<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ไฮไลท์“ลอยกระทง” เสน่ห์สีสันแห่งสายน้ำ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>17 พฤศจิกายน 2553 16:37 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>สีสันยี่เป็งเมืองเชียงใหม่</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> รวบรวมเทศกาลลอยกระทงที่มีเอกลักษณ์ ในหลายจังหวัดของประเทศไทย ทั้งงานหลักของทุกปีและลอยกระทงแบบพื้นบ้าน เพื่อการวางแผนสำหรับเดินทางท่องเที่ยว ในเทศกาลแห่งความสุขนี้ "วันเพ็ญเดือนสิบสอง น้ำนองเต็มตลิ่ง" ได้ยินเพลงลอยกระทงเมื่อไร ก็ได้เวลาเตรียมตัวนับถอยหลังเข้าสู่เทศกาลงานประเพณีลอยกระทง อีกประเพณีสำคัญของไทย แม้ปีนี้สายน้ำจะมากเป็นพิเศษจนท่วม(หนัก)ในหลายพื้นที่ของเมืองไทย แต่เพื่อเป็นการสืบสานงานลอยกระทงประเพณีอันดีงามไปพร้อมๆกับการจัดงานเฉลิมฉลองรื่นเริงตามนิสัยสนุกสนานของคนไทย อีกทั้งเป็นการให้คนไทยได้ขอขมาลาโทษต่อพระแม่คงคา ซึ่งในปีนี้คนไทยอาจต้องขอพรจากแม่น้ำเพิ่มเป็นพิเศษว่า ในปีหน้าอย่าให้เกิดภาวะน้ำแล้ง น้ำท่วม สร้างความเดือดร้อนแก่พี่น้องคนไทย </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>กระทงสาย ไหลประทีป</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> สำหรับปีนี้การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย(ททท.)ได้ชูประเพณีลอยกระทงเด่นๆใน 7 พื้นที่หลักทั่วประเทศเป็นไฮไลท์สำคัญของงานลอยกระทงทั่วไทยที่ถือเป็นงานลอยกระทงในกระแสหลัก ขณะที่ในอีกหลายพื้นที่ แม้จะไม่ได้มีการจัดงานลอยกระทงอย่างยิ่งใหญ่ แต่ว่างานลอยกระทงในแบบพื้นบ้าน แบบท้องถิ่นของเขาก็น่าสนใจไปด้วยเสน่ห์วิถีสีสันอันเป็นเอกลักษณ์ นับเป็นงานประเพณีลอยกระทงพื้นบ้านที่น่าสนใจยิ่ง ซึ่งปีนี้“ตะลอนเที่ยว” ได้รวบรวมเอาเทศกาลลอยกระทงที่น่าสนใจจากหลากหลายที่ในเมืองไทย มาให้ผู้สนใจได้พิจารณากันก่อนที่จะวางแผนไปเที่ยว ในวันลอยกระทงที่กำลังจะมาถึงในคืนวันที่ 21 พ.ย. นี้ </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>แสงเสียงที่สุโขทัย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> ไฮไลท์ลอยกระทง “สีสันยี่เป็งเมืองเชียงใหม่” : “ประเพณียี่เป็ง” เป็นประเพณีสำคัญของชาวล้านนาที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมาเมื่อครั้งอดีต เป็นการทำบุญในเดือน “ยี่” (เดือน 2 ของปฏิทินชาวล้านนา หรือเดือน 12 ของทางภาคกลาง) วัน “เป็ง” (วันพระจันทร์เต็มดวง) ก่อนจะถึงวันยี่เป็ง ชาวบ้านจะนำเอาใบมะพร้าว ต้นกล้วย อ้อย ดอกไม้ต่างๆ และประดับด้วยโคมไฟ ตุงช่อ ประทีป มาตกแต่งซุ้มประตูบ้าน และประตูวัด เรียกว่า “ประตูป่า” โดยมีความเชื่อว่าเป็นการต้อนรับพระเวสสันดรเสด็จกลับเข้าสู่เมืองชาติสุดท้ายก่อนสำเร็จเป็นองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า สำหรับงาน “สีสันยี่เป็งเมืองเชียงใหม่ประจำปี 2553” ที่ถือเป็นหนึ่งในไฮไลท์สำคัญของงานลอยกระทงในบ้านเรา จะเริ่มขึ้นในระหว่างวันที่ 10-31 พ.ย.นักท่องเที่ยวสามารถชมประติมากรรมโคมไฟสีสันยี่เป็งเมืองเชียงใหม่ ลานโคมไฟมหัศจรรย์หิมพานต์สัตว์มงคลแห่งขุนเขา และลานโคมไฟนานาชาติ ได้ตลอดเดือน พ.ย. ร่วมด้วยกิจกรรมต่างๆ มากมาย และพลาดไม่ได้กับภาพแห่งความประทับใจของการปล่อยโคมลอยถวายเป็นพุทธบูชานับพันดวง ณ ธุดงคสถานล้านนา อ.สันทราย ในค่ำคืนวันที่ 20 พ.ย. </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เรือประดับไฟ ในเจ้าพระยา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> “ประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป 1,000 ดวง” : งานลอยกระทงของจังหวัดตากที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทั่วประเทศ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของชาวบ้าน ตัวกระทงที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นทำจากกะลามะพร้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้ที่ได้จากการประกอบอาหารมองผิวเผินอาจเป็นเพียงเศษวัสดุเหลือใช้ที่รอการทำลาย แต่ด้วยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวตาก กะลาเหล่านั้นได้ ถูกนำมารังสฤษฏ์ประดิษฐ์ร้อยจนกลายเป็นกระทงที่มีความสวยงามจนมาเป็นประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป 1,000 ดวง ที่มีการแข่งขันกันระหว่างชุมชนต่างๆดังที่เห็นในปัจจุบัน ภายในงาน จะสามารถมองเห็นสายกระทงเป็นสายคดเคี้ยวไปตามร่องน้ำที่เป็นธรรมชาติ มีไฟส่องแสงระยิบระยับอยู่กลางแม่น้ำปิงจนสุดสายตา ร่วมร้องรำทำเพลงพร้อมแสดงอย่างสนุกสนานครื้นเครงตามแบบประเพณีวัฒนธรรมไทย รวมทั้งร่วมชมขบวนแห่กระทงสายของชุมชนต่างๆ การประกวดกระทงนำ กระทงตาม และกระทงปิดท้าย ซึ่งงานนี้จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 19-22 พ.ย. บริเวณริมสายธาร ลานกระทงสาย เชิงสะพานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ขบวนแห่ สีสันของงานลอยกระทง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> “ลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ” : คงไม่มีใครที่จะปฏิเสธถึงความยิ่งใหญ่ของงานลอยกระทงประจำจังหวัดสุโขทัย เพราะด้วยความที่ขึ้นชื่อในงานพิธีเผาเทียนเล่นไฟแบบโบราณ และการแสดงแสงเสียงอันงดงามตระกาลตา โดยใช้บทการแสดงของกรมศิลปากร ซึ่งตรวจทานแก้ไขโดย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ตลอดจนขบวนอัญเชิญพระประทีปและกระทงพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ นอกจากนั้น ยังมีกิจกรรมน่าสนใจอีกมากมาย อาทิ การจำลองวิถีชีวิตสมัยกรุงสุโขทัยที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน อาทิ ตลาดปสาน ตลาดน้ำ พิธีบวงสรวงบุรพ กษัติรย์สุโขทัยทุกพระองค์ ดังเราได้ย้อนกลับไปสู่อดีตอีกครั้งหนึ่ง โดยงานปีนี้จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ ระหว่างวันที่ 19 - 21 พ.ย. ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=350> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ลอยกระทงย้อนยุค</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> “ประเพณีลอยกระทงกาบกล้วยเมืองแม่กลอง” : ประเพณีของจังหวัดสมุทรสงคราม เรียบง่าย ประหยัด จนกลายมาเป็นเอกลักษณ์ของเมืองแม่กลองตราบจนปัจจุบัน แต่กว่าจะมาเป็นกระทงกาบกล้วยนั้นต้องผ่านขั้นตอนมากมายตั้งแต่ นำธูปจุ่มน้ำมันยาง แล้วคลี่ผึ่งแดดจนแห้ง ทำเช่นนี้ 3 ครั้ง และชุบด้วยเทียน จากนั้นนำต้นกล้วยมาหั่นเป็นท่อน ๆ ยาวประมาณ 8-10 นิ้ว ลอกออกทีละกาบ และนำธูปที่เตรียมไว้มาปักลงบนกาบกล้วยจึงจะครบขั้นตอน ในปีนี้งานลอยกระทงกาบกล้วยนั้นจะจัดขึ้นในวันที่ 21 พ.ย. บริเวณอุทยานพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (อุทยาน ร.2) ภายในงานมีการแสดงโขนโดยยุวศิลปินจากมูลนิธิ ร.2 รำวงพื้นบ้าน และที่พลาดไม่ได้เลยคือการปล่อยกระทงกว่าหนึ่งแสนใบ </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ลอยกระทงตามประทีป</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> “เทศกาลโคมไฟ...สีสันเมืองใต้ ” : งานแสงสีอันยิ่งใหญ่ซึ่งเป็นการร่วมมือกันระหว่าง จังหวัดสงขลาและกระทรวงวัฒนธรรมสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดงานเทศกาลโคมไฟ สีสันเมืองใต้ โดยจะแบ่งเป็น 11 มหัศจรรย์โคมไฟ ได้แก่ โซนที่ 1 โคมไฟเฉลิมพระเกียรติ โซนที่ 2 โคมไฟแบรนด์สินค้าต่าง ๆ และประติมากรรมร่วมสมัย โซนที่ 3 โคมไฟจินตนาการโลกของเด็ก โซนที่ 4 โคมไฟนานาชาติ โซนที่ 5 โคมไฟไทย 4 ภาค โซนที่ 6 โคมไฟโลกของสัตว์ โซนที่ 7 โคมไฟ Hi-Light เทศกาลต่าง ๆ โซนที่ 8 โคมไฟท่องเที่ยว 14 จังหวัดสีสันเมืองใต้ โซนที่ 9 โคมไฟเทพมหามงคล (โคมกลางน้ำ) โซนที่ 10 โคมไฟเมืองหาดใหญ่ และโซนสุดท้ายคือ โคมไฟน้ำแข็ง โดยฝีมือช่างต้นตำรับจากเมืองฮาร์บิน สาธารณรัฐประชาชนจีน สำหรับงานเทศกาลโคมไฟ สีสันเมืองใต้จะจัดขึ้นเป็นระยะยาวตั้งแต่วันที่ 1 พ.