ประมาณครึ่งชั่วโมง นับว่านานพอที่โรงไฟฟ้าจะเตรียมระบบจ่ายไฟฟ้าหรือระบบป้องกันฉุกเฉิน เพื่อรับมือกับความแปรปรวนของสนามแม่เหล็ก และยังนานพอจะเตือนนักดาราศาสตร์และประชาชนตื่นมาดูแสงเหนือ-แสงใต้

    "สึนามิ" บนดวงอาทิตย์

    การเกิดแฟลร์ หรือการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุของการเกิดพายุสุริยะนั้น นักวิทยาศาสตร์เรียกสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ว่า "สึนามึบนดวงอาทิตย์" เพราะเกิดคลื่นกระแทกคล้ายสึนามิ เดิมเรียกว่าคลื่น moreton กำลังม้วนตัวข้ามผิวของดวงอาทิตย์ พร้อมกับรบกวน filament หรือกลุ่มก๊าชความหนาแน่นสูง แต่อุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณข้างเคียงภายใน magnetic loop เหนือผิวดวงอาทิตย์ ซึ่งเห็นเป็นโครงสร้างคล้ายเส้นมืดอยู่ด้านตรงข้าม ของจุดที่เกิดการลุกจ้าบนผิวดวงอาทิตย์
    วัชราวุฒิ หน่อแก้ว ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แปลและเรียบเรียงปรากฏการณ์การลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ เมื่อวันที่ 5 ต่อเนื่อง วันที่ 6 ธันวาคม 2549 ที่มองเห็นด้วยกล้องโทรทรรศน์ต้นแบบสำหรับสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ ที่มลรัฐนิวเม็กซิโก ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่ามีลักษณะคล้ายการเกิดสึนามึบนดวงอาทิตย์!?!
    ...จากหอสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์แห่งชาติ (National Solar Observatory : NSO) อธิบายว่า นี่เป็นคลื่นจากการระเบิดครั้งใหญ่ที่เกิดได้ไม่บ่อยนัก แต่ทรงพลังยิ่งยวด คลื่นดังกล่าวเคลื่อนที่ในมวลสารของดวงอาทิตย์ภายในเวลาไม่กี่นาที ก็เดินทางไปทั่วดวงอาทิตย์ กวาดเอาสสารภายใน filament ออกไป
    กลุ่มก๊าซความหนาแน่นสูงภายในซีกเหนือและใต้ของดวงอาทิตย์ ก่อนและหลังถูกคลื่นกระแทกกวาดหายไป ไม่ใช่เรื่องปกติเลยที่สามารถตรวจพบเหตุการณ์นี้ จากหอสังเกตการณ์ภาคพื้นดิน อีกทั้งการลุกจ้าในช่วงที่ดวงอาทิตย์มีจุดดับน้อยที่สุดในรอบ 11 ปี ก็ไม่ใช่เรื่องปกติเช่นกัน
    อย่างไรก็ตาม การประทุหรือการลุกจ้าบนผิวดวงอาทิตย์สามารถเกิดขึ้นในเวลาใดก็ได้ เพียงแต่จะเกิดบ่อยหรือรุนแรงมากน้อยเพียงไรเท่านั้นเอง ซึ่งการลุกจ้าเกิดขึ้นจากจุดดำ (sunspots) อันเป็นบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กหนาแน่นกำลังกดมวลสารด้านล่างเอาไว้ แต่เมื่อสนามแม่เหล็กคลายตัวออกมวลสารความร้อนสูงจะถูกปลดปล่อยออกมาพร้อมๆ กับการแผ่รังสีพลังงานสูง ถัดมาในวันที่ 6 ธันวาคม เครือข่ายเฝ้าระวังดวงอาทิตย์ (Optical Solar Patrol Network) ของ NSO ก็ตรวจพบการลุกจ้าอีกครั้ง และครั้งนี้เองที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์ตรวจพบคลื่นดังกล่าว แนวการเคลื่อนที่ของคลื่นกระแทกจากการลุกจ้า ซึ่งคลื่นกระแทกนี้เคลื่อนที่เหมือนกับคลื่นน้ำ ที่เกิดจากการขว้างหินลงไปในสระ ซึ่งเห็นเป็นแนวเส้นโค้งสว่างของก๊าซไฮโดรเจนร้อนที่ถูกบีบอัดเข้าหากัน เมื่อนักดาราศาสตร์ปรับแต่งความคมชัดของภาพที่ถ่ายได้ เพื่อดึงเอารายละเอียดออกมาให้เห็นกันอย่างชัดเจน แล้วสร้างภาพเคลื่อนไหวแสดงการเคลื่อนที่ของคลื่น เมื่อคลื่นกวาดผ่านกลุ่มก๊าชพลังงานสูงสีดำสองแห่ง ซึ่งวางตัวอยู่ห่างกันบนผิวดวงอาทิตย์ ปรากฏว่าพวกมันหายไปเป็นเวลาหลายนาที โดยที่นักวิทยาศาสตร์ไม่มั่นใจว่า กลุ่มก๊าซพลังงานสูงเหล่านั้นถูกกวาดทิ้งไปถาวร หรือถูกบีบอัดเอาไว้และหายไปชั่วคราวกันแน่!
    ทีมข่าวรายงานพิเศษ

