พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ที่มา fwd mail ครับ

    สิ่งต่างๆ ไม่ได้เป็นอย่างที่เห็นเสมอไป
    <O:p</O:p
    บางครั้ง ก็มีเหตุการณ์ที่ไม่เป็นไปอย่างที่ควรจะเป็น <O:p</O:p
    หากคุณมีศรัทธา <O:p</O:p
    คุณก็เพียง แต่เชื่อว่า <O:p</O:p
    ผลลัพธ์ทุกๆ <O:p</O:p
    อย่างเป็นประโยชน์ต่อคุณเสมอ <O:p</O:p
    คุณอาจไม่รู้จนถึงเวลาในภายหลัง... <O:p</O:p
    ถ้าโกรธกับเพื่อน....มองคนไม่มีใครรัก <O:p</O:p
    ถ้าเรียนหนักๆ...มองคนอดเรียนหนังสือ <O:p</O:p
    ถ้างานลำบาก...มองคนอดแสดงฝีมือ <O:p</O:p
    ถ้าเหนื่อยงั้นหรือ...มองคนที่ตายหมด ลม <O:p</O:p
    ถ้าขี้เกียจนัก...มองคนไม่มี โอกาส <O:p</O:p
    ถ้างานผิดพลาด...มองคนไม่เคย ฝึกฝน <O:p</O:p
    ถ้ากายพิการ...มองคนไม่เคยอด ทน <O:p</O:p
    ถ้างานรีบรน...มองคนไม่มี เวลา <O:p</O:p
    ถ้าตังค์ไม่มี...มองคนขอทานข้าง ถนน <O:p</O:p
    ถ้าหนี้สินล้น...มองคนแย่งกินกับ หมา <O:p</O:p
    ถ้าข้าวไม่ดี...มองคนไม่มีที่ นา <O:p</O:p
    ถ้าใจอ่อนล้า...มองคนไม่รู้จัก รัก<O:p</O:p
    ถ้าชีวิตแย่...จงมองคนแย่ยิ่ง กว่า <O:p</O:p
    อย่ามองแต่ฟ้า...ที่สูงเกินตา ประจักษ์<O:p</O:p
    ความสุขข้างล่าง...มีได้ไม่ ยากเย็นนัก <O:p</O:p
    เมื่อรู้แล้วจัก...ภาคภูมิ ชีวิตแห่งตน <O:p</O:p
    บางคนผ่านเข้ามาในชีวิตของ เราแล้วพลันจากไปอย่างรวดเร็ว... <O:p</O:p
    บางคน กลายเป็นเพื่อนและอยู่กับเราชั่วครู่... <O:p</O:p
    จากไปพร้อมกับทิ้งรอยพิมพ์ใจที่สวยงาม... <O:p</O:p
    และเราไม่เคยต้องจบลงอย่างนั้นเพราะเราได้กลายเป็นเพื่อน ที่ดีต่อกัน!! <O:p</O:p
    วันวานเป็นเพียงอดีต <O:p</O:p
    พรุ่งนี้ยังคงเป็นความลับ <O:p</O:p
    วันนี้คือของกำนัล <O:p</O:p
    นั่นคือเหตุให้ปัจจุบันเป็นของขวัญแห่ง ชีวิต! <O:p</O:p
    ชีวิตนี้เป็นสิ่งพิเศษ...จงมีชีวิตอยู่และเก็บเกี่ยวทุก นาทีแห่ง ชีวิต

    .
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 4 คน ( เป็นสมาชิก 3 คน และ บุคคลทั่วไป 1 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, grasib </TD></TR></TBODY></TABLE>

    มีสมาชิกล่องหนด้วยครับ

    .
     
  3. Baramee

    Baramee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    230
    ค่าพลัง:
    +1,032
    ข้อควรระวัง

    พระวังหน้าเนื้อผง อาจจะมี 2 กรุนะครับ
    คือกรุเก่าและกรุใหม่ (กรุเก่าน่าจะสมัย ร.1 กรุใหม่น่าจะสมัย ร.4)
    ที่สังเกตุคือกรุเก่าเนื้อแห้งย่นเป็นหนังช้าง
    กรุใหม่เนื้อแห้งแต่ผิวไม่ย่น

    ทั้ง 2 กรุ ต้องดูแผ่นทองที่ปิดว่า
    เป็นเนื้อเดียวกับผิวเลยหรือไม่
    ถ้าไม่ติดเป็นเนื้อเดียวกับผิวก็ไม่แนะนำ
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949