ย.53 -28 ก.พ. 54เวลา 17.00-23.00 น. ณ สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>กระทงมันสำปะหลัง ไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อม</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> “ลอยกระทงตามประทีป ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ” : งานลอยกระทงเมืองกรุงเก่า อยุธยา เป็นอีกหนึ่งงานที่เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวเป็นอย่างดี ด้วยการสืบสานประเพณีลอยประทีป ซึ่งเป็นพระราชพิธีเก่าแก่ของชาวอยุธยาในอดีตจำลองมาเป็นการแสดงประเพณีการลอยกระทงตามประทีปของพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พร้อมทั้งพิธีอาบเพ็ญ และการประกวดไหลเรือไฟ นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมน่าสนใจอีกหลากหลาย อาทิ ตลาดนัดวันวาน ได้จำลองบรรยากาศและสินค้าเมื่อครั้งวันวาน ในบรรยากาศถนนคนเดิน และการประกวดกระทงชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ โดยงานปีนี้จะจัดจึ้นในวันที่ 21 พ.ย. ตั้งแต่เวลา 16.00 - 01.00 น. บริเวณศูนย์ศิลปาชีพบางไทร อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=350> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ช่วยกันรณรงค์ งานลอยกระทงปลอดเหล้า</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> “สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง” : งานลอยกระทงยิ่งใหญ่ของชาวกรุงเทพฯ ซึ่งเต็มอิ่มไปด้วยบรรยากาศเทศกาลงานรื่นเริง และสีสันวันลอยกระทงย้อนยุค ในแบบกรุงรัตนโกสินทร์ ไฮไลท์ในปีนี้คือพิธีเปิด ชมขบวนเรือประดับไฟฟ้าการประดับไฟฟ้าส่องสว่าง 2 ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ขบวนเรือล่องตั้งแต่สะพานกรุงเทพ ถึง สะพานกรุงธน หลังจากนั้นจะจอดให้นักท่องเที่ยวได้ชมเรือประดับไฟฟ้าตามจุดที่กำหนด คือ สวนสาธารณะสะพานพระราม 8 สวนสันติชัยปราการ ฝั่งตรงข้ามสวนสันติชัยปราการ สำนักเทศกิจกรุงเทพ และวัดระฆัง งานสีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทงนี้จะเริ่มตั้งแต่ 19-21 พ.ย. โดยมีพิธีเปิดที่สวนสันติชัยปราการในค่ำวันที่ 19 พ.ย. </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เทศกาลโคมไฟ...สีสันเมืองใต้</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> ลอยกระทงพื้นบ้าน กระทงสาย (ลอยถาด) ลอยกระทงพื้นบ้านโพธาราม งานลอยกระทงของจังหวัดราชบุรี เรียกได้ว่าเป็นประเพณีลอยกระทงของชาวมอญที่น่าสนใจ โดย ประเพณีลอยกระทงพื้นบ้าน โดยเป็นกระทงสายที่ประดิษฐ์ขึ้นจากกระดาษ นำมาใส่ในถาดแล้วจึงนำไปลอย นอกจากนั้นยังมีประเพณีตามประทีป คือการวาางประทีปไว้รอบๆ วิหาร และอุโบสถของวัดเพื่อความเป็นสิริมงคล สิงเสริมโชคชะตาให้รุ่งโรจน์สว่างไสวเหมือนประทีปยามค่ำคืน ในปีนี้ งานลอยกระทงพื้นบ้านของโพธารามนั้นจะจัดขึ้น ณ วัดไทรอารีรักษ์ ในคืนวันที่ 21 พ.ย.นี้ ลอยกระทงพื้นบ้านตลาดน้ำดำเนินสะดวก อีกงานลอยกระทงของจังหวัดราชบุรี ซึ่งจะเป็นงานลอยกระทงตามแบบวิถีชีวิตชาวบ้าน 2 ฝั่งคลอง ซึ่งจะมีกิจกรรมทั้ง ตักบาตรทางน้ำ พระสงฆ์จำนวน 99 รูป แข่งเรือ ขบวนเรือผ้าป่าทางน้ำ พร้อมกระทงเอกบนเรือ พร้อมชมการปล่อยกระทงเอกและกระทงสายประกอบการแสดง ณ เวทีกลางน้ำ ตลอดจน การแสดงบนเวที ดนตรีย้อนยุค ลิเก ภาพยนตร์กลางแปลง ที่น่าสนใจอีกมากมาย ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 21 พ.ย. ณ ตลาดน้ำดำเนินสะดวก (ปากคลองลัดพลี) </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>การแสดงเทิดพระเกียรติ อีกความภูมิใจของชาวไทย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> ลอยกระทงย้อนยุค “ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ” งานลอยกระทงของจังหวัดลพบุรี ที่ได้จัดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2539 เพื่อเป็นช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้ประชาชนและเยาวชนได้แสดงออกทางวัฒนธรรมไทย สร้างแนวคิดทางศิลปะการประดิษฐ์ให้อยู่กับคนรุ่นหลัง ควบคู่ไปกับการสร้างความสนุกสนานรื่นเริ่งไปกับกิจกรรมมากมายตั้งแต่ ขบวนแห่ประวัติศาสตร์งานประเพณีลอยกระทง 3 ยุค 3 สมัย ตั้งแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา จนมาถึงในยุคของจอมพล ป. พิบูลสงคราม และประชาชนที่พร้อมใจกันใส่เสื้อผ้าย้อนยุค ก็เป็นอีกสเหน่ห์ของงานนี้ โดยในปีนี้จะจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 20 - 21 พ.ย.ณ บริเวณวงเวียนศรีสุริโยทัย (วงเวียนสระแก้ว) อ.เมือง จ.ลพบุรี ประเพณีลอยกระทงกับช้าง งานลอยกระทงของจังหวัดสุรินทร์ ที่ประยุกต์วิถีชีวิตของคนที่อาศัยอยู่คู่กับช้าง มาจัดเป็นประเพณีลอยกระทงที่เป็นเอกลักษณ์ของเมืองสุรินทร์ ในปีนี้จะมีขบวนแห่ช้าง 9 เชือก และขบวนแห่สืบสานประเพณีท้องถิ่นเมืองสุรินทร์ ที่จะเคลื่อนขบวนไปรอบๆ เมือง ตลอดจนการประกวดกระทงและนางนพมาศ ในปี้นี้จะจัดขึ้นในวันที่ 21 พ.ย. ตั้งแต่เวลา 16.00 น. เป็นต้นไป ณ บริเวณสระน้ำวัดจุมพลสุทธาวาส และบริเวณปะรำพิธีเวทีไผทสราญ </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=450 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=450> </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>การแสดงเทิดพระเกียรติ อีกความภูมิใจของชาวไทย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5></TD></TR></TBODY></TABLE> แสงเทียนนับพัน เต้นระบำบนท้องทะเล งานลอยกระทงของจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งปีนี้จะจัดขึ้นเป็นปีแรก ซึ่งจะเนรมิตทะเลที่หาดเจ้าสำราญ ให้กลายเป็นท้องน้ำที่เต็มไปด้วยแสงจากดวงประทีปกว่า 3,000 ดวง จากนั้นเราก็จะได้เห็นแสงเทียนที่กำลังเต้นระบำอยู่บนระลอกคลื่น ซึ่งคาดว่าจะเป็นสีสันใหม่ของงานลอยกระทงของจังหวัด ซึ่งจะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 21 พ.ย. บริเวณสวนภูมิทัศน์หน้าหาด หาดเจ้าสำราญ จ.เพชรบุรี และนั่นก็คือส่วนหนึ่งของงานลอยกระทงพื้นบ้านกับไฮไลท์งานลอยกระทง 7 แห่ง ที่คืนวันเพ็ญเดือนสิบสองนี้ แม่น้ำทุกสายคงสว่างไสวไปด้วยแสงเทียนจากการลอยกระทง ซึ่งยังไงๆ “ตะลอนเที่ยว”ก็ขอฝากผู้ที่จะลอยกระทงทั้งหลายคัดเลือกวัสดุที่เหมาะสมไปลอยลงแม่น้ำลำคลอง ทั้งนี้ก็เพื่อไม่เป็นการสร้างมลภาวะต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE> Travel - Manager Online -