    --> [​IMG] ภายใต้กระบวนการผลิตพลังงานอันร้อนแรงแห่งดาวฤกษ์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ แกนดวงอาทิตย์เร่งปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นเดือดดาลอยู่ภายในแกนกลาง สะสมเป็นแรงดันระเบิดที่มีอำนาจทำลายล้างสูงกว่าอาวุธร้ายใดๆ ที่มนุษย์เคยคิดค้นขึ้นมา เกือบครึ่งชีวิตของมันแล้วที่ทำหน้าที่ผลิตพลังงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
    ดวงอาทิตย์ให้ทั้งความสว่างและพลังงานแสงอันอบอุ่นต่อโลกของเรา แม้จะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ถึง 150 ล้านกิโลเมตร แต่บางครั้งกระบวนการผลิตพลังงานของดวงอาทิตย์ อาจจะส่งผลกระทบต่อโลกของเราโดยไม่ตั้งใจ
    ที่ผ่านมา...คลื่นประจุไฟฟ้าความเร็วสูง หรือ "พายุสุริยะ" จากดวงอาทิตย์เคยซัดมายังโลกของเราหลายครั้งแล้ว?!?
    "...โลกยังโคจรอยู่บนชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ อนุภาคพลังงานสูงที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์ อยู่ในรูปอนุภาคประจุไฟฟ้า เช่น อิเล็กตรอนและโปรตอน เราเรียกสายธารของอนุภาคที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์ว่า ลมสุริยะ และในบางครั้งลมสุริยะก็อาจทวีความรุนแรงกว่าปกติ เรียก พายุสุริยะ..."
    ส่วนหนึ่งของบทความเรื่องพายุสุริยะของ "วิมุติ วสะหลาย" หัวหน้ากองบรรณาธิการวารสารทางช้างเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย ที่สรุปถึงข้อข้องใจของการเกิดพายุสุริยะ ผ่านการสนทนาทางอิเล็กทรอนิกส์ (แชท) ก่อนจะส่งบทความพายุสุริยะที่เขาเคยแปลและเรียบเรียงไว้ถึง 4 ตอน เพื่ออ้างอิงความรู้เรื่องพายุสุริยะ
    "...ในศตวรรรที่ 12 เป็นช่วงที่ปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์รุนแรงต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ซึ่งสอดคล้องกับช่วงเวลาที่ดินแดนตอนเหนือของโลกมีอุณหภูมิอุ่นเป็นพิเศษ จนมีคนไปตั้งรกรากอยู่บนกรีนแลนด์ได้ อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงความเข้มของประจุไฟฟ้ารอบๆ โลก ทำให้สนามแม่เหล็กโลกอาจเหนี่ยวนำไฟฟ้า บนวัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าบนผิวโลก อย่างเช่น ท่อส่งน้ำมัน สายไฟฟ้าแรงสูง ถ้าเกิดกรณีดังกล่าวกับสายไฟฟ้าแรงสูง จะทำให้หม้อแปลงระเบิด และระบบส่งจ่ายไฟฟ้าขัดข้อง อย่างที่เคยเกิดขึ้นเมื่อปี 2532 ที่ควิบิก แคนาดา และเมืองหนึ่งในรัฐนิวเจอร์ซีของสหรัฐอเมริกา"
    พายุสุริยะเกิดขึ้นได้อย่างไร?
    อันดับแรกต้องทำความรู้จักกับปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์ก่อน ได้แก่ จุดดำ (Sunspot) แฟลร์ (Flare) และคอโรนอล แมส อีเจคชั่น (Coronal Mass Ejection)
    จุดดำ : บริเวณสนามแม่เหล็กที่มีการหมุนเวียนของแก๊ส ที่พวยพุ่งออกมาจากจุดดำบนดวงอาทิตย์ มีวัฏจักรการเกิดเฉลี่ย 11 ปีต่อครั้ง โดยจุดดำมี 2 แบบ คือ จุดดำที่เป็นคู่และจุดดำเดี่ยวๆ โดยจุดดำที่เป็นคู่นั้นเมื่อแก๊สพวยพุ่งหลุดชั้นบรรยากาศ ที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด (โฟโตสเฟียร์) ก็จะพุ่งกลับไปยังจุดดำอีกจุดที่อยู่คู่กัน ส่วนจุดดำเดี่ยวๆ สนามแม่เหล็กจะพุ่งออกมาจากจุดดำชั้นใน และสาดออกไปสู่อวกาศเป็นที่มาของ ลมสุริยะ นั่นเอง
    ลมสุริยะ มีความเร็วเกือบพันกิโลเมตรต่อวินาที ใช้เวลา 26 ชั่วโมง เดินทางผ่านอวกาศจากดวงอาทิตย์มาถึงโลกมนุษย์ แต่ก็ยังจัดว่ามีความเร็วและความรุนแรงต่ำ แต่ลมสุริยะจะทวีความรุนแรงจนกลายเป็น พายุสุริยะ ก็ต่อเมื่อเกิดปรากฏการณ์ แฟลร์ และ คอโรนอล แมส อีเจคชั่น
    แฟลร์ : เป็นการระเบิดอย่างรุนแรงที่ชั้นบรรยากาศส่วนกลางของดวงอาทิตย์ (โครโมสเฟียร์) โดยจะเกิดเหนือรอยต่อระหว่างขั้วของสนามแม่เหล็ก กึ่งกลางจุดดำแบบคู่ หรือท่ามกลางกระจุกของจุดดำ ที่มีสนามแม่เหล็กปั่นป่วนซับซ้อน
    ทั้งนี้ พลังงานของแฟลร์ลูกหนึ่งอาจมากเท่ากับระเบิดไฮโดรเจนขนาด 100 เมกะตัน 1 ล้านลูกรวมกัน ซึ่งการระเบิดของแฟลร์ จะปล่อยพลังงานความร้อนมหาศาล และสาดอนุภาคประจุไฟฟ้าออกมาอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ช่วยเสริมกำลัง ลมสุริยะ ให้กลายเป็น พายุสุริยะ เดินทางมาถึงโลกในเวลาไม่กี่สิบนาที
    คอโรนอล แมส อีเจคชั่น : เป็นปรากฏการณ์ที่มีความรุนแรงกว่าแฟลร์หลายเท่านัก เพราะมีการสาดมวลสารจำนวนมหาศาล คล้ายฟองมหึมาถูกเป่าออกสู่อวกาศ ด้วยความเร็วสูงนับพันกิโลเมตรต่อวินาที ส่วนสาเหตุการเกิดคอโรนอล แมส อีเจคชั่นนั้น นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกก็ยังมีคำตอบที่ไม่ชัดเจนนัก
    วิมุติ พูดถึงผลกระทบของพายุสุริยะสั้นๆ ได้ใจความว่า เมื่อเกิดพายุสุริยะพัดมายังโลก จะทำให้มือถือใช้ไม่ได้ จีพีเอสใช้ไม่ได้ เพราะดาวเทียมสื่อสารพัง ที่ผ่านมายานสำรวจดาวอังคารของญี่ปุ่นเคยโดนพายุสุริยะซัดพังมาแล้ว นอกจากนี้ยังเคยเกิดไฟดับทั้งเมืองเมื่อปี 2532 ที่ จ.ควิบิก ประเทศแคนาดา มาแล้ว
    อย่างไรก็ตาม หัวหน้ากองบรรณาธิการวารสารทางช้างเผือก ให้คนไทยสบายใจได้ เพราะประเทศไทยและประเทศที่ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตรของโลกจะปลอดภัย หรืออย่างน้อยก็ปลอดภัย เพราะเหตุการณ์ไฟฟ้าดับหรือหม้อแปลงระเบิด ส่วนใหญ่มักจะเกิดกับประเทศแถบขั้วโลก ที่มีสนามแม่เหล็กของโลกเท่านั้น!
    แต่ก็ไม่อาจวางใจได้ ถ้าคนทั่วโลกยังใช้ประโยชน์จากดาวเทียม ที่โคจรอยู่เหนือชั้นบรรยากาศของโลกอยู่ต่อไป!?!
    ด้วยพายุสุริยะที่ซัดมายังโลก อาจพัดมาถูกดาวเทียมที่กำลังโคจรอยู่ จนทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นที่ผิวดาวเทียม ประจุไฟฟ้านี้ทำให้เกิดสัญญาณไฟฟ้ารบกวนกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในของดาวเทียม อาจทำให้ดาวเทียมทำงานผิดพลาดได้
    สอดคล้องกับ ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ที่พูดถึงพายุสุริยะผ่านโทรศัพท์ทางไกลจากเชียงใหม่ ว่าเมื่อเกิดพายุสุริยะนักบินอวกาศ ตลอดจนดาวเทียมที่โคจรอยู่เหนือชั้นบรรยากาศโลก จะได้รับผลกระทบ แต่สิ่งมีชีวิตบนพื้นโลกจะไม่ได้รับผลกระทบ เพราะโลกมีสนามแม่เหล็กเป็นเกราะคุ้มกัน ไม่ให้อนุภาคประจุพลังงานไฟฟ้าทะลุทะลวงมาถึงชั้นบรรยากาศ สิ่งมีชีวิตบนโลกจึงปลอดภัย
    ทั้งนี้ เมื่อลมสุริยะพัดเข้ามาใกล้โลก จะเปลี่ยนทิศทางและตีเกลียวไปตามเส้นแรงแม่เหล็กโลก เมื่ออนุภาคเหล่านี้กระทบถูกบรรยากาศโลกจะถูกดูดกลืนพลังงานไป หรือเกิดปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้ ที่หลายๆ คนรู้จักในชื่อแสงออโลล่าบริเวณขั้วโลกนั่นเอง
    "โลกเรามีสนามแม่เหล็กป้องกันพายุสุริยะ จะเกิดปรากฏการณ์แสงออโลล่าที่ขั้วโลก แถวๆ ทวีปเมริกาเหนือ บางพื้นที่ก็พบแสงออโลล่า 300 วัน หรือเกือบทั้งปี บางครั้งพายุสุริยะก็รบกวนการสื่อสาร โดยเฉพาะคลื่นวิทยุเอเอ็ม ส่วนพวกดาวเทียมจะโดนหนัก ถ้าเกิดแฟลร์หันมาทางโลก อนุภาคประจุไฟฟ้าที่มีความเร็วกว่ากระสุนปืนตกกระทบมาพื้นโลก อย่างที่เคยเกิดขึ้นที่แคนาดา ทำให้หม้อแปลงระเบิด ไฟฟ้าดับทั้งเมืองมาแล้ว" ดร.ศรัณย์ บอกถึงผลกระทบจากพายุสุริยะที่โลกเคยสัมผัส
    อย่างไรก็ตาม รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ย้ำด้วยน้ำเสียงจริงจังว่า พายุสุริยะไม่น่ากลัวเท่ากับโลกร้อน เพราะชั้นโอโซนที่กรองแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบมายังโลกเหลือน้อยเต็มทีแล้ว ทำให้แสงจากดวงอาทิตย์ส่งมายังพื้นโลกมากขึ้น สภาวะแบบนี้น่ากลัวกว่าการเกิดพายุสุริยะมาก
    คงเหมือนกับผลพวงจากสภาวะโลกร้อน ที่คนเชียงใหม่กำลังเผชิญหมอกควันจากไฟป่าปกคลุมไปทั่วเมือง เพราะโลกกำลังถูกคุกคามจากสภาวะโลกร้อน ด้วยฝีมือของคนบนพื้นโลก แต่ถ้าดาวเคราะห์สีน้ำเงินดวงน้อย ตกอยู่ในคราวเคราะห์ ถูกภัยคุกคามจากนอกโลก อย่าง พายุสุริยะซ้ำเติมอีก แล้ว...โลกเราจะมีสภาพเป็นอย่างไร?
    'สเตอริโอ-โซโห' สำรวจพายุสุริยะ
    แม้ว่าภัยจาก "พายุสุริยะ" จะเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก แต่องค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐ (นาซา) ก็ไม่ได้ชะล่าใจ คอยระวังเพศภัยจากพายุสุริยะอย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องมนุษย์อวกาศ สถานีอวกาศ ตลอดจนดาวเทียมต่างๆ ที่โคจรอยู่นอกโลก
    ล่าสุดนาซาได้ส่งดาวเทียมคู่แฝดมูลค่า 22,000 หมื่นล้านบาท ภายใต้ชื่อ "ภารกิจหอสังเกตการณ์ความสัมพันธ์ดวงอาทิตย์กับโลก" หรือสเตอริโอ (STEREO : Solar terrestrial Relations Observatory) เพื่อติดตามดวงอาทิตย์จาก 2 มุมนอกวงโครจรของโลกแบบ 3 มิติ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2549 มีกำหนดทำงาน 2 ปี เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์พยากรณ์สภาพการประทุของดวงอาทิตย์แต่ละครั้งมีผลต่อโลกอย่างไร?
    การปะทุของดวงอาทิตย์ (solar flares) แต่ละครั้งจะปลดปล่อยมวลจากบรรยากาศชั้นโคโรนานับพันๆ ล้านตันกระจายสู่อวกาศ ด้วยความเร็วประมาณ 400 กิโลเมตรต่อวินาที สังเกตจาก "แสงเหนือ" ซึ่งการปะทุนี้อาจรุนแรงถึงขั้นทำลายดาวเทียม หรือนักบินอวกาศที่ประจำการอยู่ด้านนอก จะได้รับรังสีมากกว่าปกติจนเกิดอันตราย รวมถึงเกิดพายุแม่เหล็กรบกวน การส่งไฟฟ้าและการสื่อสารในโลก
    เมื่อ "สเตอริโอ" เทียบวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ จะช่วยให้นักดาราศาสตร์ได้ภาพ 3 มิติ เวลาเกิดปรากฏการณ์พายุสุริยะ นอกจากนี้ ดาวเทียมสเตอริโอยังสอดรับกับการทำงานของดาวเทียมรุ่นพี่ที่ชื่อ "โซโห" หรือ "โครงการโซโห" (SOHO : The Solar and Hoilospheric Observatory) ที่คอยจับภาพการประทุของดวงอาทิตย์ ซึ่งถูกปล่อยสู่อวกาศตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม 2538 หรือเมื่อ 11 ปีก่อนที่สเตอริโอจะทยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศ
    ดาวเทียมที่คอยเฝ้าสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์เหล่านี้ สามารถแจ้งเหตุการกระโชกของลมสุริยะล่วงหน้าประมาณ 1- 2 วัน ก่อนจะพัดมาถึงโลก แต่ถ้าเป็นพายุสุริยะจะเตือนล่วงหน้าได้ประมาณครึ่งชั่วโมง นับว่านานพอที่โรงไฟฟ้าจะเตรียมระบบจ่ายไฟฟ้าหรือระบบป้องกันฉุกเฉิน เพื่อรับมือกับความแปรปรวนของสนามแม่เหล็ก และยังนานพอจะเตือนนักดาราศาสตร์และประชาชนตื่นมาดูแสงเหนือ-แสงใต้

    http://www.komchadluek.net
     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    "สึนามิ" บนดวงอาทิตย์

    การเกิดแฟลร์ หรือการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุของการเกิดพายุสุริยะนั้น นักวิทยาศาสตร์เรียกสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ว่า "สึนามึบนดวงอาทิตย์" เพราะเกิดคลื่นกระแทกคล้ายสึนามิ เดิมเรียกว่าคลื่น moreton กำลังม้วนตัวข้ามผิวของดวงอาทิตย์ พร้อมกับรบกวน filament หรือกลุ่มก๊าชความหนาแน่นสูง แต่อุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณข้างเคียงภายใน magnetic loop เหนือผิวดวงอาทิตย์ ซึ่งเห็นเป็นโครงสร้างคล้ายเส้นมืดอยู่ด้านตรงข้าม ของจุดที่เกิดการลุกจ้าบนผิวดวงอาทิตย์
    วัชราวุฒิ หน่อแก้ว ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แปลและเรียบเรียงปรากฏการณ์การลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ เมื่อวันที่ 5 ต่อเนื่อง วันที่ 6 ธันวาคม 2549 ที่มองเห็นด้วยกล้องโทรทรรศน์ต้นแบบสำหรับสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ ที่มลรัฐนิวเม็กซิโก ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่ามีลักษณะคล้ายการเกิดสึนามึบนดวงอาทิตย์!?!
    ...จากหอสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์แห่งชาติ (National Solar Observatory : NSO) อธิบายว่า นี่เป็นคลื่นจากการระเบิดครั้งใหญ่ที่เกิดได้ไม่บ่อยนัก แต่ทรงพลังยิ่งยวด คลื่นดังกล่าวเคลื่อนที่ในมวลสารของดวงอาทิตย์ภายในเวลาไม่กี่นาที ก็เดินทางไปทั่วดวงอาทิตย์ กวาดเอาสสารภายใน filament ออกไป
    กลุ่มก๊าซความหนาแน่นสูงภายในซีกเหนือและใต้ของดวงอาทิตย์ ก่อนและหลังถูกคลื่นกระแทกกวาดหายไป ไม่ใช่เรื่องปกติเลยที่สามารถตรวจพบเหตุการณ์นี้ จากหอสังเกตการณ์ภาคพื้นดิน อีกทั้งการลุกจ้าในช่วงที่ดวงอาทิตย์มีจุดดับน้อยที่สุดในรอบ 11 ปี ก็ไม่ใช่เรื่องปกติเช่นกัน
    อย่างไรก็ตาม การประทุหรือการลุกจ้าบนผิวดวงอาทิตย์สามารถเกิดขึ้นในเวลาใดก็ได้ เพียงแต่จะเกิดบ่อยหรือรุนแรงมากน้อยเพียงไรเท่านั้นเอง ซึ่งการลุกจ้าเกิดขึ้นจากจุดดำ (sunspots) อันเป็นบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กหนาแน่นกำลังกดมวลสารด้านล่างเอาไว้ แต่เมื่อสนามแม่เหล็กคลายตัวออกมวลสารความร้อนสูงจะถูกปลดปล่อยออกมาพร้อมๆ กับการแผ่รังสีพลังงานสูง
    ถัดมาในวันที่ 6 ธันวาคม เครือข่ายเฝ้าระวังดวงอาทิตย์ (Optical Solar Patrol Network) ของ NSO ก็ตรวจพบการลุกจ้าอีกครั้ง และครั้งนี้เองที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์ตรวจพบคลื่นดังกล่าว แนวการเคลื่อนที่ของคลื่นกระแทกจากการลุกจ้า ซึ่งคลื่นกระแทกนี้เคลื่อนที่เหมือนกับคลื่นน้ำ ที่เกิดจากการขว้างหินลงไปในสระ ซึ่งเห็นเป็นแนวเส้นโค้งสว่างของก๊าซไฮโดรเจนร้อนที่ถูกบีบอัดเข้าหากัน
    เมื่อนักดาราศาสตร์ปรับแต่งความคมชัดของภาพที่ถ่ายได้ เพื่อดึงเอารายละเอียดออกมาให้เห็นกันอย่างชัดเจน แล้วสร้างภาพเคลื่อนไหวแสดงการเคลื่อนที่ของคลื่น เมื่อคลื่นกวาดผ่านกลุ่มก๊าชพลังงานสูงสีดำสองแห่ง ซึ่งวางตัวอยู่ห่างกันบนผิวดวงอาทิตย์ ปรากฏว่าพวกมันหายไปเป็นเวลาหลายนาที โดยที่นักวิทยาศาสตร์ไม่มั่นใจว่า กลุ่มก๊าซพลังงานสูงเหล่านั้นถูกกวาดทิ้งไปถาวร หรือถูกบีบอัดเอาไว้และหายไปชั่วคราวกันแน่!