    พระวังหน้านั้น มีแต่ในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 เท่านั้นครับ ในยุควังหน้า(กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาถ) ท่านไม่ได้ทำพระพิมพ์เลย ในสมัยนั้น วัตถุมงคลที่ทำนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นตะกรุด ,พิรอดแขน ,เสื้อยันต์ พระพิมพ์มาสร้างในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ครับ อย่างพระพิมพ์วัดมหาธาตุนั้น สมเด็จอรหังก็สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีเป็นผู้เสก ไม่ใช่สมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน)ครับ

    ส่วนเรื่องของแผ่นทองนั้น จะย่นหรือไม่ย่นขึ้นอยู่กับรักที่ทาลงบนพระพิมพ์ และการตากแดดหรือไม่ตากแดดครับ ถ้าทารักแล้วปิดทอง(เรียกว่าปิดทองร่องชาด) ในตอนเช้าหรือเย็นหรือกลางคืน แผ่นทองจะไม่หดตัวมาก แต่ถ้าทำในช่วงกลางวัน รักจะหดตัวอย่างรวดเร็ว ทำให้แผ่นทองนั้นแตกได้ครับ
    .
     
  5. tg22070

    tg22070 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    100
    ค่าพลัง:
    +601
    พระที่ทันสมเด็จโต องค์สีแดงๆขอ รูปชัดๆทั้งด้านหน้า ด้านหลังได้ไหมครับ แนะนำถ่ายให้โฟกัส ภาพชัดก่อนแล้วค่อยมา crop รูปในโปรแกรม acd หรืออื่นๆเอาดีกว่าครับ ถ้ากล้องไม่มีโหมดมาโคร หรือ ซุปเปอร์มาโคร ครับ คุณ sithiphong
     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949

    ผมจะขอให้เพื่อนมาช่วยถ่ายรูปให้ แล้วจะนำมาลงให้ดูอีกครั้งนะครับ

    .
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    จากกระทู้ พระสมเด็จ(โต) หากท่านอยากที่จะได้บูชา