วันลอยกระทง จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญวันหนึ่งของชาวไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา "มักจะ" ตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายนปฏิทินสุริยคติ ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคา บางหลักฐานเชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธบาทที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุตอรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับประเทศไทยประเพณี ลอยกระทงได้กำหนดจัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่ติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ แหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งแต่ละพื้นที่ก็จะมีเอกลักษณ์ที่น่าสนใจแตกต่างกันไป ตาม ในวันลอยกระทง ผู้คนจะพากันทำ "กระทง" จากวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ตบแต่งเป็นรูปคล้ายดอกบัวบาน ปักธูปเทียน และนิยมตัดเล็บ เส้นผม หรือใส่เหรียญกษาปณ์ลง ไปในกระทง แล้วนำไปลอยในสายน้ำ (ในพื้นที่ติดทะเล ก็นิยมลอยกระทงริมฝั่งทะเล) เชื่อว่าเป็นการลอยเคราะห์ไป นอกจากนี้ยังเชื่อว่าการลอยกระทง เป็นการบูชาพระแม่คงคาด้วย <table id="toc" class="toc"> <tbody><tr> <td> เนื้อหา [ซ่อน] 1 ประวัติ 2 ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น 3 ความเชื่อเกี่ยวกับวันลอยกระทง 4 อ้างอิง 5 แหล่งข้อมูลอื่น </td> </tr> </tbody></table> [แก้] ประวัติ พลุเฉลิมฉลองในเทศกาลวันลอยกระทงริมแม่น้ำเจ้าพระยา เดิมเชื่อกันว่าประเพณีลอยกระทงเริ่มมีมาแต่สมัยสุโขทัย ในรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหง โดยมีนางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นผู้ประดิษฐ์กระทงขึ้นครั้งแรก โดยแต่เดิมเรียกว่าพิธีจองเปรียง ที่ลอยเทียนประทีป และนางนพมาศได้นำดอกโคทม ซึ่งเป็นดอกบัวที่บานเฉพาะวันเพ็ญเดือนสิบสองมาใช้ใส่เทียนประทีป<sup class="noprint Template-Fact">[ต้องการอ้างอิง]</sup> แต่ปัจจุบันมีหลักฐานว่าไม่น่าจะเก่ากว่าสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยอ้างอิงหลักฐานจากภาพจิตรกรรมการสร้างกระทงแบบต่างๆ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ปัจจุบันวันลอยกระทงเป็นเทศกาลที่สำคัญของไทย ที่มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศมาเที่ยวปีละมากๆ ทั้งนี้ในช่วงเวลาดังกล่าวมักจะเป็นช่วงต้นฤดูหนาว และมีอากาศดี ในวันลอยกระทง ยังนิยมจัดประกวดนางงาม เรียกว่า "นางนพมาศ" [แก้] ประเพณีในแต่ละท้องถิ่น โคมลอยยี่เป็ง ภาคเหนือตอนบน นิยมทำโคมลอย เรียกว่า "ลอยโคม" หรือ "ว่าวฮม" หรือ "ว่าวควัน" ทำจากผ้าบางๆ แล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบอลลูนยี่เป็ง หมายถึงการทำบุญในวันเพ็ญเดือนยี่(ซึ่งนับวันตามแบบล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองในแบบไทย) ประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่า จังหวัดตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรียงรายไปเป็นสาย เรียกว่า "กระทงสาย" จังหวัดสุโขทัย ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง ภาคอีสาน ในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว่า สิบสองเพ็ง หมายถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองซึ่งจะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป เช่น จังหวัดสกลนคร ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลักษณะคล้ายกับการทำปราสาทผึ้งโบราณ เรียกงานนี้ว่าเทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิบสองเพ็งไทสกล จังหวัดนครพนม จะตบแต่งเรือแล้วประดับไฟ เป็นรูปต่างๆ เรียกว่า "ไหลเรือไฟ"โดยเฉพาะที่จังหวัดนครพนมเพราะมีความงดงามและอลังการที่สุดในภาคอีสาน กรุงเทพมหานคร จะมีงานภูเขาทอง เป็นรูปแบบงานวัด เฉลิมฉลองราว 7-10 วัน ก่อนงานลอยกระทง และจบลงในช่วงหลังวันลอยกระทง ภาคใต้ อย่างที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก็มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ นอกจากนั้น ในจังหวัดอื่นๆ ก็จะจัดงานวันลอยกระทงด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ในแต่ละท้องถิ่นยังอาจมีประเพณีลอยกระทงที่แตกต่างกันไป และสืบทอดต่อกันเรื่อยมา [แก้] ความเชื่อเกี่ยวกับวันลอยกระทง เป็นการขอขมาพระแม่คงคา ที่มนุษย์ได้ใช้น้ำ ได้ดื่มกินน้ำ รวมไปถึงการทิ้งสิ่งปฏิกูลต่างๆ ลงในแม่น้ำ เป็นการสักการะรอยพระพุทธบาท ที่พระพุทธเจ้าทรงได้ประทับรอยพระบาทไว้หาดทรายแม่น้ำนัมมทานที ในประเทศอินเดีย เป็นการลอยความทุกข์ ความโศกรวมถึงโรคภัยต่างๆ ให้ลอยไปกับแม่น้ำ ชาวไทยในภาคเหนือมีความเชื่อว่า การลอยกระทงเป็นการบูชาพระอุปคุต ตามตำนานเล่าว่า พระอุปคุตทรงสามารถปราบพระยามารได้ [แก้] อ้างอิง ปัณณวัฒน์. ปฏิทิน 100 ปี พ.ศ. 2468-2568 คัมภีร์พยากรณ์คู่บ้าน. กรุงเทพฯ : ไพลิน, 2550. ISBN 974-455-535-1 ประเพณีลอยกระทง [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น เว็บไซต์ลอยกระทงของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ดึงข้อมูลจาก "วันลอยกระทง - วิกิพีเดีย". หมวดหมู่: วันสำคัญของไทย | ประเพณีไทย
<table border="0" cellpadding="5" cellspacing="1" width="100%"><tbody><tr><td class="std-b">ลอยกระทงทั่วไทย</td> </tr> <tr> <td class="std-b"> </td> </tr> <tr> <td class="std-b" align="center" bgcolor="#b38a5b"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="97%"> <tbody><tr> <td height="404"> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td class="std-b"> </td> </tr> <tr> <td><table border="0" cellpadding="10" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr class="std01"> <td width="30%">ภาคเหนือ</td> <td width="70%">กำแพงเพชร, เชียงราย, เชียงใหม่, ตาก, นครสวรรค์, น่าน, พะเยา, พิจิตร, พิษณุโลก, เพชรบูรณ์, แพร่, แม่ฮ่องสอน, ลำปาง, ลำพูน, สุโขทัย, อุตรดิตถ์, อุทัยธานี </td> </tr> <tr class="std01"> <td>ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ</td> <td>กาฬสินธุ์, ขอนแก่น, ชัยภูมิ, นครพนม, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, มหาสารคาม, มุกดาหาร, ยโสธร, ร้อยเอ็ด, เลย, ศรีสะเกษ, สกลนคร, สุรินทร์, หนองคาย, หนองบัวลำภู, อำนาจเจริญ, อุดรธานี, อุบลราชธานี </td> </tr> <tr class="std01"> <td>ภาคตะวันออก</td> <td>จันทบุรี, ชลบุรี, ตราด, ระยอง</td> </tr> <tr class="std01"> <td>ภาคกลาง</td> <td>กรุงเทพมหานคร, กาญจนบุรี, ฉะเชิงเทรา, ชัยนาท, นครนายก, นครปฐม, นนทบุรี, ปทุมธานี, ประจวบคีรีขันธ์, ปราจีนบุรี, พระนครศรีอยุธยา, เพชรบุรี, ราชบุรี ลพบุรี, สมุทรปราการ, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร, สระแก้ว, สระบุรี, สิงห์บุรี, สุพรรณบุรี, อ่างทอง</td> </tr> <tr class="std01"> <td>ภาคใต้</td> <td>กระบี่, ชุมพร, ตรัง, นครศรีธรรมราช, นราธิวาส, ปัตตานี, พังงา, พัทลุง, ภูเก็ต, ยะลา, ระนอง, สงขลา, สตูล, สุราษฎร์ธานี</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table> Loikrathong:: สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง 2553
<table border="0" cellpadding="5" cellspacing="1" width="100%"><tbody><tr><td class="top-content">สอนทำกระทง</td> </tr> <tr> <td class="std-b"><table border="0" width="537"> <tbody><tr class="std-b"> <td width="75"> </td> <td width="85"> </td> <td width="87"> </td> <td width="272"> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="2" width="100%"> <tbody><tr class="small-gold"> <td></td> <td></td> <td></td> </tr> <tr class="small-gold"> <td>คอร์สทำกระทงแบบที่ ๑</td> <td>คอร์สทำกระทงแบบที่ ๒</td> <td>คอร์สทำกระทงแบบที่ ๓</td> </tr> <tr class="small-gold"> <td>ดูรายละเอียดเพิ่มเติม</td> <td>ดูรายละเอียดเพิ่มเติม</td> <td>ดูรายละเอียดเพิ่มเติม</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td> </td> </tr> <tr> <td class="std01">การทำกระทงจากวัสดุธรรมชาติ</td> </tr> <tr> <td class="std01"> </td> </tr> <tr> <td class="std01" valign="top"> วิธีทำกระทง ใบตอง ส่วนของตัวกระทง ใช้หยวกกล้วย หรือวัตถุที่ย่อยสลายได้ตัดให้เป็นวงโดยสูงประมาณ๑-๒.๕ นิ้ว ส่วนขนาดแล้วแต่ความพอใจ ขั้นตอนต่อคือการนำเอาใบตองมาพับเป็นรูปทรงต่างๆ เพื่อประดิษฐ์เป็นกระทง</td></tr></tbody></table> Loikrathong:: สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง 2553 . .