    http://www.komchadluek.net
     
  3. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    สารพัดภัยพิบัติเริ่มปรากฏชัดขึ้นเรื่อยๆแล้วครับ

    เตรียมตัวเตรียมใจเอาไว้ด้วยครับ
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    เตือน “ประจวบฯ-ชุมพร” รับมือดีเปรสชัน ฝนตกหนักสุดรอบ 46 ปี คืนนี้ <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">1 พฤษภาคม 2550 17:12 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา เตือนหลายจังหวัดรับมือภัยน้ำท่วม จากพายุดีเปรสชันที่พัดเข้าฝั่งคืนนี้ เวลา 20.00 น.จะเป็นพายุฝนตกในปริมาณมากในรอบ 46 ปี โดยเฉพาะ อ.บางสะพาน บางสะพานน้อย ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ และ จ.ชุมพร รวมทั้งพื้นที่ใกล้เทือกเขาตะนาวศรี ระวังภัยน้ำท่วมฉับพลันเป็นพิเศษ ด้าน อธิบดี ปภ.สั่งผู้ว่าฯ 25 จังหวัดเสี่ยงเตรียมพร้อมรับมือปัญหาอุทกภัย วาตภัย ดินถล่ม

    นายศุภฤกษ์ ตันศรีรัตนวงศ์ อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา แถลงข่าวเรื่อง “พายุดีเปรสชันในอ่าวไทย” ว่า หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงในอ่าวไทยได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเมื่อช่วงบ่ายวันนี้ ซึ่งลักษณะของพายุจะทำให้เกิดฝนตกในปริมาณมาก ในอดีตเคยเกิดขึ้นเมื่อเดือนพฤษภาคม ปี 2504 โดยจะเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งบริเวณ จ.ประจวบคีรีขันธ์ จ.ชุมพร ในเวลา 20.00 น.คืนนี้ จึงขอเตือนประชาชนบริเวณ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี ระนอง พังงา รวมทั้ง กรุงเทพฯ และปริมณฑล ระมัดระวังอันตรายจากภัยน้ำท่วม น้ำป่าไหลหลาก

    “โดยเฉพาะพื้นที่ อ.บางสะพาน บางสะพานน้อย ทับสะแก ของ จ.ประจวบคีรีขันธ์ และจังหวัดชุมพร ระวังน้ำท่วมฉับพลันเป็นพิเศษ ตั้งแต่คืนนี้ไปอีก 2-3 วัน เพราะจะมีฝนตกหนัก นอกจากนี้ ทางกรมฯ ได้รับรายงานว่าที่เทือกเขาตะนาวศรีเริ่มมีน้ำสีแดงไหลลงมาจากเขาแล้ว หากเกิดฝนตกหนักเพิ่มเติม พื้นที่ด้านล่างอาจจะเกิดน้ำท่วมได้” นายศุภฤกษ์ กล่าว

    นายศุภฤกษ์ กล่าวต่อว่า จากนั้นอีก 4-5 ชั่วโมง พายุลูกนี้จะไปสู่ทะเลอันดามันและจะอ่อนตัวลง แต่ระหว่างนี้ขอแนะนำหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรเตรียมการรับมือในเรื่องการระบายน้ำ คาดว่าปริมาณฝนจะมากพอสมควร นอกจากนี้ กรมฯ จะเฝ้าติดตามว่าจะมีพายุลูกอื่นเข้ามาอีกระลอกหรือไม่ รวมทั้งขอเตือนชาวเรือในอ่าวไทยระมัดระวัง เพราะมีคลื่นสูง 2-3 เมตร เรือเล็กควรงดออกจากฝั่ง และระยะหลังวันที่ 3 พฤษภาคม พื้นที่ที่ต้องระวังเรื่องน้ำท่วม คือ กรุงเทพฯ และจังหวัดแถบทะเลอันดามัน

    ด้านนายอนุชา โมกขะเวส อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) มีหนังสือด่วนที่สุดถึงผู้ว่าราชการจังหวัด 25 จังหวัด ประกอบด้วย สมุทรปราการ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง สตูล พัทลุง สงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส เตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย วาตภัย ดินถล่มและคลื่นลมแรง อันเกิดจากฝนตกหนักในระหว่างนี้ด้วย โดยขอให้จังหวัดดำเนินการตามที่เคยได้สั่งการไว้แล้ว สำหรับชาวเรือควรพิจารณาเดินเรือด้วยความระมัดระวัง เรือเล็กควรงดออกจากฝั่งในระยะนี้
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    ประกาศเตือนภัย

    [SIZE=+1]ประกาศเตือนภัย
    "เรื่อง พายุดีเปรสชั่นในอ่าวไทย"
    [/SIZE]
    ฉบับที่ 9 (135 / 2550) ลงวันที่ 01 พฤษภาคม 2550
    เมื่อ เวลา 13.00 น. วันนี้ (1 พฤษภาคม 2550) พายุดีเปรสชั่นในอ่าวไทยตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ทางด้านตะวันออกของจังหวัดชุมพร ประมาณ 50 กิโลเมตร หรือ ที่ละติจูด 10.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 99.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้กำลังเคลื่อนตัวทางตะวันตกอย่างช้า ๆ คาดว่าจะเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งบริเวณพื้นที่ตอนล่างของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และตอนบนของจังหวัดชุมพรในเวลาประมาณ 20.00 น. คืนวันนี้ และจะเคลื่อนตัวลงสู่ทะเลอันดามันตอนบนในระยะต่อไปลักษณะดังกล่าวทำให้บริเวณภาคกลาง ภาคใต้ และภาคตะวันออก มีฝนตกชุกหนาแน่นกับมีฝนตกหนักถึงหนักมากหลายพื้นที่ ซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากได้บริเวณจังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง และ พังงา รวมทั้งกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จึงขอให้ประชาชนบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยของจังหวัดที่กล่าวมาระมัดระวังอันตรายจากภัยธรรมชาติดังกล่าวในระยะ 1-3 วันนี้ ส่วนคลื่นลมบริเวณอ่าวไทยตอนบน จะมีคลื่นสูง 2-3 เมตร ชาวเรือควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ เรือเล็กควรงดออกจากฝั่งในช่วงวันที่ 1-3 พฤษภาคม 2550 นี้ไว้ด้วย

    http://www.tmd.go.th
     
  7. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    รูปแสดงปริมาณฝนของวันนี้

    รูปที่ 1-2 แสดงจำนวนปริมาณฝนทั่วประเทศประจำวัน
    รูปที่ 3 เปรียบเทีบนปริมาณน้ำฝนของวันนี้กับปีที่แล้ว

    DAILY RAIN FALL DATE : <input name="day" size="5" value="300407" type="text"> (Date Format : 01/May/2007 is : 010507)
    [​IMG][​IMG][​IMG]
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    เตือนฝนตกหนัก เพชรฯ-ประจวบฯ-ชุมพร เสี่ยงดินถล่ม <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">2 พฤษภาคม 2550 11:21 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> อธิบดีกรมทรัพยากรธรณีเฝ้าระวังปริมาณฝนตกถล่มซ้ำ จ.เพชรบุรี ประจวบฯ และชุมพร ถ้าปริมาณเกิน 120-150 มิลลิเมตร โอกาสเสี่ยงสูงเกิดดินถล่ม ขณะที่ผู้ว่าฯ ประจวบฯ เผยอ่างเก็บน้ำเหลือความจุอีกร้อยละ 20 รับมือฝนตกได้อีกแค่ 2 วัน

    นายอภิชัย ชวเจริญพันธุ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี เปิดเผยถึงกรณีฝนตกหนักบริเวณตั้งแต่จังหวัดเพชรบุรีลงไปประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ว่า เมื่อวานนี้กรมฯ มีหนังสือประกาศเตือนภัยดินถล่ม น้ำป่าไหลหลากในพื้นที่ดังกล่าวแล้ว และจากการตรวจสอบซ้ำในเช้าวันนี้ยังไม่มีเหตุการณ์ดินถล่ม และคิดว่าคงไม่น่ามีปัญหาถ้าฝนไม่ตกซ้ำอีก เพราะทราบจากกรมอุตุนิยมวิทยาว่า พายุดีเปรสชั่นกำลังข้ามไปทะเลอันดามัน ปริมาณน้ำฝนที่ตกก็สูงพอสมควร คือกว่า 100 มิลลิเมตร หากยังตกต่อเนื่องตลอดทั้งวันและปริมาณเกิน 120-150 มิลลิเมตร ความเสี่ยงที่จะเกิดดินถล่มค่อนข้างสูง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความลาดชันของพื้นที่และสภาพธรณี การยึดเกาะดินว่ามีต้นไม้ดีพอสมควรหรือไม่ ซึ่งสภาพพื้นที่บริเวณนั้นมีภูเขาสูงอยู่มาก ขณะนี้กรมฯ เฝ้าระวังว่าหากฝนตกถล่มซ้ำมาอีกก็จะประกาศเตือนต่อไป

    ด้านนายประสงค์ พิทูรกิจจา ผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เปิดเผยว่า ฝนตกในจังหวัดประจวบฯ ติดต่อกันมา 2 วันแล้ว ซึ่งทางจังหวัดได้แจ้งเตือนให้ประชาชนระมัดระวังทั้งน้ำท่วม ดินถล่มไว้หมดแล้ว โดยมีศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 4 ทหารกองบิน 5 ศูนย์ทหารราบ ตำรวจตระเวนชายแดน โรงพยาบาล สถานที่ราชการ หน่วยอาสาสมัครและมูลนิธิ พร้อมไว้ช่วยเหลือและรองรับเหตุการณ์ไว้หมดแล้ว ขณะนี้อ่างเก็บต่าง ๆ ในจังหวัดกักเก็บน้ำไปแล้วร้อยละ 80 ยังเหลือความจุน้ำได้อีกร้อยละ 20 ถ้าฝนตกอีก 2 วันยังพอรับได้ แต่หากฝนตกติดต่อกันหลายวันคงรับไม่ไหว ต้องระบายออก
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    ผู้ว่าฯชุมพรสั่งเตรียมพร้อมอพยพประชาชนพื้นที่เสี่ยง <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">2 พฤษภาคม 2550 09:38 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> ชุมพร - ผู้ว่าฯชุมพร สั่งเตรียมพร้อมรับมือดีพายุเปรสชั่นสถานการณ์ไม่น่าวางใจให้อพยพประชาชนได้ทันที