    <TABLE class=tborder id=post395064 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 12:40 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #14 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>มันตรัย<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_395064", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 01:04 PM
    วันที่สมัคร: Oct 2006
    ข้อความ: 84 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 0 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 203 ครั้ง ใน 67 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 30 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_395064 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ถ้าพูดกันในแวดวงของนักเล่นพระอีกรูปแบบนึง พระที่ลงให้ดูก็จะเป็นพระที่คนกลุ่มนึงเล่นหากัน ซึ่งแตกต่างกับพระที่มารตฐานสากลเขานิยมเล่นหากัน เพราะที่สากลนิยมเล่นหากันนั้น เกิดจากการที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้า ได้เห็นได้ส่อง และมีครูบาอาจารย์ที่เก่งด้านการดูพระและวัตถุมงคลสั่งสอน แต่พระอีกรูปแบบนึงอย่างที่ลงมาให้ดูกันนี้ ก็จะแตกต่างออกไป เพราะพระเหล่านี้เป็นพีที่ไม่มีในระบบสากล เป็นพระที่เกิดจากการที่ได้ฟังการเล่าต่อๆกันมา บ้างก็ได้มรดก บ้างก็มีครูที่ผิดๆ บางคนมีอีโก้สูงใครบอกอะไรก็ไม่เชื่อ บางคนอายุมากแล้ว อยากได้สมเด็จ ไปเจอเอาพระเครื่องเหล่านี้พร้อมกับนิยายนิทาน ที่หลอกล่อ ก็หลงเชื่อไปว่าพระสมเด็จมาโปรด บางคนชี้ทางสว่างบอกว่า พระเหล่านี้ตามท่าพระจันทน์ หรือวัดราชนัดดา หรือตลาดพระเก๊พญาไม้ มีมากมายนับล้านองค์ ก็จะไม่เชื่อเพราะหลงเชื่อในคำบอกเล่าของผู้ที่เป็นอาจารญ์ผิดๆ และทำให้คนที่เล่นพระแบบมีหลักการสากลหัวเราะเยอะเอา และเป็นเรื่องเป็นราวกันระหว่าง ผู้ที่เล่นพระเก๊สนาม(ตามรูปที่เอามาลงให้ดู) กับพระมารตฐานสากล หากมีวิจรรญานสักนิด น่าจะลองคิดดูว่า พระสมเด็จหาได้ง่ายขนาดเนี้เชียวหรือ ถ้าหาง่ายเป็นของสมเด็จโตจริง ราคาพระสมเด็จก็จะไม่แพงเป็นล้านๆหรือสิบล้านแบบนี้ และเมื่อเอาไปเดินให้เซียนพระที่เล่นสากลดู ปรากฏว่าเขาไม่ซื้อไม่สนใจ น่าจะลองคิดทบทวนดูสักนิดว่า เราเล่นพระแบบที่เขาเล่นกันหรือไม่หรือเชื่อในนิยายนิทานที่บอกต่อๆกันมาเนิ่นนาน พระสมเด็จแท้ๆ ในสารบบเขาไม่มีแบบนี้หรอกครับ ขอบอกให้กับคนที่เชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่ง ให้เข้าใจ สำหรับคนที่หลงเข้าป่าไปแล้วก็ไม่เป็นไร ที่ผมเขียนนี่เพื่อคนรุ่นใหม่ที่อยากได้สมเด็จ(ทั้งๆที่ดูพระยังไม่เป็นได้ทราบ) ว่าต้องมีบุญบารมีและเป็นคนดีด้วยถึงจะมีได้ ลองไปเดินดูพระตามห้างศูนย์ใหญ่ที่มีชื่อเสียง ดูว่าพระสมเด็จแท้ๆเป็นยังไง และไปเดินตามข้างทางแถวท่าพระจันทร์ วัดราชนัดดา ตลาดพญาไม้ว่าสมเด็จแบบที่เราเล่นนี้ฉไหนมันถึงได้มีกันเต็มไปหมด และครูบาอารจารย์ต่างๆที่จับพลังพระที่เราเอาไปให้ดูนั้น ไม่อยากใช้คำพูดเลยว่า เก่งจริงหรือเปล่า หรือมีอะไรมาบังตาเราเอาไว้ ผู้มีศีลคืออะไร บางคนสอนศีลธรรมในชั้นเรียน แต่ออกมาก็พูดคุยเรื่องลามกสัปดน นั้นก็มีอยู่มาก พระบางรูปดูน่าเลื่อมใส แต่ไปสนับสนุนคนชั่ว เอาเงินเป็นที่ตั้ง ไม่ใช่เอาพระธรรมเป็นที่ตั้ง อย่าให้อะไรมันบังตาครับ
    <!-- / message --><!-- sig --></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder id=post395131 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 01:29 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #15 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>golfpy<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_395131", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 05:54 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 16 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 5 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 41 ครั้ง ใน 12 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 0 [​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_395131 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ต้องขอขอบคุณ คุณ มันตรัย ด้วยที่ชี้แนะและสำหรับความคิดเห็น