<table border="0" cellpadding="5" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr><td class="std-b">สอนทำกระทง</td> </tr> <tr> <td class="small-gold">แบบที่ ๑ กลีบผกา | แบบที่ ๒ กลีบกุหลาบ | แบบที่ ๓ หัวขวาน</td> </tr> <tr> <td>แบบที่ ๑ กลีบผกา</td> </tr> <tr> <td class="small-gold"></td> </tr> <tr> <td class="std-pink">วิธีทำ</td> </tr> <tr> <td class="std01">๑. ตัดใบตองขนาดความกว้าง ๑.๕ นิ้ว ยาว ๖ นิ้ว โดยประมาณ ๒. พับตามรูป จำนวน ๓ กลีบ จากนั้นนำมาวางซ้อนให้ลดหลั่นกันไปตามภาพ ซึ่งจะนับเป็น ๑ ตับ ๓. นำไปติดโดยรอบที่ขอบของฐานกระทง ซึ่งเป็นต้นกล้วยตัดเป็นแว่น ความหนา ๑.๕ - ๒ นิ้ว โดยประมาณ ทั้งนี้ปริมาณของกลีบกระทงที่ใช้จะมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของตัวฐาน ๔. จากนั้นประดับด้วยดอกไม้ตามความชอบ และปักธูปเทียนลงไป เป็นอันเสร็จ สามารถนำการพับใบตองรูปแบบนี้ไปใช้ร่วมกับการพับรูปแบบอื่นๆ ในผลงานชิ้นเดียวกันได้ตามความชอบ และความคิดดัดแปลง ส่วนตอนที่จะนำไปลอยนั้น บางคนอาจจะตัดเล็บ และผมใส่ลงไปด้วย ตามความเชื่อว่าเป็นการขจัดสิ่งร้ายๆ ให้ออกไปจากตัวเรา หรือจะใส่เหรียญลงไปด้วย เพื่อนำมาซึ่งความมั่งคั่งตามความเชื่อก็ได้นะคะ </td></tr></tbody></table> Loikrathong:: สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง 2553 . .
<table border="0" cellpadding="5" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr><td class="std-b">สอนทำกระทง</td> </tr> <tr> <td>แบบที่ ๑ กลีบผกา | แบบที่ ๒ กลีบกุหลาบ | แบบที่ ๓ หัวขวาน</td> </tr> <tr> <td>แบบที่ ๒ กลีบกุหลาบ</td> </tr> <tr> <td class="small-gold"></td> </tr> <tr> <td class="std01">วิธีทำ</td> </tr> <tr> <td class="std01">๑. ตัดใบตองขนาดความกว้าง ๑.๕ นิ้ว ยาว ๖ นิ้ว โดยประมาณ ๒. พับเป็นกลีบกุหลาบตามรูป จำนวน ๓ กลีบ ๓. จากนั้นนำมาสวมเีัรียงกันให้มีระยะห่างพองามตามความชอบ ควรจัดให้ยอดของกลีบ และลอนของกลีบตรงเสมอเป็นแนวเดียว ซึ่งจะทำให้ผลงานออกมาดูสวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย ๔. ใช้ด้ายสีเขียวใกล้เคียงกับใบตอง หรือสีดำมาเย็บติดกันด้วยด้นถอยหลังให้เป็นแนวตรงเสมอกันโดยตลอด ๕. พับกลีบใบตองแล้วเย็บต่อเนื่องไปเรื่อยๆ จนกระทั่งสามารถหุ้มขอบของฐานกระทงได้โดยรอบ ตรึงกลับใบตองกับฐานของกระทงด้วยหมุด แล้วขลิบส่วนที่เลยพ้นฐานลงมาให้เรียบร้อยเสมอกับฐาน เมื่อทำเสร็จแล้วจะมีลักษณะคล้ายกับมงกุฏสวมศีรษะ ๖. จากนั้นประดับด้วยดอกไม้ตามความชอบ และปักธูปเทียนลงไป เป็นอันเสร็จ สามารถนำการพับใบตองรูปแบบนี้ไปใช้ร่วมกับการพับรูปแบบอื่นๆ ในผลงานชิ้นเดียวกันได้ตามความชอบ และความคิดดัดแปลง ส่วนตอนที่จะนำไปลอยนั้น บางคนอาจจะตัดเล็บ และผมใส่ลงไปด้วย ตามความเชื่อว่าเป็นการขจัดสิ่งร้ายๆ ให้ออกไปจากตัวเรา หรือจะใส่เหรียญลงไปด้วย เพื่อนำมาซึ่งความมั่งคั่งตามความเชื่อก็ได้นะคะ</td></tr></tbody></table> . Loikrathong:: สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง 2553 .
<table border="0" cellpadding="5" cellspacing="5" width="100%"><tbody><tr><td class="std-b">สอนทำกระทง</td> </tr> <tr> <td>แบบที่ ๑ กลีบผกา | แบบที่ ๒ กลีบกุหลาบ | แบบที่ ๓ หัวขวาน</td> </tr> <tr> <td>แบบที่ ๓ หัวขวาน </td> </tr> <tr> <td class="small-gold"></td> </tr> <tr> <td class="std01">วิธีทำ</td> </tr> <tr> <td class="std01">๑. ตัดใบตองขนาดความกว้าง ๑.๕ นิ้ว ยาว ๖ นิ้ว โดยประมาณ ๒. พับตามรูป จำนวน ๓ กลีบ จากนั้นนำมาสวมเีัรียงกันให้มีระยะห่างพองามตามความชอบ เพื่อให้ผลงานออกมาดูสวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย ควรพับแต่ละกลีบให้ได้ขนาดเท่ากันทุกจุด ๓. ใช้ด้ายสีเขียวใกล้เคียงกับใบตอง หรือสีดำมาเย็บติดกันด้วยด้นถอยหลังให้เป็นแนวตรงเสมอกันโดยตลอด ๔. พับกลีบใบตองแล้วเย็บต่อเนื่องไปเรื่อยๆ จนกระทั่งสามารถหุ้มขอบของฐานกระทงได้โดยรอบ ตรึงกลับใบตองกับฐานของกระทงด้วยหมุด แล้วขลิบส่วนที่เลยพ้นฐานลงมาให้เรียบร้อยเสมอกับฐาน เมื่อทำเสร็จแล้วจะมีลักษณะคล้ายอ่างน้ำ ๕. จากนั้นประดับด้วยดอกไม้ตามความชอบ และปักธูปเทียนลงไป เป็นอันเสร็จ สามารถนำการพับใบตองรูปแบบนี้ไปใช้ร่วมกับการพับรูปแบบอื่นๆ ในผลงานชิ้นเดียวกันได้ตามความชอบ และความคิดดัดแปลง ส่วนตอนที่จะนำไปลอยนั้น บางคนอาจจะตัดเล็บ และผมใส่ลงไปด้วย ตามความเชื่อว่าเป็นการขจัดสิ่งร้ายๆ ให้ออกไปจากตัวเรา หรือจะใส่เหรียญลงไปด้วย เพื่อนำมาซึ่งความมั่งคั่งตามความเชื่อก็ได้นะคะ</td></tr></tbody></table> Loikrathong:: สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง 2553 . .