    จากกรณีที่มีคำเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่องอิทธิพลหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงในทะเลอ่าวไทย และได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชั่น ทะเลมีคลื่นสูง 2 – 3 เมตร ซึ่งได้เข้าสู่ฝั่งจังหวัดชุมพรเมื่อคืนที่ผ่านมา และทำให้เกิดฝนตกหนัก ถึงหนักมากอาจจะเกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลาก ในหลายพื้นที่ของจังหวัดชุมพร

    โดยขณะนี้ นายพินัย อนันตพงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร มีคำสั่งด่วน ถึง นายอำเภอทุกอำเภอ และหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ให้เตรียมความพร้อมในการรับมือจากภาวะฝนตกหนักดังกล่าว พร้อมทั้งขอให้ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อเตรียมรับมือ หากพื้นที่ใดมีปริมาณน้ำฝนตกหนักผิดปกติ ขอให้พิจารณา อพยพประชาชนออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย ที่ต้องเฝ้าระวังจำนวน 232 หมู่บ้าน ใน 8 อำเภอ ของจังหวัดชุมพร ได้ทันที และมีคำสั่งห้ามเรือเล็กทุกประเภทออกจากฝั่งโดยเด็ดขาด

    อย่างไรก็ตามตลอดทั้งคืนที่ผ่านมาจนถึงเช้าวันนี้สภาวะอากาศโดยทั่วไป ท้องฟ้าคะนอง มืดคลึ้ม มีฝนตกหนักทิ้งช่วงเป็นระยะๆ แต่ยังไม่มีรายงานน้ำป่าไหลหลากหรือน้ำท่วมขังในพื้นที่ใดของจังหวัดชุมพร

    ขณะเดียวกัน พื้นที่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ หลายอำเภอขณะนี้ โดยเฉพาะ อ.บางสะพาน ที่มีการคาดการณ์กันไว้ว่าเป็นจุดผ่านของพายุ ทำให้น้ำได้เริ่มเข้าท่วมในเขต ต.กำเนิดนพคุณ บริเวณหมู่บ้านห้วยทรายขาว บ้านเขาโบสถ์ และเข้าท่วมโรงเรียนอนุบาลบางสะพาน นอกจากนี้ ระดับน้ำในคลองได้เริ่มเอ่อล้นริมตลิ่ง เนื่องจากไม่สามารถระบายน้ำลงทะเลได้ทัน ซึ่งคาดว่าระดับน้ำอาจเพิ่มสูงขึ้นอีกมาก และจะเข้าท่วมในพื้นที่ อ.บางสะพาน เป็นวงกว้างขึ้นตามลำดับ
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    พายุซัดเขาพัง หินทับรีสอร์ต

    [2 พ.ค. 50 - 02:49]
    กรมอุตุนิยมวิทยาเตือนภัยพายุดีเปรสชันจ่อถล่มไทยอีกระลอก ที่ห้องบรรยายสรุปลักษณะอากาศ ชั้น 12 อาคาร 50 ปี กรมอุตุนิยมวิทยา ถนนสุขุมวิท บางนา เมื่อ เวลา 15.00 น. วันที่ 1 พ.ค. นายศุภฤกษ์ ตันศรีรัตนวงศ์ อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา ได้แถลงกรณีเกิดพายุดีเปรสชันในอ่าวไทยตอนบน มีศูนย์กลางอยู่ทางด้านตะวันออกของ จังหวัดชุมพร ประมาณ 50 กิโลเมตร หรือที่ละติจูด 10.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 99.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลม สูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดย เคลื่อนตัวทางตะวันตกอย่างช้าๆ คาดว่าจะขึ้นฝั่งบริเวณตอนล่างของ จ.ประจวบคีรีขันธ์ และตอนบนของ จ.ชุมพรในเวลาประมาณ 20.00 น. คืนวันนี้ (1 พ.ค.) และลงสู่ทะเล อันดามันตอนบนต่อไป
    ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณภาคกลาง ภาคใต้ และภาคตะวันออก มีฝนตกชุกหนาแน่นกับมีฝนตกหนักถึง หนักมากหลายพื้นที่ อาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากบริเวณ จ.กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา กรุงเทพฯ และปริมณฑล ประชาชนบริเวณพื้นที่ดังกล่าวควรระมัด ระวังอันตรายจากภัยธรรมชาติ ในระยะ 1-3 วันนี้ด้วย ส่วน บริเวณอ่าวไทยตอนบนมีคลื่นสูง 2-3 เมตร ชาวเรือควรระมัดระวังในการเดินเรือ เรือเล็กควรงดออกจากฝั�งเด็ดขาด
    ด้านนายอนุชา โมกขะเวส อธิบดีกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย กล่าวว่า กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้แจ้งเตือนไปยังจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย 25 จังหวัด คือ สมุทรปราการ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระยอง พังงา กระบี่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง สตูล พัทลุง สงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ให้เตรียมป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย วาตภัย ดินถล่ม และคลื่นลมแรง หลังกรม อุตฯได้แจ้งเตือนเกี่ยวกับพายุดีเปรสชัน ซึ่งทำให้มีฝนตก หนักและน้ำท่วมฉับพลันในระยะ 1-3 วันนี้
    ที่ จ.ตรัง เกิดเหตุฝนกระหน่ำ ทำเอาหินภูเขาก้อน มหึมาถล่มทับรีสอร์ตบนเกาะกลางทะเลคร่าชีวิตกุ๊กหนุ่ม โดยเหตุการณ์สยองครั้งนี้ เปิดเผยขึ้นเมื่อเวลา 10.00 น. วันที่ 1 พ.ค. ร.ต.ต.โอภาส ไชยบุญ ร้อยเวร สภ.อ.ปะเหลียน จ.ตรัง ได้รับแจ้งมีก้อนหินภูเขาถล่มทับคนเสียชีวิตภายใน รีสอร์ตชื่อเอ็กไซด์ ตั้งอยู่บนเกาะเหลาเหลียง หมู่ 1 ต.เกาะ สุกร อ.ปะเปลียน หลังทราบเรื่องจึงรายงานให้ผู้บังคับบัญชา ทราบ จากนั้น เดินทางไปตรวจโดยต้องนั่งเรือเข้าไป เนื่องจาก เกาะที่เกิดเหตุอยู่ห่างจากชายฝั่งประมาณ 30 กม.
    เมื่อไปถึงพบรีสอร์ตดังกล่าวตั้งอยู่ติดชายเขา บริเวณห้องครัวที่ปลูกแยกส่วนออกมาถูกก้อนหินขนาดใหญ่ น้ำหนักกว่า 2,000 กก. ทับจนพังเกือบทั้งหลัง ใต้ก้อนหินพบร่างผู้เสียชีวิตถูกทับจนเละทั้งตัว โผล่แต่เท้าทั้ง 2 ข้าง ทราบชื่อ ภายหลังคือ นายประทีป ชิดใจเดียว อายุ 32 ปี อยู่บ้านเลขที่ 72/1 หมู่ 1 ต.นาเวียง อ.ปะเหลียน ทำงานเป็นกุ๊กประจำรีสอร์ต เจ้าหน้าที่ได้ใช้อุปกรณ์มางัดก้อนหินนำร่างของผู้ตายออกมา
    สอบสวนนายนิพนธ์ เพชรศรี อายุ 28 ปี ผู้จัดการรีสอร์ตที่เกิดเหตุ ให้การว่า รีสอร์ตแห่งนี้มีนายพานิช ภิญโญพิพัฒน์กร ชาว กทม. เป็นเจ้าของ ก่อนเกิดเหตุขณะ ตนตรวจดูความเรียบร้อยภายในรีสอร์ต ได้ยินเสียงพนักงานร้องแตกตื่นเสียงดังลั่นมาจากห้องครัว จึงรีบวิ่งไปดู ก็ต้อง ตกใจเมื่อเห็นก้อนหินขนาดใหญ่กลิ้งมาจากภูเขาถล่มทับ ห้องครัว เป็นเหตุให้นายประทีป กุ๊กที่กำลังทำอาหารอยู่ ถูกก้อนหินทับบี้แบน จึงรีบแจ้งขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจ
    อย่างไรก็ตามจากการตรวจสอบที่เกิดเหตุและสำรวจ พื้นที่บริเวณดังกล่าว พบว่าสาเหตุที่ทำให้ก้อนหินถล่มลงมา เนื่องจากเมื่อคืนที่ผ่านมามีฝนตกลงมาอย่างหนักจนดินบนภูเขาอุ้มน้ำไม่ไหวเกิดทรุดตัวพาก้อนหินขนาดใหญ่บริเวณหน้าผาสูงถล่มลงมากระแทกกับแง่หินด้านล่าง ก่อนจะกลิ้งลงมาทับห้องครัวของรีสอร์ตที่ตั้งอยู่ติดชายเขาทับร่างนายประทีปที่กำลังทำอาหารไว้ต้อนรับพวก นักท่องเที่ยวตายสยองคาที่
    ด้านนายสมปอง ขาวดี ผู้ช่วยป้องกันจังหวัดตรัง เปิดเผยถึงเรื่องดังกล่าวว่า หลังทราบเรื่องได้ประสานไปยังนายพงษ์ศักดิ์ คารวานนท์ นายอำเภอปะเหลียน จัดเจ้าหน้าที่เข้าไปให้การช่วยเหลือ โดยมอบหมายให้ นายณรงค์ หนูเนียม ปลัดอำเภอ นำทีมเข้าไป แต่ติดอุปสรรคตรงที่มีพายุและคลื่นแรง จึงต้องรอให้คลื่นลมสงบเสียก่อนจึงหาทางช่วยเหลือต่อไป
    ส่วนที่ จ.กำแพงเพชร เมื่อคืนที่ผ่านมาได้มีพายุฝนซัดกระหน่ำลงมาอย่างหนัก ส่งผลให้ถนนหลายสายในเขตเทศบาลเมืองกำแพงเพชรเกิดน้ำท่วมฉับพลัน โดยเฉพาะถนนสายบำรุงราษฎร์รถไม่สามารถสัญจรไปมาได้ น้ำท่วมขังอยู่นานร่วม 1 ชั่วโมง ก่อนไหลลงสู่แม่น้ำปิง ขณะเดียวกัน กระแสลมซัดต้นไม้ใหญ่ริมแม่น้ำโค่นไปหลายต้น และทับรถปิกอัพโตโยต้า วีโก้ ทะเบียน บท 5351 กำแพงเพชร สภาพใหม่เอี่ยม พังเสียหาย นอกจากนี้ยังโค่นทับรถบัสของ อบจ.กำแพงเพชร ที่จอดอยู่ในโรงซ่อมเสียหายอีก 1 คัน

    http://www.thairath.co.th
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="567"><tbody><tr><td valign="top">ผู้ว่าฯสั่งหน่วยงานรัฐเตรียมอพยพปชช.พื้นที่เสี่ยงภัย 3 จุด</td> </tr> <tr> <td valign="top">2 พฤษภาคม 2550 11:28 น.</td> </tr> <tr> <td class="Text_Story" valign="top"><!-- [​IMG] ผู้ว่าฯตาก สั่งจับตา 3 พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม หลังสำรวจพบลำห้วยหลายแห่งตื้นเขิน สั่งย้ายด่วนสิ่งปลูกสร้างกีดขวาง และชิดทางเดินน้ำ หวั่นเหตุโศกนาฏกรรมซ้ำ เตือนหน่วยงานเกี่ยวข้องเร่งใช้แผนเผชิญภัยพร้อมทุกฝ่าย สร้างเกราะคุ้มกันภัยชาวบ้านรับมือ