    แต่ในส่วนตัวของผมเองจากที่ได้ติดตาม และศึกษาค้นคว้ามาจากผู้ที่รู้และได้ศึกษามาก่อนตัวผมเองมากนั้น ได้ให้ความรู้และข้อคิดในด้านนี้ว่า(หรือคุณลองไปค้นคว้าเพิ่มเติมอีกทีจากหอสมุดแห่งชาติก็ได้นะครับ มีหนังสือเกี่ยวข้องด้วยเยอะมากๆ) ในขณะนั้นมีตัวตนอยู่จริงของท่านเจ้าพระคุณฯสมเด็จท่านแน่นอน(อันนี้ยอมรับกันจริงใช่มั๊ยครับ) และหากท่านเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถจนถึงขนาดสร้างพระ ที่ท่านๆที่เรียกตัวเองว่าเซียนทั้งหลายเล่นหากันอยู่จริงและยอมรับกันในขณะนี้ แสดงว่าท่านต้องเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางแน่ในสมัยนี้(อันนี้ก็จริงงอีก) และในสมัยนั้นลองคิดตามนะครับ จะมีซักกี่คน กี่ท่าน กี่องค์ ที่ดำรงค์ตำแหน่งสมเด็จฯ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ได้ทำการยอมรับทีเดียว ไม่ใช่ว่าใครมาอยู่หรือเป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯก็จะได้เป็นสมเด็จฯ หมดทุกองค์ นะครับ และแน่นอนท่านต้องเป็นยอดแห่งเกจิในสมัยนั้นแน่นอน และหากมีการปลุกเสกหรือทำพิธีใหญ่ๆ จะมีหรือครับที่ท่านจะพลาด โดยต้องถูกนิมนต์มาแน่นอน และตัววัดระฆังฯเองในสมัยนั้นถึงจะเดินทางลำบาก แต่ก็มีเรือนะครับ ซึ่งวัดกับตัวมหาราชวังเรานั้น วัดพระแก้ว(และส่วนวังหน้าเดิมปัจจุบันเป็นโรงละครแห่งชาติแถวๆนั้น) ก็ไม่ได้ไกลกันเลยใช่มั๊ยครับ ซึ่งตัวสมเด็จฯท่านเองก็ไม่ได้มีชื่อเสียงในช่วงรัชกาลที่ 5 เท่านั้น
    แต่ท่านมีชื่อเสียงมาก่อนในช่วงสมัยรัชกาลที่ 4 แล้วครับ โดยโปรดให้เข้าไปเทศน์ ในราชวังมานานแล้ว และแน่นอนในพิธีที่รัชกาลที่ 5 ขึ้นครองราชและมีพิธีสร้างพระครั้งใหญ่ในสมัยนั้น ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯท่านจะขาดได้เหรอครับ(พิธีของนี้มีอยู่ในหนังสือหลายเล่มลองหาอ่านดูนะครับ)
    <!-- / message --></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder id=post395136 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 01:35 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #16 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>golfpy<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_395136", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 05:54 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 16 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 5 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 41 ครั้ง ใน 12 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 0 [​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_395136 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- message -->ส่วนหนึ่งด้านวงการพระปัจจุบัน หากมีการยอมรับพระชุดต่างของสมเด็จฯท่านในปัจจุบันนี้ซึ่งมีอยู่มากมายเหลือเกิน ท่านคิดว่า พระองค์ราคาเป็นหลักแสนหลักล้านที่พวกเรียกตัวเองว่าเซียนพระเล่นหากัน จะยังมีราคาเท่าเดิมอยู่หรือไม่ครับ วงการนี้มันแย่นัก ขนาดพระต่างๆที่ไม่มีมันยังจับยัดกรุให้มีได้
    หากไม่ใช่พวกตนเป็นของปลอมทั้งหมด ประกวดไปก็แพ้ แม้เป็นอย่างที่เค้าเล่นกัน
    <!-- / message --></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder id=post395167 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">วันนี้, 02:05 PM <!-- / status icon and date --></TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right> #17 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>ยอด<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_395167", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 03:48 PM
    วันที่สมัคร: Sep 2006
    ข้อความ: 27 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 1 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 140 ครั้ง ใน 25 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 0 [​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_395167 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- icon and title -->[​IMG]
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->ผมว่าเสน่ห์ พระเครื่องก็อยู่ ตรงนี้ครับ ทำให้เราต้องมีการค้นคว้าศึกษาแบบไม่มีที่สิ้นสุด
    เรื่องต่างต่างจะเอาอะไรมาเป็นมาตราฐาน ตรงนี้เลยจับได้ยากครับ
    เพราะขนาดระดับเซียน ก็เห็นมีพราดเสียท้ามาแล้งก็มีครับ
    มีพีคนที่ผมเคยให้จับ พลังพระครื่อง พี่เขาเล่าให้ฟังว่า มีครั้งมีนายตำรวจยศ
    เป็น พลตำรวจ เอก เซียร์ เมืองไทย
    ยังพลาดท่ามาเลย คือนายตำรวจ คนนี้ได้โทรปรึกษา เรื่องพระที่ได้มาใหม่
    แต่ พี่เขาใช้วิชา ยามนาฬิกาจับแล้วทาย ก็สามารถ ทายตำนิองค์พระได้ถูกต้อง
    และยามก็บอกเป็น พระปลอมครับ แต่นายตำรวจ ท่านนี้ในวงการก็เป็นที่ยอมรับกัน ว่าเป็นเซียร์ ก็ไม่เชื่อ เลยเอาพระที่ได้มาให้จับพลังอีกครั้ง แต่ผลก็คือเป็นพระที่ไม่มีพลัง
    ลืมบอกไปว่า พี่ท่านที่จับพลังนี้ เรียนวิชา มาจาก อจ. ลามะที่ธิเบตครับ
    ผมเลยว่า วงการพระเครื่องนี้ จะเอาอะไรมาเป็นมาตราฐาน นั้นยากมากครับ
    ขนาดหินธิเบต ที่กำลังนิยมในบ้านเอา พีท่านนี้ที่เรียนมาทางสายธิเบต ยังว่าเป็น ของเล่น เลยครับ ให้ แขวนพระเครื่องดีกว่าครับ