ลอยกระทงตามประทีป ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ เทศกาลลอยกระทงตามประทีป ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ (ททท.) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานพระนครศรีอยุธยา ขอเชิญเที่ยวงาน "เทศกาลลอยกระทงตามประทีป ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ 2553" วันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 ณ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งภายในงาน "เทศกาลลอยกระทงตามประทีป ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ 2553" จะ มีการประกวดกระทงชิงถ้วยพระราชทาน, ประกวดนางนพมาศและหนูน้อยนพมาศชิงถ้วยพระราชทาน, ขบวนแห่นางนพมาศโบราณ 4 ภาค, การแสดงศิลปวัฒนธรรม ลานเพลงดังเมื่อวันวาน, ประกวดอาหารไทย, ซุ้มการละเล่นย้อนยุค เวทีร่วมสมัย, การจำหน่ายสินค้าศิลปาชีพ, ตลาดนัดวันวาน ตลาดโต้รุ่งริมน้ำ อิ่มอร่อยกับเทศกาลอาหารเลิศรส, การจุดพลุ โคมลอย และกิจกรรมอื่น ๆ มากมาย ร่วมถึงประเพณีลอยกระทง สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ, ททท. สำนักงานพระนครศรีอยุธยา โทร. 0 3524 6076-7 และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย โทร.1672 การเดินทาง โดยรถประจำทาง : รถโดยสารวิ่งระหว่างกรุงเทพฯ สถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต 2) และสถานีหลักของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในถนนนเรศวร ทุก ๆ 20 นาที ตั้งแต่เวลา 05.00 - 19.00 น. อัตราค่าโดยสารราคา 30 บาท และการเดินทางใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง รถโดยสารปรับอากาศ เดินทางโดยใช้เส้นทางเดียวกันทุก 20 นาที ตั้งแต่เวลา 5.40 - 7.20 น. (ทุก 15 นาที 07.00 - 17.00) อัตราค่าโดยสารราคา 47 บาท และการเดินทางใช้เวลา 1.5 ชั่วโมง โดยรถไฟ : รถไฟเส้นทาง อยุธยา - กรุงเทพฯสถานีรถไฟหัวลำโพงใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 04.20 - 22.00 น. ตรวจสอบตารางรถไฟได้จากบูธของข้อมูลที่สถานีรถไฟหัวลำโพง หรือโทร 0 2223 7010, 0 2223 7020, หรือ 1690 หรือ
ลอยกระทงสาย จังหวัดตาก ลอยกระทงสาย ลอยกระทงสาย ประเพณีลอยกระทงสาย ไหลประทีปพันดวง ชิงถ้วยพระราชทานฯ (ททท.) การ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานตาก ขอเชิญร่วมงาน งานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป 1,000 ดวง ชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ประจำปี 2553 จังหวัดตาก ระหว่างวันที่ 19 – 22 พฤศจิกายน 2553 ณ บริเวณริมสายธาร ลานกระทงสาย เชิงสะพานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี การลอยกระทงกะลามะพร้าวเป็นสายในแม่น้ำปิง ซึ่งมีแห่งเดียวในเมืองไทย โดยมีการแข่งขันปล่อยกระทงสายชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช และประกวดกระทงผ้าป่าน้ำ (กระทงนำ) ร่วมประเพณีลอยกระทง และชมมหรสพต่าง ๆ ตลอดงาน ซึ่งตลอดทั่งแนวเป็นสวนสาธารณะพักผ่อนหย่อนใจของชาวเมืองตาก ช่วงยามเย็นจะมองเห็นพระอาทิตย์ตกลับเหลี่ยมเขาสวยงามมาก และเป็นที่จัดกิจกรรมงานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป 1,000 ดวง ลอยกระทงสาย กิจกรรม ชมการลอยประทีป 8,000 ดวง ชมกระทงนำ กระทงกะลา กระทงปิดท้าย ของกระทงทุกสายที่ส่งเข้าประกวด ณ อาคารหอกิตติคุณ การแข่งขันศิลปหัตถกรรม ณ อาคาหอกิตติคุณ ชมสินค้า "หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์" การแข่งขันการลอยกระทงสายไหลประทีป 1,000 ดวง ชิงถ้วยพระราชทานฯ การแข่งขันการลอยกระทงสายของชุมชนต่าง ๆ และการแสดงบนเวที สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ททท. สำนักงานตาก โทร. 0 5551 4341 - 3 และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย โทร. 1672 ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก http://travel.kapook.com/view18446.html . . .
ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ สุโขทัย ลอยกระทง สุโขทัย ลอยกระทง สุโขทัย ลอยกระทง สุโขทัย ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ สุโขทัย (ททท.) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานสุโขทัย ขอเชิญเที่ยวงาน "งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ จังหวัดสุโขทัย ประจำปี 2553" วันที่ 19 – 21 พฤศจิกายน 2553 ณ บริเวณวัดมหาธาตุ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย ลอยกระทง สุโขทัย ลอยกระทง สุโขทัย กิจกรรม พิธี รับรุ่งอรุณแห่งความสุข การสาธิต โคมชักโคมแขวน การแสดงพลุ ตะไล ไฟพะเนียง การแสดงแสง เสียงศิลปวัฒนธรรมประเพณีของจังหวัดสุโขทัย การจัดกิจกรรมตลาดโบราณ "ตลาดปสาน" การละเล่นพื้นบ้าน การแสงทางวัฒนธรรมไทย กำหนด การ งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ จังหวัดสุโขทัย ประจำปี 2553 ระหว่างวันที่ 19-21 พฤศจิกายน 2553 ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย คลิกที่นี่ พิธีบวงสรวงพระแม่ย่าและพิธีสักการะพ่อขุนรามคำแหง ขบวนแห่และประกวดนางนพมาศ ขบวนแห่และประกวดกระทงเล็ก-ใหญ่ ประกวดโคมชัก โคมแขวน การปล่อยโคมลอย การเล่นพลุตะไลไฟพะเนียง งานข้าวขวัญวันเล่นไฟ การแสดงแสง เสียง เรื่อง "ราชธานีสุโขทัย" และร่วมประเพณีลอยกระทง ทั้งนี้ รายละเอียดกำหนดการแสดงประกอบแสง-เสียง และกิจกรรมข้าวขวัญวันเล่นไฟ งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ จ.สุโขทัย คลิกที่นี่ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ททท. สำนักงานสุโขทัย โทร. 0 5561 6228-9 และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย โทร. 1672 ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก ลอยกระทง ลอยกระทงสุโขทัย ประเพณีลอยกระทง . . .
ประเพณียี่เป็งเชียงใหม่ 2553 ประเพณียี่เป็ง ประเพณียี่เป็ง ประเพณียี่เป็งเชียงใหม่ 2553 (ททท.) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) สำนักงานเชียงใหม่ ขอเขิญร่วมงาน "ประเพณียี่เป็งเชียงใหม่ 2553" วันที่ 20 – 22 พฤศจิกายน 2553 ณ ถนนช้างคลาน ย่านไนท์บาซาร์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ภายในงานมีขบวนแห่และประกวดโคมยี่เป็ง ขบวนแห่ และประกวดกระทงเล็ก-ใหญ่ การตกแต่งโคมประทีปตามวัดและตามบ้าน จัดทำซุ้มประตูป่า งานมหรสพต่าง ๆ การแสดงศิลปวัฒนธรรมล้านนา การแสดงแสง-เสียง การแข่งขันพายเรือในลำน้ำปิง และร่วมประเพณีลอยกระทง ประเพณียี่เป็ง เชียงใหม่ กิจกรรม การ ประกวดโคมบูชา นิทรรศการโคมบูชา การแสดงพื้นบ้าน ศิลปวัฒนธรรมล้านนา การสาธิตประดิษฐ์โคม ตุง ล้านนา และกระทง การประกวดขบวนโคมยี่เป็ง กาดหมั้วล้านนา กำหนดการจัดงานประเพณีเดือนยี่เป็งเชียงใหม่ ประจำปี 2553 คลิกที่นี่ งานบุญทอดกฐินล้านนาสามัคคี และงานบุญยี่เป็งสันทรายถวายพุทธบูชา ประจำปี พ.ศ.2553 คลิกที่นี่ ทั้งนี้ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ ททท. สำนักงานเชียงใหม่ โทร. 0 5333 8048, 0 5324 8604, 0 5324 8607, 0 5330 2500 และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย โทร. 1672 ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก ประเพณียี่เป็ง ยี่เป็ง ประเพณียี่เป็งเชียงใหม่ 2553 . . .