    (2พค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เนื่องจากหลายพื้นที่มีฝนตกหนัก และที่ผ่านมากรมทรัพยากรธรณีได้ประกาศให้ จ.ตาก เป็นหนึ่งในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม น้ำป่าไหลหลาก หากมีฝนตกลงมาในปริมาณมาก ดังนั้น ทางจังหวัดจึงได้จัดแผนเผชิญภัย เพื่อเตรียมรับมือเป็นการล่วง หน้า โดยมี นายชุมพร พลรักษ์ ผวจ.ตาก เป็นประธานศูนย์เฝ้าระวังอุบัติภัย ด้านนายชุมพร เปิดเผยว่า ขณะนี้ได้ออกสำรวจพื้นที่เสี่ยงภัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พบพื้นที่เสี่ยงภัยรุนแรงรวม 3 แห่ง ได้แก่ พื้นที่ ต.ด่านแม่ละเมา อ.แม่สอด ,ต.สามหมื่น อ.แม่ระมาด และบ้านอุ้มเปี้ยม ต.คีรีราษฎร์ อ.พบพระ รวมทั้งเส้นทางสายพบพระ-อุ้มผาง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ภูเขาสูง ชัน มีชาวเขารุกพื้นทีตัดไม้ทำลายป่า และแผ้วถางทำไร่เลื่อนลอย เป็นบริเวณกว้าง

    นอกจากนี้ยังพบ ร่องน้ำ ลำห้วย ตื้นเขิน และมีบ้านเรือนราษฏรปลูกสร้างเรียงราย กีดขวางทางเดินน้ำหลายร้อยหลังคาเรือน พื้นที่ที่น่าเป็นห่วงที่สุด คือ พื้นที่ ต.ด่านแม่ละเมา อ.แม่สอด ที่เป็นชุมชนหนาแน่น เสี่ยงต่อดินถล่ม และน้ำป่าไหลหลาก ส่วนพื้นที่ ต.สามหมื่น อ.แม่ระมาด ซึ่งเคยเกิดเหตุการณ์น้ำป่าไหลหลากท่วมบ้านเรือนประชาชนในพื้นที่มาแล้ว มีผู้เสียชีวิต สังเวยกับเหตุการณ์นี้หลายคน นอกจากนี้ยังพบบ้านเรือนพังเสียหายหลายหลัง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากสร้างที่พักอาศัยกีดขวาง และอยู่ใกล้ทางเดินน้ำและลำห้วยสาขาตื้นเขิน
    “ส่วนใหญ่จะพบสภาพตื้นเขินของลำห้วย ซึ่งเป็นจุดเสี่ยงหากเกิดน้ำป่าไหลหลากมากะทันหัน จะเอาไม่อยู่ และจะสร้างผลกระทบตามมาภัยหลัง ส่วนสิ่งปลูกสร้างที่กีดขวางทางเดินน้ำ และพื้นที่ริมลำห้วยขณะนี้ได้ประสานหน่วยงานระดับท้องถิ่น เทศบาล และ องค์การบริหารส่วนตำบลในพื้นที่หามาตรการรับมือ และแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนแล้ว หากเกินขีดความสามารถในการแก้ไขก็อาจจำเป็นต้องให้ชาวบ้านย้ายถิ่นฐานหนีไปอยู่ที่ปลอดภัย” นายชุมพร กล่าว
    ผู้ว่าตาก กล่าวอีกว่า สำหรับการรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว ทางจังหวัดได้เตรียมแผนรับมือเผชิญภัย ดินถล่ม และน้ำป่าไหลหลาก และเรียกประชุมระดับนายอำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และ ผู้นำชุมชน ให้ทุกพื้นที่เตรียมพร้อมรับมือ จัดเวรยามเฝ้าระวังตลอด 24 ชั่วโมง รวมทั้งติดตั้งสัญญาณ เตือนภัย และเครื่องวัดปริมาณน้ำฝนที่มอบให้ในพื้นที่เสี่ยงทุกจุด พร้อมทั้งติดตามรายงานการพยากรณ อากาศจากกรมอุตินิยมวิทยาอย่างใกล้ชิด หากมีฝนตกลงหนัก และมีปริมาณน้ำฝนมากผิดปกติ ก็ให้อพยพราษฎรไปยังพื้นที่ปลอดภัยทันที โดยไม่ต้องรีรอ ฟังคำสั่ง พร้อมกับแจ้งประสานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเข้าไปช่วยเหลือโดยด่วน
    ด้าน นายสุเทพ เดชชัยศรี หน.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก กล่าวว่า ขณะนี้จังหวัดได้ส่งเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่สำรวจเครื่องมือเตือนภัย จำพวกไซเรนส่งสัญญาณไกล เครื่องวัดปริมาณน้ำฝน จำนวนทั้งสิ้น กว่า 200 เครื่อง ที่มอบให้หน่วยงานระดับท้องถิ่นดูแลไปเมื่อปีที่แล้ว หากเกิดการชำรุด ก็จะต้องซ่อมแซมให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ ส่วนมาตรการเตรียมรับมืออีกมาตรการหนึ่งคือการซ้อมแผนหนีภัย ซึ่งกำลังอยู่ระหว่างประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดหาสถานที่เหมาะสม คาดว่าน่าจะดำเนินการได้ในเร็วๆ นี้ นายวิริยะ ช่วยบำรุง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดตาก กล่าวว่า กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีนโยบายให้ทางจังหวัดเป็นผู้ประสานงานทุกภาคส่วนเข้ามาดูแลแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติร่วมกัน ในส่วนการรับมือกับภัยธรรมชาติดังกล่าวล่าสุดจังหวัดได้ร่วมกับกรมทรัพยากรธรณี เร่งจัดโครงการอบรมให้ความรู้กับผู้บริหารท้องถิ่น เทศบาล อบต.ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครเตือนภัย ที่มาจากชาวบ้าน เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือระบบเตือนภัยอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เพื่อแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า เพื่อการเตรียมตัวอพยพพี่น้องประชาชนหนีภัย

    --> ผู้ว่าฯตาก สั่งจับตา 3 พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม หลังสำรวจพบลำห้วยหลายแห่งตื้นเขิน สั่งย้ายด่วนสิ่งปลูกสร้างกีดขวาง และชิดทางเดินน้ำ หวั่นเหตุโศกนาฏกรรมซ้ำ เตือนหน่วยงานเกี่ยวข้องเร่งใช้แผนเผชิญภัยพร้อมทุกฝ่าย สร้างเกราะคุ้มกันภัยชาวบ้านรับมือ

    (2พค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เนื่องจากหลายพื้นที่มีฝนตกหนัก และที่ผ่านมากรมทรัพยากรธรณีได้ประกาศให้ จ.ตาก เป็นหนึ่งในจังหวัดพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม น้ำป่าไหลหลาก หากมีฝนตกลงมาในปริมาณมาก ดังนั้น ทางจังหวัดจึงได้จัดแผนเผชิญภัย เพื่อเตรียมรับมือเป็นการล่วง หน้า โดยมี นายชุมพร พลรักษ์ ผวจ.ตาก เป็นประธานศูนย์เฝ้าระวังอุบัติภัย
    ด้านนายชุมพร เปิดเผยว่า ขณะนี้ได้ออกสำรวจพื้นที่เสี่ยงภัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พบพื้นที่เสี่ยงภัยรุนแรงรวม 3 แห่ง ได้แก่ พื้นที่ ต.ด่านแม่ละเมา อ.แม่สอด ,ต.สามหมื่น อ.แม่ระมาด และบ้านอุ้มเปี้ยม ต.คีรีราษฎร์ อ.พบพระ รวมทั้งเส้นทางสายพบพระ-อุ้มผาง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ภูเขาสูง ชัน มีชาวเขารุกพื้นทีตัดไม้ทำลายป่า และแผ้วถางทำไร่เลื่อนลอย เป็นบริเวณกว้าง
    นอกจากนี้ยังพบ ร่องน้ำ ลำห้วย ตื้นเขิน และมีบ้านเรือนราษฏรปลูกสร้างเรียงราย กีดขวางทางเดินน้ำหลายร้อยหลังคาเรือน พื้นที่ที่น่าเป็นห่วงที่สุด คือ พื้นที่ ต.ด่านแม่ละเมา อ.แม่สอด ที่เป็นชุมชนหนาแน่น เสี่ยงต่อดินถล่ม และน้ำป่าไหลหลาก ส่วนพื้นที่ ต.สามหมื่น อ.แม่ระมาด ซึ่งเคยเกิดเหตุการณ์น้ำป่าไหลหลากท่วมบ้านเรือนประชาชนในพื้นที่มาแล้ว มีผู้เสียชีวิต สังเวยกับเหตุการณ์นี้หลายคน นอกจากนี้ยังพบบ้านเรือนพังเสียหายหลายหลัง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากสร้างที่พักอาศัยกีดขวาง และอยู่ใกล้ทางเดินน้ำและลำห้วยสาขาตื้นเขิน
    “ส่วนใหญ่จะพบสภาพตื้นเขินของลำห้วย ซึ่งเป็นจุดเสี่ยงหากเกิดน้ำป่าไหลหลากมากะทันหัน จะเอาไม่อยู่ และจะสร้างผลกระทบตามมาภัยหลัง ส่วนสิ่งปลูกสร้างที่กีดขวางทางเดินน้ำ และพื้นที่ริมลำห้วยขณะนี้ได้ประสานหน่วยงานระดับท้องถิ่น เทศบาล และ องค์การบริหารส่วนตำบลในพื้นที่หามาตรการรับมือ และแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนแล้ว หากเกินขีดความสามารถในการแก้ไขก็อาจจำเป็นต้องให้ชาวบ้านย้ายถิ่นฐานหนีไปอยู่ที่ปลอดภัย” นายชุมพร กล่าว
    ผู้ว่าตาก กล่าวอีกว่า สำหรับการรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว ทางจังหวัดได้เตรียมแผนรับมือเผชิญภัย ดินถล่ม และน้ำป่าไหลหลาก และเรียกประชุมระดับนายอำเภอ ผู้บริหารท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และ ผู้นำชุมชน ให้ทุกพื้นที่เตรียมพร้อมรับมือ จัดเวรยามเฝ้าระวังตลอด 24 ชั่วโมง รวมทั้งติดตั้งสัญญาณ เตือนภัย และเครื่องวัดปริมาณน้ำฝนที่มอบให้ในพื้นที่เสี่ยงทุกจุด พร้อมทั้งติดตามรายงานการพยากรณ อากาศจากกรมอุตินิยมวิทยาอย่างใกล้ชิด หากมีฝนตกลงหนัก และมีปริมาณน้ำฝนมากผิดปกติ ก็ให้อพยพราษฎรไปยังพื้นที่ปลอดภัยทันที โดยไม่ต้องรีรอ ฟังคำสั่ง พร้อมกับแจ้งประสานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเข้าไปช่วยเหลือโดยด่วน
    ด้าน นายสุเทพ เดชชัยศรี หน.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก กล่าวว่า ขณะนี้จังหวัดได้ส่งเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่สำรวจเครื่องมือเตือนภัย จำพวกไซเรนส่งสัญญาณไกล เครื่องวัดปริมาณน้ำฝน จำนวนทั้งสิ้น กว่า 200 เครื่อง ที่มอบให้หน่วยงานระดับท้องถิ่นดูแลไปเมื่อปีที่แล้ว หากเกิดการชำรุด ก็จะต้องซ่อมแซมให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ ส่วนมาตรการเตรียมรับมืออีกมาตรการหนึ่งคือการซ้อมแผนหนีภัย ซึ่งกำลังอยู่ระหว่างประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดหาสถานที่เหมาะสม คาดว่าน่าจะดำเนินการได้ในเร็วๆ นี้
    นายวิริยะ ช่วยบำรุง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดตาก กล่าวว่า กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีนโยบายให้ทางจังหวัดเป็นผู้ประสานงานทุกภาคส่วนเข้ามาดูแลแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติร่วมกัน ในส่วนการรับมือกับภัยธรรมชาติดังกล่าวล่าสุดจังหวัดได้ร่วมกับกรมทรัพยากรธรณี เร่งจัดโครงการอบรมให้ความรู้กับผู้บริหารท้องถิ่น เทศบาล อบต.ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครเตือนภัย ที่มาจากชาวบ้าน เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือระบบเตือนภัยอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เพื่อแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า เพื่อการเตรียมตัวอพยพพี่น้องประชาชนหนีภัย

    http://www.komchadluek.net/
    </td></tr></tbody></table>
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width=567 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>พายุเคลื่อนตัวเข้าภาคเหนือ คาดฝนตกหนักถึงภาคกลาง</TD></TR><TR><TD vAlign=top>3 พฤษภาคม 2550 08:42 น.</TD></TR><TR><TD class=Text_Story vAlign=top><!-- [​IMG] อุตุฯ ออกประกาศเตือนภัยพายุดีเปรสชั่นเคลื่อนตัวเข้าภาคเหนือ ทำให้ฝนตกหนักถึงภาคกลาง ด้านอธิบดีกรมอุตุฯ ระบุ ดีเปรสชั่นก่อตัวบริเวณอ่าวไทยช่วงเมษายนผิดปกติ เผย เกิดขึ้นในรอบ46 ปีหลังจากที่เคยเกิดขึ้นปี 2504
    กรมอุตุนิยมวิทยา ออกประ กาศเตือนภัยพายุดีเปรสชั่น ฉบับที่ 16 (142/2550)ลงวันที่ 3 พฤษภาคม ว่า พายุดีเปรสชั่นในทะเลอัน ดามัน เมื่อเวลา 04.00 น. มีศูนย์กลางอยู่ห่างจากจังหวัดตากไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 600 กิโลเมตร หรือ ที่ละติจูด 13.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 94.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้ยังคงเคลื่อนตัวทางเหนือค่อนทางตะวันตก ด้วยความเร็วประมาณ 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และมีแนวโน้มที่จะเคลื่อนตัวเข้าใกล้ภาคเหนือของประเทศไทย ในช่วงวันที่ 3-4 พฤษภาคม 2550 ลักษณะดังกล่าว ทำให้บริเวณด้านตะวันตกตั้งแต่ภาคเหนือลงมาถึงภาคกลางมีฝนตกเพิ่มมากขึ้น โดยมีฝนตกหนักถึงหนักมากได้บางพื้นที่บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร อุทัยธานี กาญจนบุรี และราชบุรี จึงขอให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยบริเวณจังหวัดดังกล่าวระมัดระวังอันตรายจากน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากที่อาจเกิดขึ้นในช่วงเวลานี้ไว้ด้วย สำหรับคลื่นลมในอ่าวไทยจะมีกำลังอ่อนลง โดยกลับเข้าสู่สภาวะปกติในเย็นวันนี้ ส่วนคลื่นลมในทะเลอันดามันยังคงมีกำลังแรงต่อไปอีก 1-2 วัน
    พยากรณ์อากาศสำหรับประเทศไทยตั้งแต่เวลา 06.00 วันนี้ ถึง 06.00 วันพรุ่งนี้ ภาคเหนือ มีฝนฟ้าคะนองกระจาย ร้อยละ 60 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางพื้นที่ บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก สุโขทัย พิษณุโลก กำแพงเพชร และเพชรบูรณ์ อุณหภูมิต่ำสุด 24 องศา สูงสุด 37 องศา ลมใต้ ความเร็ว 10-20 กม./ชม.
    สำหรับพยากรณ์อากาศสำหรับกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีฝนฟ้าคะนองกระจาย ร้อยละ 60 ของพื้นที่ อุณหภูมิต่ำสุด 25 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
    ด้านนายศุภฤกษ์ ตันศรีรัตนวงศ์ อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา กล่าวว่า จากสถิติพายุที่พัดผ่านเข้าประเทศไทย ซึ่งกลุ่มภูมิอากาศ สำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา เก็บสถิติไว้ระหว่างปี 2494-2549 มีพายุดีเปรสชั่นที่พัดเข้ามาประเทศไทยเพียง 1 ลูกในช่วงเดือนเม.ย.2504 หรือเมื่อ 46 ปีที่ผ่านมาและส่วนใหญ่จะพัดเข้ามาในประเทศไทยในช่วงเดือนพ.ค. มาจากเพียง 6 ลูกโดยส่วนใหญ่จะก่อตัวแถวทะเลจีนใต้และพัดผ่านมาในไทย ส่วนดีเปรสชั่นที่เกิดขึ้นในขณะนี้มีการก่อตัวในแถบอ่าวไทย ทั้งที่ปกติการ เกิดพายุช่วงนี้น่าจะเป็นแถวอันดามัน
    ทางด้านดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผอ.ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (START) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า พายุดีเปรสชั่นที่เกิดขึ้นขณะนี้ค่อนข้างน่าสนใจหลายเรื่อง ซึ่งเชื่อสาเหตุน่ามาจากสภาพอากาศแปรปรวนของช่วงปีนี้ โดยสันนิษฐานว่าความผิดปกติของกระบวนการเกิดมาจากหย่อมความกดอากาศต่ำในอ่าวไทยที่รวมตัวกันและขยายเป็นวงขนาดใหญ่เป็นดีเปรสชั่น ซึ่งเป็นความผิดปกติเรื่องแรก
    เนื่องจาก พายุหมุนเขตร้อนจะมาจากทะเลจีนใต้จะพัดเข้าไทยในช่วงเดือนก.ย.-ต.ค. แต่พายุลูกนี้ฟอร์มตัวในอ่าวไทย และยังมาผิดฤดูกาลผิดช่วงเวลา อย่างไรก็ตาม ถ้าพายุเคลื่อนขึ้นบกแล้วจะ ลดระดับความแรงลงได้ แต่หากลงทะเลและมีปัจจัยดังกล่าวมาแล้วก็น่าเป็นห่วง


    -->
    อุตุฯ ออกประกาศเตือนภัยพายุดีเปรสชั่นเคลื่อนตัวเข้าภาคเหนือ ทำให้ฝนตกหนักถึงภาคกลาง ด้านอธิบดีกรมอุตุฯ ระบุ ดีเปรสชั่นก่อตัวบริเวณอ่าวไทยช่วงเมษายนผิดปกติ เผย เกิดขึ้นในรอบ46 ปีหลังจากที่เคยเกิดขึ้นปี 2504

    กรมอุตุนิยมวิทยา ออกประ กาศเตือนภัยพายุดีเปรสชั่น ฉบับที่ 16 (142/2550)ลงวันที่ 3 พฤษภาคม ว่า พายุดีเปรสชั่นในทะเลอัน ดามัน เมื่อเวลา 04.00 น. มีศูนย์กลางอยู่ห่างจากจังหวัดตากไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 600 กิโลเมตร หรือ ที่ละติจูด 13.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 94.5 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้ยังคงเคลื่อนตัวทางเหนือค่อนทางตะวันตก ด้วยความเร็วประมาณ 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และมีแนวโน้มที่จะเคลื่อนตัวเข้าใกล้ภาคเหนือของประเทศไทย ในช่วงวันที่ 3-4 พฤษภาคม 2550 ลักษณะดังกล่าว ทำให้บริเวณด้านตะวันตกตั้งแต่ภาคเหนือลงมาถึงภาคกลางมีฝนตกเพิ่มมากขึ้น โดยมีฝนตกหนักถึงหนักมากได้บางพื้นที่บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร อุทัยธานี กาญจนบุรี และราชบุรี จึงขอให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยบริเวณจังหวัดดังกล่าวระมัดระวังอันตรายจากน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากที่อาจเกิดขึ้นในช่วงเวลานี้ไว้ด้วย สำหรับคลื่นลมในอ่าวไทยจะมีกำลังอ่อนลง โดยกลับเข้าสู่สภาวะปกติในเย็นวันนี้ ส่วนคลื่นลมในทะเลอันดามันยังคงมีกำลังแรงต่อไปอีก 1-2 วัน

    พยากรณ์อากาศสำหรับประเทศไทยตั้งแต่เวลา 06.00 วันนี้ ถึง 06.00 วันพรุ่งนี้ ภาคเหนือ มีฝนฟ้าคะนองกระจาย ร้อยละ 60 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางพื้นที่ บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก สุโขทัย พิษณุโลก กำแพงเพชร และเพชรบูรณ์ อุณหภูมิต่ำสุด 24 องศา สูงสุด 37 องศา ลมใต้ ความเร็ว 10-20 กม./ชม.
    สำหรับพยากรณ์อากาศสำหรับกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีฝนฟ้าคะนองกระจาย ร้อยละ 60 ของพื้นที่ อุณหภูมิต่ำสุด 25 องศา สูงสุด 31 องศา ลมตะวันออกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.

    ด้านนายศุภฤกษ์ ตันศรีรัตนวงศ์ อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา กล่าวว่า จากสถิติพายุที่พัดผ่านเข้าประเทศไทย ซึ่งกลุ่มภูมิอากาศ สำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา เก็บสถิติไว้ระหว่างปี 2494-2549 มีพายุดีเปรสชั่นที่พัดเข้ามาประเทศไทยเพียง 1 ลูกในช่วงเดือนเม.ย.2504 หรือเมื่อ 46 ปีที่ผ่านมาและส่วนใหญ่จะพัดเข้ามาในประเทศไทยในช่วงเดือนพ.ค. มาจากเพียง 6 ลูกโดยส่วนใหญ่จะก่อตัวแถวทะเลจีนใต้และพัดผ่านมาในไทย ส่วนดีเปรสชั่นที่เกิดขึ้นในขณะนี้มีการก่อตัวในแถบอ่าวไทย ทั้งที่ปกติการ เกิดพายุช่วงนี้น่าจะเป็นแถวอันดามัน

    ทางด้านดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผอ.ศูนย์เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (START) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า พายุดีเปรสชั่นที่เกิดขึ้นขณะนี้ค่อนข้างน่าสนใจหลายเรื่อง ซึ่งเชื่อสาเหตุน่ามาจากสภาพอากาศแปรปรวนของช่วงปีนี้ โดยสันนิษฐานว่าความผิดปกติของกระบวนการเกิดมาจากหย่อมความกดอากาศต่ำในอ่าวไทยที่รวมตัวกันและขยายเป็นวงขนาดใหญ่เป็นดีเปรสชั่น ซึ่งเป็นความผิดปกติเรื่องแรก เนื่องจาก พายุหมุนเขตร้อนจะมาจากทะเลจีนใต้จะพัดเข้าไทยในช่วงเดือนก.ย.-ต.ค. แต่พายุลูกนี้ฟอร์มตัวในอ่าวไทย และยังมาผิดฤดูกาลผิดช่วงเวลา อย่างไรก็ตาม ถ้าพายุเคลื่อนขึ้นบกแล้วจะ ลดระดับความแรงลงได้ แต่หากลงทะเลและมีปัจจัยดังกล่าวมาแล้วก็น่าเป็นห่วง
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://www.komchadluek.net/2007/05/03/a001_112784.php?news_id=112784
     