<table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="headline" align="left" valign="baseline">ททท.เปิดงานลอยกระทง สวนสันติฯคึกคัก พร้อมชูไฮไลท์ลอยกระทงใน 7 เมืองท่องเที่ยวหลัก</td> <td align="right" valign="baseline" width="102"></td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1"></td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="body" align="left" valign="middle">โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="middle">19 พฤศจิกายน 2553 20:46 น.</td></tr></tbody></table> ททท.จัดกิจกรรมส่งเสริมเทศกาลประเพณีลอยกระทง ในธีม เทศกาล “สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง” สนับสนุน 7 เมืองท่องเที่ยวหลัก กระตุ้นให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวทั่วประเทศ ตั้งแต่วันที่ 19-21 พ.ย. 53 เวลา 17.00-22.00 น ณ สวนสันติชัยปราการ ถนนพระอาทิตย์ อาทิ การแสดงทางวัฒนธรรม การสาธิตทำกระทง การลอยกระทงดิจิตอล อินเตอร์แอคทีฟ ชมความสวยงามของขบวนเรือประดับไฟฟ้า นายวิชัย ศรีขวัญ ประธานกรรมการ ททท.กล่าวว่า การจัดกิจกรรม “สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง”เพื่อ ร่วมอนุรักษ์ประเพณีอันดีงามของไทย โดยเฉพาะประเพณีลอยกระทงของแต่ละท้องถิ่น ควบคู่กับการส่งเสริมและสร้างสรรค์วัฒนธรรมประเพณีลอยกระทงให้เป็นกิจกรรม ที่เหมาะสมกับช่วงเวลาเริ่มต้นฤดูกาลท่องเที่ยวของไทย กระตุ้นให้เกิดกิจกรรมการท่องเที่ยวยามค่ำคืนทั้งในกรุงเทพฯ และพื้นที่จัดงานทั่วประเทศ โดยมุ่งเน้นให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศได้สัมผัสถึงวิถี ชีวิตของคนไทยที่มีความหลากหลาย มีเอกลักษณ์โดดเด่นในแต่ละท้องถิ่น และเพื่อส่งเสริมให้งานประเพณีลอยกระทงเป็นสินค้าทางการท่องเที่ยวในระดับ นานาชาติ และสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเดินทางและเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยวอย่างต่อ เนื่อง ตามเป้าหมายของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นายสุรพล เศวตเศรนี ผู้ว่าการ ททท. กล่าวว่า ภายในงานมีกิจกรรมน่าสนใจมากมาย อาทิ ไฮไลท์การแสดง แสงเสียง และสื่อผสม ชุด “ประทีปแห่งศรัทธาตระการตาแห่งสายน้ำ”ที่ ถ่ายทอดเรื่องราวที่มาและความสำคัญของวันลอยกระทงนับตั้งแต่สมัยสุโขทัย จวบจนถึงสมัยอยุธยา การแสดงทางวัฒนธรรม อย่าง เพลงฉ่อย การแสดงซอปี่ล้านนา รำโทน ละครรำเรื่องนาคาบูชาพระพุทธบาท(20พ.ย.) ละครนอกเรื่องสังข์ทอง(21พ.ย.) ฯลฯ อิ่มอร่อยกับซุ้มอาหารกว่า 30 ร้าน ในตลาดย้อนยุครัตนโกสินทร์ การสาธิตทำกระทง อย่างการพับดอกบัวกลีบต่างๆ การทำกระทงสาย การทำกระทงดอกไม้สด การทำโคมก้าน การทำโคมไฟนานาชาติ การทำโคมไฟยี่เป็ง ลอยกระทงแบบฉบับรัตนโกสินทร์ และการลอยกระทงดิจิตอล อินเตอร์แอคทีฟ (ซึ่งเป็นไฮไลท์ของงาน) จะมีให้พิมพ์ชื่อ อายุ เลือกกระทง เลือกคำอวยพร แล้วเครื่องฉายภาพจะฉายภาพลงมาบนน้ำ ซึ่งจะลอยได้ครั้งละ 20 ใบ และชมความสวยงามของขบวนเรือประดับไฟฟ้าของททท. และจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา ที่เข้าร่วมประกวดภายใต้แนวคิด “สายน้ำ สายวัฒนธรรม” ณ บริเวณท่าเรือข้ามฟาก รวม 50 จุดตลอดเส้นทาง ซึ่งเรื่อจะล่องตามแม่น้ำเจ้าพระยา จากสะพานกรุงเทพ ถึงสะพานกรุงธน ตั้งแต่ 19.00-21.00 ตลอด 3 วัน นอกจากกิจกรรมในกรุงเทพฯแล้ว ททท.ยังได้สนับสนุนการจัดงานในส่วนภูมิภาค 6 พื้นที่ ได้แก่ งานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ จังหวัดสุโขทัย (19-21 พ.ย.53) ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย งานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป 1000 ดวง ชิงถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จ.ตาก (19-22 พ.ย.53) ณ บริเวณริมสายธาร ลานกระทงสาย งานประเพณียี่เป็ง จ.เชียงใหม่ (20-22 พ.ย.53) ณ ถนนช้างคลาน ย่านไนท์บาซาร์ งานเทศกาลลอยกระทงตามประทีป ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ (21 พ.ย.53) ณ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ งานประเพณีลอยกระทงกาบกล้วยเมืองแม่กลอง (21 พ.ย.53) ณ อุทยาน ร.2 งานเทศกาลโคมไฟ สีสันเมืองใต้ (1พ.ย.-28ก.พ.53) ณ บริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ ผู้สนใจดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ Loikrathong:: สีสันแห่งสายน้ำ มหกรรมลอยกระทง 2553 และสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ททท. โทร.1672 หรือสำนักงานททท.ในพื้นที่จัดงานทั่วประเทศ Travel - Manager Online -
<table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="headline" align="left" valign="baseline">ททท.เปิดงานลอยกระทง สวนสันติฯคึกคัก พร้อมชูไฮไลท์ลอยกระทงใน 7 เมืองท่องเที่ยวหลัก</td> <td align="right" valign="baseline" width="102"></td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1"></td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="body" align="left" valign="middle">โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="middle">19 พฤศจิกายน 2553 20:46 น.</td></tr></tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="baseline"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top" width="33%"> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="top"> </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle" width="33%"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="2" valign="bottom" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_up.gif" height="2" valign="bottom"></td> <td align="left" height="2" valign="bottom" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" background="/images/a_L.gif" valign="middle" width="2"></td> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="middle"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle"></td> </tr> </tbody></table></td> <td align="right" background="/images/a_R.gif" valign="middle" width="2"></td> </tr> <tr> <td align="right" height="2" valign="top" width="2"></td> <td align="center" background="/images/a_Dn.gif" height="2" valign="top"></td> <td align="left" height="2" valign="top" width="2"></td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert2.gif" valign="middle" width="4"></td> <td align="center" valign="middle"> </td></tr></tbody></table> . http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9530000164119 . .
เที่ยวงานลอยกระทงกรุงเทพฯในบรรยากาศย้อนยุคที่สวนอัมพร <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1"></td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"><tbody><tr><td class="body" align="left" valign="middle">โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="middle">19 พฤศจิกายน 2553 16:34 น.</td></tr></tbody></table> <table align="Center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="300"> <tbody><tr> <td align="center" valign="Top" width="300"> </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">งานเทศกาลลอยกระทงพระนคร</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top"></td> </tr> </tbody></table> มูลนิธิ มิราเคิล ออฟ ไลฟ์ โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ร่วมกับ ส.ศ.อ.ท. เชิญร่วมงาน“เทศกาลลอยกระทงพระนคร” ในวันอาทิตย์ที่ 21 พ.ย. 53 เวลา 18.00 น. ณ สวนอัมพร มูลนิธิ มิราเคิล ออฟ ไลฟ์ โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ร่วมกับ สมาคมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นแห่งประเทศไทย (ส.ศ.อ.ท.) เชิญร่วมงาน“เทศกาลลอยกระทงพระนคร”ในวันอาทิตย์ที่ 21 พ.ย. 53 เวลา 18.00 น. ณ สวนอัมพร เพื่อเชิญชวนประชาชนร่วมเฉลิมฉลองเทศกาลลอยกระทง และย้อนรำลึกยุคพระนครบางกอกในอดีตกว่า 50 ปี เพื่อให้เข้ากับบรรยากาศในอดีต พร้อมกันนี้มูลนิธิ มิราเคิล ออฟ ไลฟ์ ยังชวนประชาชนร่วมเข้าเฝ้ารับเสด็จทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ที่จะเสด็จเปิดงานและร่วมกิจกรรมลอยกระทง ในโครงการหนึ่งใจ ร่วมรักษาประเพณีไทย ทั้งนี้แต่ละส่วนภายในงาน ถูกเชื่อมต่อด้วยดนตรีลูกกรุงย้อนยุคสุนทราภรณ์ และศิลปวัฒนธรรมที่แสดงถึงวิถีชีวิตของคนไทย ร่วมทั้งการแสดงและการละเล่นต่างๆอีกมากมาย และนอกจากนี้ยังมีกิจกรรมน่าสนใจอีกมากมาย อาทิ การแสดงดนตรีย้อนยุค การขับร้องจากรัดเกล้า อามระดิษ บรรเลงดนตรีโดยวง Orchestra นิทรรศการของมูลนิธิ มิราเคิล ออฟไลฟ์ และ สมาคมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นแห่งประเทศไทย การประกวดหนูน้อยนพมาศ นางนพมาศ การประกวดแต่งกายคู่รักย้อนยุค การประกวดร้องเพลงลูกกรุงย้อนยุคสุนทราภรณ์ในสไตล์ของตนเอง ซึ่งบริเวณงานจะมีสีสัน และบรรยากาศของงานวัดย้อนยุค มีบูธจำหน่ายสินค้ากว่า 200 บูธ และการแสดงคอนเสิร์ตจากเหล่าศิลปิน ดารานักร้อง อาทิ อั้ม อธิชาติ ชุมนานนท์,สุเมธ แอนด์ เดอะปั๋ง,อ๊อด โอภาส ทศพร,นิว-จิ๋ว เดอะสตาร์ เป็นต้น . http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9530000163997 . .