  14. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,116
    ค่าพลัง:
    +62,425
    ฟิวเจอร์ปาร์ค วันก่อนที่ลมแรง

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     
  15. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ภูเขาหิมะเหม่ยหลี่ถล่ม ตาย1บาดเจ็บ7</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>3 พฤษภาคม 2550 18:05 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=350>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภูเขาหิมะเหม่ยหลี่ ก่อนหิมะถล่ม</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ซินหัวเน็ต-เมื่อวันพุธที่2 พฤษภาคม เวลาประมาณ 14.30น. หิมะถล่มที่จุดชมวิวที่ภูเขาหิมะเหม่ย ลี่ ในมณฑลยูนาน เป็นเหตุให้ นักท่องเที่ยวเสียชีวิต1คน บาดเจ็บสาหัส 2 คน และ บาดเจ็บอีก 5 คน แต่ไม่มีผู้สูญหาย
    หลังเกิดเหตุ ชาวบ้านในบริเวณใกล้เคียงได้รีบรุดเข้าไปที่จุดเกิดเหตุเพื่อเคลื่อนย้ายนักท่องเที่ยวไปที่ปลอดภัย แต่เนื่องจากไม่มีถนนไปที่จุดชมวิว จึงต้องหามผู้บาดเจ็บไปยังหมู่บ้านข้างเคียง กระทั่งตกดึกได้มีเจ้าหน้าที่.อีกกว่า300คนที่ร่วมเข้าช่วยเหลือผู้ประสบอุปบัติเหตุ

    ทังนี้ถูเขาหิมะเหม่ยลี่ อยู่ห่างไป800กิโลเมตรทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจากคุณหมิง เมืองเอกของมณฑลยูนาน เป็นภูเขาที่ตั้งอยู่ระหว่าง มณฑลยูนานและ เขตปกครองตนเองทิเบต

    http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9500000050781</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    [SIZE=+1]ประกาศเตือนภัย
    "พายุดีเปรสชั่น"
    [/SIZE]
    ฉบับที่ 21 (147 / 2550) ลงวันที่ 04 พฤษภาคม 2550
    พายุดีเปรสชั่นบริเวณชายฝั่งตะวันตกของประเทศพม่า เมื่อเวลา 10.00 น.วันนี้ (4 พฤษภาคม 2550 ) มีศูนย์กลางอยู่ห่างจากจังหวัดตากไปทางตะวันตก ประมาณ 700 กิโลเมตร หรือ ที่ละติจูด 15.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 93.0 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้ยังคงเคลื่อนตัวทางเหนือค่อนทางตะวันตกอย่างช้า ๆ คาดว่าจะเคลื่อนเข้าประเทศพม่าประมาณวันที่ 5 พฤษภาคม ลักษณะดังกล่าว จะทำให้บริเวณด้านตะวันตกของประเทศตั้งแต่ภาคเหนือลงไปถึงภาคใต้มีฝนตกเพิ่มมากขึ้น โดยมีฝนตกหนักถึงหนักมากได้บางพื้นที่บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง จึงขอให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยบริเวณจังหวัดดังกล่าว ระมัดระวังอันตรายจาก น้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากที่อาจเกิดขึ้นในวันที่ 4-6 พฤษภาคม โดยเฉพาะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และราชบุรี เนื่องจากมีฝนตกหนักต่อเนื่องมาหลายวัน
    สำหรับคลื่นลมในทะเลอันดามันยังคงมีกำลังแรงต่อไปอีก 1-2 วัน
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    DAILY RAIN FALL DATE : <input name="day" size="5" value="030507" type="text"> (Date Format : 04/May/2007 is : 040507)
    [​IMG][​IMG][​IMG]
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    แผนที่อากาศกรมอุตุนิยมวิทยา <table cellpadding="0" cellspacing="5" width="98%"><tbody><tr bgcolor="#f6f6f6"> <td style="border-top: 1px solid rgb(232, 232, 232); border-bottom: 1px solid rgb(232, 232, 232);" height="25" width="90%"> แผนที่อากาศผิวพื้น </td> </tr> <tr> <td width="100%"> <table border="0" cellpadding="3" cellspacing="0"><tbody><tr><td rowspan="13" class="II" valign="top">[​IMG] 4 พค 50 07:00 น.
    [​IMG]</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    เตือนภัย 17 จังหวัดระวังน้ำท่วม เผย “หัวหิน-กทม.” ฝนตกถึงวันที่ 8 พ.ค. <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">4 พฤษภาคม 2550 12:30 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> กรมทรัพยากรธรณีออกประกาศเตือนภัยประชาชนที่อาศัยในพื้นที่ภูเขาสูง หุบเขาในเขตพื้นที่ฝั่งตะวันตกของประเทศให้ระวังภัยจากดินถล่ม และน้ำป่าไหลหลาก เหตุเพราะผลจากพายุดีเปรสชัน ด้านกรมอุตุนิยมวิทยา เตือน 17 จังหวัดระวังน้ำท่วม “หัวหิน” และกรุงเทพฯ น่าเป็นห่วง เผยจะมีฝนตกต่อเนื่องไปจนถึงวันที่ 8 พ.ค.กรมชลประทานสั่งเฝ้าระวังปริมาณน้ำฝนที่ตกต่อเนื่องช่วงนี้ โดยเขื่อนและอ่างเก็บน้ำยังรองรับน้ำได้ มีน้ำเฉลี่ยร้อยละ 50 เท่านั้น

    นายอภิชัย ชวเจริญพันธ์
    อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี กล่าวว่า กรมฯ ได้ออกประกาศเตือนประชาชนเฝ้าระวังภัยดินถล่มและน้ำป่าไหลหลาก บริเวณพื้นที่ด้านตะวันตกประเทศไทย โดยขอให้ประชาชนในพื้นที่ภูเขาสูง หุบเขา และหมู่บ้านเสี่ยงภัยดินถล่ม บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก กำแพงเพชร กาญจนบุรี และจังหวัดใกล้เคียง โดยเฉพาะในเขตอำเภอเมือง ปางมะผ้า ขุนยวม แม่สะเรียง สบเมย แม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน อำเภอแม่แจ่ม สะเมิง ฮอด อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ อำเภอท่าสองยาง แม่ระมาด แม่สอด พบพระ อุ้มผาง จังหวัดตาก ตรวจเฝ้าระวังภัยดินถล่มและน้ำป่าไหลหลาก ในระยะนี้ เนื่องจากกรมอุตุนิยมวิทยา รายงานว่า พายุดีเปรสชันจะทำให้เกิดฝนตกหนักในพื้นที่ภาคเหนือด้านตะวันตก

    พร้อมทั้งให้ประชาชนเพิ่มความระมัดระวังในการเดินทาง ซึ่งอาจเกิดดินไหลมาปิดทับเส้นทาง หรือหินร่วงจากหน้าผาข้างถนน พร้อมทั้งให้อาสาสมัครเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยดินถล่มของกรมทรัพยากรธรณี เฝ้าระวังภัยอย่างใกล้ชิด

    นายทศพร นุชอนงค์ ผู้อำนวยกองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม กรมทรัพยากรธรณี กล่าวว่า ยังคงให้ศูนย์ปฏิบัติธรณีพิบัติภัยในจังหวัดต่างๆ เฝ้าติดตามปริมาณฝนตกสะสมที่ลงมาในพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม ซึ่งมีอยู่ในด้านตะวันตกของประเทศที่กำลังได้รับอิทธิพลพายุดีเปรสชันขณะนี้ ส่วน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ที่ได้รับปริมาณฝนสะสมต่อเนื่อง ก็ยังอยู่ในสถานการณ์เฝ้าระวังเป็นพิเศษ หากมีฝนตกเพิ่มเติมก็อาจเป็นอันตราย เพราะขณะนี้ดินเริ่มอิ่มตัวแล้ว รวมถึงได้เฝ้าระวังจังหวัดภาคเหนือ เช่น แม่ฮ่องสอน ตาก อุตรดิตถ์ เชียงใหม่ ที่เคยเกิดภัยดินถล่ม ทั้งนี้ ภัยดินถล่มจะขึ้นอยู่กับสภาพทางธรณีวิทยา ชั้นของดิน และความชัน โดยฝนจะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการถล่ม หรือการไหลของดิน ส่วนพื้นที่ดินชุ่มน้ำแต่ยังไม่ถล่ม หากไม่มีฝนตกเพิ่มเติม น้ำในดินจะแห้งไปตามธรรมชาติ และกลับเข้าสู่ภาวะปกติใน 2-3 สัปดาห์

    ด้านนายศุภฤกษ์ ตันศรีรัตนวงศ์ อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา กล่าวถึงสภาพอากาศที่แปรปรวนในขณะนี้ ว่า เนื่องจากพายุดีเปรสชันที่อยู่ในทะเลอันดามันขณะนี้มีการเคลื่อนตัวช้า และเป็นการเคลื่อนตัวเข้าชายฝั่งประเทศพม่า ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยโดยเฉพาะภาคเหนือ ใน จ.แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตราด สุโขทัย กำแพงเพชร นครสวรรค์ ต่อเนื่องถึงอุทัยธานี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี

    อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา กล่าวต่อว่า จังหวัดที่น่าเป็นห่วง คือ จ.ประจวบคีรีขันธ์ โดยเมื่อคืนที่ผ่านมาตลอดจนถึงวันนี้ (4 พ.ค.) จะมีฝนตกบริเวณ อ.หัวหิน ในปริมาณมาก รวมถึงกรุงเทพฯ จะมีปริมาณฝนอย่างต่อเนื่องไปจนถึงวันที่ 8 พ.ค.นี้ นอกจากนี้ จ.ระนอง และพังงา ยังต้องเฝ้าระวังปริมาณน้ำฝนอีก อย่างไรก็ตาม เรือเล็กบริเวณฝั่งทะเลอันดามันควรงดออกจากฝั่งในระยะนี้เพราะมีคลื่นที่สูงถึง 3 เมตร นักท่องเที่ยวควรระมัดระวังในการท่องเที่ยวตามเกาะต่างๆ ทั้งทะเลอันดามัน และอ่าวไทย

    ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ตั้งแต่กลางดึกที่ผ่านมาจนถึงวันนี้ (4 พ.ค.) ยังคงมีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับมีน้ำป่าไหลหลากลงมา ทำให้พื้นที่ในเขตเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ถนนหลายสาย และบ้านเรือนประชาชนถูกน้ำท่วมเสียหาย สัตว์เลี้ยง ทั้งวัว หมู ตายเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ น้ำยังไหลเข้าท่วมเรือนจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ระดับน้ำสูงเกือบ 60 เซนติเมตร เจ้าหน้าที่ต้องระดมนักโทษชั้นดี พร้อมขอกำลังสนับสนุนจากทหารนำกำลังกระสอบทรายมาช่วยปิดกั้นไม่ให้น้ำทะลักเข้าท่วมเรือนจำ และเตรียมพร้อมที่จะอพยพนักโทษขึ้นไปอยู่บนชั้น 2 และบางส่วนจะส่งไปที่เรือนจำกลาง จ.ราชบุรี