เตือน ระวังเด็กจมน้ำ คืนวันลอยกระทง เตือนระวังเด็กจมน้ำคืนวันลอยกระทง (ไทยโพสต์) สธ.เตือน ผู้ปกครองให้เพิ่มความระมัดระวังในวันลอยกระทง โดยเฉพาะเด็กที่ชอบลงน้ำเก็บ เหรียญในกระทงอาจเกิดตะคริวง่าย เสี่ยงจมน้ำและเสียชีวิต เผยคืนลอยกระทงปี 2552 เพียงคืนเดียวจมน้ำเสียชีวิตสูงถึง 20 คน เป็นเด็ก 1 ใน 4 นาง พรรณสิริ กุลนาถศิริ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เปิดเผยว่า วันลอยกระทงทุกปีจะมีคนจมน้ำเสียชีวิตจำนวนมาก ซึ่งในปีนี้วันลอยกระทงตรง กับวันที่ 21 พ.ย.2553 จากข้อมูลการเสียชีวิตจากการจมน้ำในวันลอยกระทงของ สธ. พบว่า ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ พ.ศ.2548-2552 พบว่า ในวันลอยกระทงวันเดียวมีคนจมน้ำเสียชีวิต 102 คน เป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 36 คน คิดเป็น 35% ของทุกกลุ่มอายุ สำหรับตัวเลขในปี 2552 เฉพาะวันลอยกระทงวันเดียวมีคนจมน้ำเสียชีวิตสูงถึง 20 คน ในจำนวนนี้เป็นเด็ก 1 ใน 4 และยังพบว่าหากวันลอยกระทงตรงกับวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ จะมีคนจมน้ำเสียชีวิตสูงกว่าวันธรรมดาถึง 3 เท่าตัว "ปี นี้วันลอยกระทงตรงกับวันอาทิตย์ สธ.จึงมีความห่วงใยประชาชน โดยเฉพาะเด็ก ซึ่งตามสถิติพบเสียชีวิตจากการจมน้ำสูงอยู่แล้ว จึงขอเตือนประชาชนที่จะพาบุตรหลานไปลอยกระทงให้เพิ่มความระมัดระวังให้มาก ขึ้น หากเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีควรดูแลอย่างใกล้ชิด ไม่ปล่อยให้เด็กอยู่ใกล้แหล่งน้ำตามลำพัง ที่พบเป็นประจำทุกปีคือจะมีเด็กลง ไปเก็บกระทงหรือเก็บเงินในกระทงที่ลอยในน้ำ ผู้ปกครองควรห้ามหรือไม่ปล่อย ให้เด็กลงไปเก็บกระทงอย่างเด็ดขาด เด็กอาจจมน้ำ เนื่องจากเป็นตะคริวเพราะ อยู่ในน้ำเป็นเวลานานและสภาพอากาศหนาวเย็นด้วย" รมช.สธ.กล่าว ประการสำคัญหากพบคนตกน้ำต้องรู้วิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง ห้ามกระโดดลงไปช่วยอย่างเด็ดขาด เพราะอาจจะทำให้ถูกกอดรัดและจมน้ำเสียชีวิต พร้อมกัน การช่วยเหลือที่ถูกวิธีให้ตะโกนเรียกให้ผู้ที่ว่ายน้ำเป็นมาช่วยหรือหา อุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัวมาช่วยเหลือ เช่น ไม้ ถังแกลลอนเปล่า เชือก หรือสิ่งที่ยึดเหนี่ยวได้ ขอขอบคุณข้อมูลจาก . http://hilight.kapook.com/view/53728 . .
ประทัดกับอันตรายที่ซ่อนอยู่ เทศกาลลอยกระทงใกล้มาถึงแล้ว หลายสิ่งหลายอย่างที่มักจะนึกถึงเสมอในเทศกาลลอยกระทงนี้ เช่น งานวัด การลอยกระทง นางนพมาศ เป็นต้น แต่สิ่งหนึ่งที่จะลืมไม่ได้เลยคือ การจุดเทียนเล่นไฟ ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของประเพณีนี้ไปแล้ว การจุดเทียนเล่นไฟ ก็จะมีวัสดุอุปกรณ์อย่าง “ประทัด” เข้ามาเกี่ยวข้อง ประทัด ถือกำเนิดครั้งแรกโดยบังเอิญในประเทศจีน เมื่อกว่า 2,000 ปีมาแล้ว ซึ่งเหล่าขุนนางในยุคนั้นเอง พยายามคิดค้นสูตรยาอายุวัฒนะ เพื่อถวายให้แก่จักรพรรดิ จากสารประกอบสองชนิด ได้แก่ กำมะถัน และ ดินประสิว จากการลองผิดลองถูกก็พบว่าสามารถลุกติดไฟได้ จึง ให้ชื่อว่า “อัคคีโอสถ” และหากนำไปบรรจุในกระบอกไม้ไผ่แล้วโยนเข้ากองไฟ ก็จะเกิดการระเบิดเสียงดังขึ้น เมื่อมีการพัฒนาประทัดกันมากขึ้น ก็ทำให้มีรูปแบบประทัดต่าง ๆ มากมาย กระจายอยู่ทั่วโลก ชาวจีนมักจะจุดประทัดในงานมงคล เพราะมีความเชื่อว่าสามารถขับไล่ปิศาจร้ายได้ แม้ประทัดและดอกไม้ไฟจะให้ความสนุกสนานและแสงสี สวยงาม แต่อย่างไรก็ตามหลายปีที่ผ่านมา มีการรายงานว่าพบผู้ป่วยทั้งเด็กและผู้ใหญ่ได้รับบาดเจ็บจากการเล่นประทัดมา โดยตลอด ซึ่งการบาดเจ็บอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นมักจะเกิดจากแรงระเบิดเป็น หลัก แต่อันตรายของประทัดและดอกไม้ไฟที่ซ่อนอยู่นั้นยังมีอีก หลายด้าน ประทัดที่พบว่าเป็นอันตรายได้บ่อย จากรายงานข่าวมักจะเป็นระเบิดที่ทำให้เกิดเสียงดังมาก เช่น กระจับ สามเหลี่ยม หรือลูกบอก ลักษณะโดยทั่วไปจะประกอบด้วย ตัวประทัด ซึ่งจะเป็นทรงกลมขนาด 3 เซนติเมตร หรือรูปสามเหลี่ยมก็ได้ พร้อมกับมีสายชนวนที่ยื่นออกมาจากตัว ยาวประมาณ 1.5 ถึง 2 เซนติเมตร ผู้บาดเจ็บที่พบในปัจจุบันมักเป็นผู้ป่วยเด็กหรือผู้ป่วยวัยรุ่น โดยสาเหตุหลักเกิดจากความประมาทและความคึกคะนอง อันตรายลำดับแรก ๆ ที่พบได้มากที่สุด คือ อันตรายจากแรงระเบิด เมื่อประทัดระเบิดขึ้นจะเกิดแรงดันของอากาศในชั่วเวลาเสี้ยววินาที แรงดันนี้จะทำให้เกิดการฉีกขาดของเนื้อเยื่อ ต่าง ๆ ที่พบบ่อยคือ ผู้บาดเจ็บกำประทัดไว้ในมือหรือปล่อยจากมือไม่ทันทำให้เกิดการฉีกขาดของมือ และนิ้ว ซึ่งอาจจะรุนแรงถึงขั้นนิ้วขาดก็เป็นได้ การบาดเจ็บถัดมา คือ การบาดเจ็บ ของความร้อนจากเปลวไฟหรือประกายไฟ ทั้งจากประทัดที่ทำให้เกิดเสียงดังและทำ ให้เกิดแสงไฟ ความร้อนนี้จะทำให้ผิวหนังบริเวณนั้นไหม้ไฟ เกิดเป็นแผลตั้งแต่ รอยแดงไปจนถึงเนื้อเยื่อชั้นใต้ผิวหนังตายถาวรได้ การปฐมพยาบาลและการดูแลเบื้องต้นจากการบาดเจ็บทั้งสองชนิดนี้ เริ่มต้นจากการล้างแผลด้วยน้ำสะอาด หากมีเลือดออกให้ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณบาดแผลโดยตรง เพื่อช่วยในการห้ามเลือดได้ กรณีที่มีถุงน้ำเกิดขึ้นไม่ควรเจาะน้ำออก เพราะจะเพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อได้ นอกจากนี้กรณีที่อวัยวะฉีกขาด ให้นำส่วนของอวัยวะนั้นใส่ในถุงสะอาด ก่อนที่จะบรรจุในภาชนะที่ใส่น้ำแข็งอีกครั้ง และนำผู้ป่วยกับชิ้นส่วนอวัยวะนั้นส่งโรงพยาบาลภายใน 1 ชั่วโมง เพื่อให้แพทย์ตรวจสอบร่องรอยที่เกิดขึ้นได้อย่างชัดเจน อันตรายอื่นที่ยังสามารถพบได้ เช่น อันตรายจากเสียงที่เกิดจากการระเบิด ซึ่งมักส่งผลทำให้เกิดการบาดเจ็บที่เยื่อแก้วหูได้ ผู้ป่วยมักจะมีอาการได้ยินเสียงลดลงหรือมีหูอื้อได้ แต่การบาดเจ็บนี้มักจะหายได้เองและไม่เป็นการบาดเจ็บถาวร ประทัดและดอกไม้ไฟ อยู่คู่กับสังคมไทยและประเพณีไทยมาช้านาน ทั้งสร้างความสนุกสนานความสวยงามแล้ว ประทัดเองอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้เล่นได้ด้วยเช่นกัน การห้ามมิให้มีการจำหน่ายหรือการเล่นในเทศกาลต่างๆ นั้นอาจจะไม่ใช่ทางออกเดียวที่จะช่วยลดอุบัติเหตุจากการเล่นดอกไม้ไฟได้ แต่การละเล่นที่อยู่ภายใต้การดูแลของผู้ใหญ่อย่างเหมาะสมและระมัดระวัง อาจช่วยให้ลดการเกิดอุบัติเหตุได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า. . http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=506&contentId=105085 . .
[FONT=Tahoma,]วัฒนธรรม-สายน้ำคืนเพ็ญ ประเพณีโบราณ'ลอยกระทง' <table align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="5" width="20%"><tbody><tr bgcolor="#400040"><td> </td></tr></tbody></table>'ลอยกระทง' เป็นพิธีอย่างหนึ่งที่มักจะทำกันในคืนวันเพ็ญ เดือน 12 หรือวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 อันเป็นวันพระจันทร์เต็มดวง และเป็นช่วงที่น้ำหลากเต็มตลิ่ง จะมีการนำดอกไม้ ธูป เทียนหรือสิ่งของใส่ลงในสิ่งประดิษฐ์รูปต่างๆ ที่ไม่จมน้ำ เช่น กระทง เรือ แพ ดอกบัว ฯลฯ แล้วนำไปลอยตามลำน้ำ สำหรับในปี 2553 วันลอยกระทงตรงกับวันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน 2553 ประเพณี ลอยกระทง มิได้มีแต่ในประเทศไทยเท่านั้น ในประเทศจีน อินเดีย เขมร ลาว และพม่า ก็มีการลอยกระทงคล้ายๆ กับบ้านเรา จะต่างกันบ้าง คงเป็นเรื่องรายละเอียด พิธีกรรม และความเชื่อในแต่ละท้องถิ่น แม้แต่ในบ้านเราเอง การลอยกระทงก็มาจากความเชื่อที่หลากหลายเช่นกัน 'วันลอยกระทง' ปีนี้จะตรงกับวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 นับเป็นประเพณีที่สำคัญของคนไทยอีกประเพณีหนึ่งที่ยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมา แต่โบราณในช่วงวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นคืนที่พระจันทร์เต็มดวง แสงจันทร์สว่างไสว แม่น้ำใสสะอาด เป็นบรรยากาศที่งดงามเหมาะแก่การลอยกระทง เพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระเกศแก้วจุฬามณี พระอุปคุตเถระ และตามคติความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น <table align="right" border="0" cellpadding="1" cellspacing="5" width="20%"><tbody><tr bgcolor="#400040"><td> </td></tr></tbody></table> ประเพณีลอยกระทง มีการบอกกล่าวเล่าขานมาแต่โบราณว่า "เป็นพิธีกรรมร่วมกันของผู้คนในชุมชนทั้งสุวรรณภูมิ หรือภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีมาแต่ยุคดึกดำบรรพ์ เพื่อขอขมาต่อธรรมชาติ แต่ไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอนว่าลอยกระทงเริ่มมีมาตั้งแต่เมื่อไร แต่พิธีกรรมเกี่ยวกับ ผี ผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติ มีอยู่กับผู้คนในชุมชนสุวรรณภูมิไม่น้อยกว่า 3 พันปีมาแล้ว ตั้งแต่ก่อนรับศาสนาพุทธ-พราหมณ์จากอินเดีย" สำหรับในประเทศไทย เริ่มจากสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้มีการสร้างสรรค์ประเพณีเกี่ยวกับน้ำขึ้นมาให้เป็นประเพณีหลวง ดังมีหลักฐานการตราเป็นกฎมณเฑียรบาลว่า พระเจ้าแผ่นดินต้องเสด็จไปประกอบพิธีกรรมทางน้ำ เพื่อความมั่นคงและมั่งคั่งทางกสิกรรมของราษฎร และยังมีขบวนเรือพยุหยาตราทางชลมารคเพื่อประกอบพระราชพิธีโดยเฉพาะ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นช่วงที่บ้านเมืองมั่นคง การค้าก็มั่งคั่ง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูประเพณีพิธีกรรมสำคัญเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของราชอาณาจักร โดยทรงพระราชนิพนธ์หนังสือ ตำราท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หรือนางนพมาศ ขึ้น สมมติให้ฉากของเรื่องเกิดขึ้นในยุคพระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย ซึ่งตำราดังกล่าวได้พูดถึงนางนพมาศว่าเป็นพระสนมเอกของพระร่วง ที่ได้คิดประดิษฐ์กระทงใบตองเป็นรูปดอกบัวกมุทขึ้น ด้วยเห็นว่าเป็นดอกบัวพิเศษที่บานในเวลากลางคืนเพียงปีละครั้ง สมควรทำเป็นกระทงแต่งประทีป ลอยไปถวายสักการะรอยพระพุทธบาท ซึ่งเมื่อพระร่วงเจ้าได้ทอดพระเนตรเห็นและทราบถึงความหมาย <table align="left" border="0" cellpadding="1" cellspacing="5" width="20%"><tbody><tr bgcolor="#400040"><td> </td></tr></tbody></table> พระองค์ จึงมีพระราชดำรัสว่า แต่นี้สืบไปเบื้องหน้าโดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศถึงกาลกำหนดนักขัตฤกษ์ วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมมทานที ตราบเท่ากัลปาวสาน ด้วยเหตุนี้ จึงเกิดกระทง ที่ทำด้วยใบตองแทนวัสดุอื่นๆ ตั้งแต่นั้นมาประเพณีลอยกระทงจึงเป็นประเพณีที่สำคัญของคนไทยทั่วประเทศ มีการจัดงานที่ยิ่งใหญ่เป็นประจำทุกปี อาทิ ภาคเหนือ มีการจัดงานที่ยิ่งใหญ่ในหลายจังหวัด เช่น ที่จังหวัดตากมีประเพณีลอยกระทงสาย ซึ่งจะแตกต่างจากจังหวัดอื่น เพราะกระทงจะใช้กะลามะพร้าว เมื่อนำมาลอยกระทงจะไหลไปตามร่องน้ำเกิดเป็นสายยาวต่อเนื่อง แสงไฟส่องระยิบระยับ สวยงามมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การลอยกระทงจะเรียกว่า เทศกาลไหลเรือไฟ เช่น ที่จังหวัดนครพนม จะนำหยวกกล้วยหรือวัสดุต่างๆ มาตกแต่งเป็นรูปพญานาคและรูปอื่นๆ ตอนกลางคืนจุดไฟปล่อยให้ไหลไปตามลำน้ำโขงดูสวยงามตระการตา ภาคใต้ การลอยกระทงของชาวใต้ ส่วนใหญ่จะนำหยวกกล้วยมาทำเป็นแพ บรรจุเครื่องอาหารแล้วลอยไป จะลอยเมื่อมีโรคภัยไข้เจ็บ เพื่อให้หายเจ็บหายไข้ เป็นการลอยเพื่อสะเดาะเคราะห์ ภาคกลาง การลอยกระทงของภาคกลางจะมี 2 ประเภทด้วยกันคือ กระทงแบบพุทธ เป็นกระทงที่ประดิษฐ์ด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่น ใบตอง ใบกระบือ ก้านพลับพลึง ใบโกศล หรือวัสดุธรรมชาติที่หาได้ตามท้องถิ่นและประดับด้วยดอกไม้สดต่างๆ ภายในกระทงจะตั้งพุ่มทองน้อย ธูป 1 ดอก และเทียน 1 เล่ม กระทงแบบพราหมณ์ มีวิธีการทำแบบเดียวกับกระทงแบบพุทธ จะแตกต่างกันตรงที่ไม่มีเครื่องทองน้อย บางท้องถิ่นจะมีการใส่หมากพลู เงินเหรียญ หรือตัดเส้นผม ตัดเล็บมือเล็บเท้าใส่ในกระทง เพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์ไปในตัว จะเห็นได้ว่าประเพณีลอยกระทงนั้น สะท้อนให้เห็นว่าคนไทยมี วัฒนธรรมที่ผูกพันกับสายน้ำอย่างมาก เพราะน้ำถือเป็นสิ่งสำคัญสำหรับหล่อเลี้ยงชีวิตของมนุษย์ ทั้งใช้ในการอุปโภคและบริโภคอยู่เป็นประจำทุกวัน [/FONT] . http://www.khaosod.co.th/view_news....nid=TURNd053PT0=&day=TWpBeE1DMHhNUzB5TVE9PQ== . .