    สำหรับทางรถไฟสายใต้ น้ำได้ท่วมสูงเหนือสันราง ระยะทางยาวกว่า 100 เมตร ขบวนรถไฟต้องเคลื่อนตัวอย่างช้าๆ ส่วนบนถนนเพชรเกษม มีน้ำท่วมผิวจราจรเป็นบางช่วง ซึ่งล่าสุด นายประสงค์ พิทูรกิจจา ผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้ประกาศให้ทุกอำเภอ ยกเว้นกิ่ง อ.สามร้อยยอด เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติฉุกเฉินแล้ว

    เวลาประมาณ 10.30 น. นายประสงค์ พิทูรกิจจา ผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เดินทางไปยังบริเวณถนนเพชรเกษม หลัก กม.ที่ 316 ซึ่งมีซากต้นไม้แห้งมากีดขวางทางน้ำสาธารณะ โดยมีเจ้าหน้าที่จากกรมทางหลวงชนบท กรมทางหลวงแผ่นดิน สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นำรถแบ็กโฮมาเคลื่อนย้ายสิ่งกีดขวาง เพื่อไม่ให้น้ำเอ่อล้นถนนเพชรเกษม ซึ่งถือเป็นเส้นเลือดหลักของภาคใต้ หากน้ำท่วมยวดยานสัญจรไม่ได้ จะทำให้เกิดความเสียหายมาก

    ผู้ว่าราชการ จ.ประจวบฯ กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมา เมื่อ 2 วันมี่ผ่านมา ครอบคลุมทั้งพื้นที่ประมาณร้อยละ 70 ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยวันละ 100 มม.แต่ขณะนี้ปรากฏว่า น้ำในพื้นที่ทั้งหมดมีประมาณร้อยละ 70 ของความจุอ่างเก็บน้ำ และสถานที่กักเก็บน้ำ หากฝนตกต่อเนื่องในลักษณะโปรยปรายเช่นนี้ต่อไป ไม่มีปัญหาน้ำท่วม แต่จะมีปัญหาเกี่ยวกับดินถล่ม หรืออันตรายของน้ำชะหน้าดิน เนื่องจากความชุ่มชื้นของดินอุ้มน้ำไว้เต็มที่แล้ว อย่างไรก็ตาม ทางจังหวัดมีเครือข่ายประชาชน อาสาสมัคร และเจ้าหน้าที่ป้องกันสาธารณภัยเตรียมพร้อมช่วยเหลือไว้แล้วตลอด 24 ชั่วโมง

    “ในวันนี้และเมื่อคืนนี้มีฝนตกหนักเพิ่มเติม ทำให้มีน้ำเอ่อและไหลข้ามถนนเพชรเกษมประมาณ 6-7 แห่ง ตั้งแต่ กม.ที่ 300 ขึ้นไป จึงขอฝากประชาชนผู้ใช้เส้นทางถนนเพชรเกษมทั้งขาขึ้น-ล่อง ใช้ความระมัดระวัง” ผู้ว่าฯ ประจวบฯ กล่าว และว่า สำหรับพื้นที่ที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ คือ อ.บางสะพาน และบางสะพานน้อย เนื่องจาก ทั้ง 2 อำเภอยังไม่มีอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่เก็บกักน้ำไว้ แต่โชคดีที่ปริมาณฝนตกลดลงแล้ว ทำให้ปริมาณน้ำลดลง คาดว่าไม่น่าจะท่วม นอกจากนี้ ที่ อ.หัวหิน ซึ่งฝนตกติดต่อกันมาหลายวัน มีน้ำท่วมขังเนื่องจากระบายน้ำลงสู่ทะเลไม่ทัน

    ผู้สื่อข่าวถามถึงเหตุผลในการประกาศให้ จ.ประจวบฯ เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน ผู้ว่าฯ ประจวบ กล่าวว่า ได้ออกประกาศเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม จำนวน 2 อำเภอ วันที่ 3 พฤษภาคม 5 อำเภอ รวมเป็น 7 อำเภอ เหลือกิ่ง อ.สามร้อยยอดเท่านั้น ที่ยังไม่ได้ประกาศเป็นพื้นที่ประสบภัยฯ สำหรับเหตุผลที่ประกาศเนื่องจากมีความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสิ่งก่อสร้างสาธารณประโยชน์ และบ้านเรือนประชาชน จึงจำเป็นต้องประกาศเพื่อใช้งบในการซ่อมแซมและช่วยเหลือประชาชนที่ประสบความเดือดร้อน

    ทางด้าน พล.อ.บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เปิดเผยถึงการให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ประสบปัญหาน้ำท่วม ว่า ที่ผ่านมาเจ้าหน้าที่ได้ประสานข้อมูลกับกรมอุตุนิยมวิทยา เพื่อเตรียมการว่าพื้นที่ใด จังหวัดใดเสี่ยงเกิดภัยธรรมชาติ โดยเช้าวันนี้ (4 พ.ค.) พบว่า ที่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ มีน้ำท่วมขังในพื้นที่ 4 อำเภอ ซึ่งได้ประสานงานให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่ให้ความช่วยเหลือประชาชน พร้อมทั้งเตือนประชาชนในภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ให้เตรียมระมัดระวังพายุดีเปรสชันที่จะพัดผ่าน ซึ่งหากพื้นที่ใดประสบปัญหา ทางกองบัญชาการทหารสูงสุดได้เตรียมการให้ความช่วยเหลือ โดยการประสานกับกองทัพบก กองบินอากาศ หน่วยทหารพัฒนา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ออกให้ความช่วยเหลือประชาชน

    นายบุญสนอง สุชาติพงศ์ โฆษกกรมชลประทาน กล่าวว่า ในขณะนี้ พายุดีเปรสชั่นจากฝั่งอันดามันเข้ามา ทำให้มีฝนตกด้านตะวันตกของประเทศหลายจังหวัด ตั้งแต่ภาคเหนือถึงภาคใต้ ทางกรมชลประทานได้สั่งการให้ผู้อำนวยโครงการชลประทานที่อยู่ในพื้นที่ได้รับผลกระทบทั้งหมดเฝ้าระวังและเตรียมการให้ความช่วยเหลือประชาชนร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ทั้งด้านกำลังคน อุปกรณ์ และเครื่องจักร อย่างไรก็ตาม แม้จะมีปริมาณฝนตกมามาก และเขื่อนอ่างเก็บน้ำหลายแห่งยังสามารถรองรับและเก็บกักน้ำได้ โดยมีปริมาณน้ำเฉลี่ยในขณะนี้ ร้อยละ 50-60 เท่านั้น แต่ทั้งนี้ ยังเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำท่วมในหลายจังหวัด เช่น ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร จนถึงจังหวัดทางภาคเหนือ ได้เร่งให้เจ้าหน้าที่เตรียมการช่วยเหลือไว้แล้ว

    ล่าสุด กรมอุตุนิยมวิทยาได้ประกาศเตือนภัยพายุดีเปรสชันในทะเลอันดามัน ฉบับที่ 21 ว่า เมื่อเวลา 10.00 น.วันนี้ (4 พ.ค.) มีศูนย์กลางอยู่ห่างจากจังหวัดตากไปทางตะวันตก ประมาณ 700 กิโลเมตร หรือที่ละติจูด 15 องศาเหนือ ลองจิจูด 93 องศาตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 55 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พายุนี้ยังคงเคลื่อนตัวทางเหนือค่อนทางตะวันตกอย่างช้า ๆ คาดว่าจะเคลื่อนเข้าประเทศพม่าประมาณวันที่ 5 พฤษภาคม ลักษณะดังกล่าวจะทำให้บริเวณด้านตะวันตกของประเทศตั้งแต่ภาคเหนือลงไปถึงภาคใต้มีฝนตกเพิ่มมากขึ้น โดยมีฝนตกหนักถึงหนักมากได้บางพื้นที่บริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก สุโขทัย กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ และตรัง จึงขอให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยบริเวณจังหวัดดังกล่าว ระมัดระวังอันตรายจากน้ำท่วมฉับพลัน และน้ำป่าไหลหลากที่อาจเกิดขึ้นในวันที่ 4-6 พฤษภาคม โดยเฉพาะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และราชบุรี เนื่องจากมีฝนตกหนักต่อเนื่องมาหลายวัน สำหรับคลื่นลมในทะเลอันดามันยังคงมีกำลังแรงต่อไปอีก 1-2 วัน
     
  20. น้ำริน

    น้ำริน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +102
    [​IMG]
    <TABLE borderColor=#d9d9d9 cellSpacing=0 borderColorDark=#ffffff cellPadding=2 width="100%" borderColorLight=#d9d9d9 border=1><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 16px" align=middle bgColor=#e3adb2 height=25>พายุ "ดีเปรสชัน" </TD></TR><TR><TD width="100%" bgColor=#eeeeee><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD width="15%">ชื่อภาษาไทย: </TD><TD width="30%">ดีเปรสชัน</TD><TD width="20%">ความหมาย: </TD><TD width="35%">-</TD></TR><TR vAlign=top><TD>ชื่อภาษาอังกฤษ: </TD><TD>Tropical Depression</TD><TD>ประเทศที่มาของชื่อ: </TD><TD>-</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><TABLE borderColor=#d9d9d9 cellSpacing=0 borderColorDark=#ffffff cellPadding=2 width="100%" borderColorLight=#d9d9d9 border=1><TBODY><TR class=RH><TD width="12%">วันที่ </TD><TD width="10%">เวลา </TD><TD width="20%">ระดับความรุนแรง </TD><TD width="17%">ความเร็วใกล้ศูนย์กลาง </TD><TD width="18%">ละติจูด </TD><TD width="19%">ลองจิจูด </TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>05 พ.ค. 50 </TD><TD>07:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>17° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>96° 30' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>05 พ.ค. 50 </TD><TD>01:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>17° 00' 00'' เหนือ </TD><TD>95° 30' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>04 พ.ค. 50 </TD><TD>19:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>15° 48' 00'' เหนือ </TD><TD>94° 00' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>04 พ.ค. 50 </TD><TD>13:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>15° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>93° 30' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>04 พ.ค. 50 </TD><TD>07:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>15° 00' 00'' เหนือ </TD><TD>93° 00' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>04 พ.ค. 50 </TD><TD>01:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>14° 00' 00'' เหนือ </TD><TD>93° 00' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>03 พ.ค. 50 </TD><TD>19:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>13° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>93° 12' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>03 พ.ค. 50 </TD><TD>13:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>13° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>93° 30' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>03 พ.ค. 50 </TD><TD>07:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>13° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>94° 00' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>03 พ.ค. 50 </TD><TD>01:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>13° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>94° 00' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>02 พ.ค. 50 </TD><TD>19:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>11° 36' 00'' เหนือ </TD><TD>95° 00' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>02 พ.ค. 50 </TD><TD>13:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>11° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>95° 00' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>02 พ.ค. 50 </TD><TD>07:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>11° 00' 00'' เหนือ </TD><TD>96° 00' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>02 พ.ค. 50 </TD><TD>01:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>50 </TD><TD>10° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>98° 30' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>01 พ.ค. 50 </TD><TD>19:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>50 </TD><TD>10° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>99° 12' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RADS align=middle><TD>01 พ.ค. 50 </TD><TD>13:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>55 </TD><TD>10° 30' 00'' เหนือ </TD><TD>99° 30' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RDS align=middle><TD>01 พ.ค. 50 </TD><TD>10:00 </TD><TD>พายุดีเปรสชันเขตร้อน </TD><TD>50 </TD><TD>10° 00' 00'' เหนือ </TD><TD>100° 00' 00'' ตะวันออก </TD></TR><TR class=RF><TD></TD><TD>เวลาไทย </TD><TD></TD><TD>กิโลเมตร/ชั่วโมง </TD><TD></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 พฤษภาคม 2007

แชร์หน้านี้

Loading...