    ผมเลยสรุปเท่าที่ปัญญาผมว่า เรื่อง พระเครื่อง เราสามารถพิสูตร โดยใช้กล้อง
    ออร่าได้ คือจับได้ แค่พลังงานหรือมวลสาร พระเครื่องเท่านั้นครับ

    ส่วนที่พลังจิต อำนาจจิต ของเกจิ อจ. แต่ละท่าน นั้น มันไม่รู้จะเอามาตราฐาน อะไร มาจับต้องได้ สำหรับ คนอย่างพวกเรา

    ใครมีความรู้อะไร ช่วยกัน แนะนำ นะครับ ....
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    .
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ปัจจุบันนี้ วงการพระเครื่องของเมืองไทย จะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆก็คือ 1.เล่นกันตามมาตรฐานที่วงการเซียนพระเครื่องได้ตั้งขึ้นมา ว่าพระสมเด็จที่สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีท่านสร้างและท่านเสกนั้น ทางวงการเซียนพระเครื่องกำหนดว่าพระสมเด็จมีลักษณะเนื้อหาทรงพิมพ์เป็นพิมพ์ต่างๆ มีอยู่ไม่กี่พิมพ์ มวลสารทำมาจากปูนเปลือกหอย สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีท่านเสกหลายวันบ้าง เสกเป็นไตรมาศบ้าง กับลักษณะที่ 2 เล่นกันนอกวงการมาตรฐาน โดยดูจากเนื้อหาทรงพิมพ์และพลังอิทธิคุณขององค์ผู้เสก มีการค้นคว้ามาว่าพระสมเด็จที่สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีท่านไม่เคยได้สร้างพระพิมพ์เลย ยกเว้นไว้แต่อาจจะมีการกดพิมพ์เป็นปฐมฤกษ์ แต่สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีท่านเสกพระพิมพ์ให้เพียงประการเดียว มวลสารนั้น พระสมเด็จไม่ได้ทำมาจากปูนเปลือกหอย แต่ทำมาจากปูนเพชร ซึ่งนำเข้ามาจากเทือกเขาฮันซุย ประเทศจีน(พระพิมพ์ที่สร้างหลังปี พ.ศ.2411) และปูนที่มีลักษณะเหมือนปูนเพชร(ผมคงไม่บอกว่าเป็นปูนอะไร) ที่อยู่ทางภาคเหนือของไทย(พระพิมพ์สร้างก่อนปี พ.ศ.2411)<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    พระสมเด็จที่ได้มีการศึกษากันมานั้น มีผู้ที่สร้างพระสมเด็จกันถึง 13 ทีมผู้สร้าง และหนึ่งในผู้ที่สร้างพระสมเด็จนั้น ก็เป็นช่างสิบหมู่แห่งวังหน้า มีการสร้างพระสมเด็จที่เรียกว่าสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าขึ้น สมเด็จเจ้าคุณกรมท่านั้น ก็แตกต่างจากสมเด็จวัดระฆัง ,สมเด็จวัดบางขุนพรหมอีก ความแตกต่างมีดังนี้<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ข้อแตกต่างระหว่างพระสมเด็จวัดระฆัง กับ พระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่า

    1.เนื้อหาของสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าจะกระเดียดไปทางพระพิมพ์สมเด็จของวัดใหม่อมตรส แต่ที่เป็นชนิดเนื้อน้ำมันก็มีอยู่เป็นบางพิมพ์ บางพิมพ์ก็ห่างไกลจากวัดระฆังฯ บางพิมพ์ก็ใกล้เคียงกัน แต่มีข้อแตกต่างที่พอจะเห็นได้ชัดจากการลงรัก การตัดขอบ มวลสาร และจุดโค๊ด
    2.สมเด็จวัดระฆังฯทุกองค์ทุกทรงพิมพ์จะต้องมีการตัดขอบข้าง ส่วนพระสมเด็จเจ้าคุณกรมท่ามีทั้งพิมพ์ที่มีการตัดขอบข้างและพิมพ์ยกถอดในตัว ไม่มีการคัดขอบ
    3.ด้านหลังของพระพิมพ์สมเด็จวัดระฆังฯ จะปรากฏรอยคลื่นที่เรียกว่า “ ผิวโลก ” และจะมีรอยปูไต่คล้ายตีนปู เจาะลึกลงในเนื้อพระ ส่วนพระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า ด้านหลังอาจจะเรียบราบด้วยเครื่องอัด จะปรากฏรอยปูไต่บ้าง ก็เบาบางมาก
    4.พระพิมพ์สมเด็จวัดระฆังฯ หากเป็นพระที่ลงรัก จะมีการลงรักแต่เฉพาะด้านหน้า และเป็นการลงรักที่หนาโดยไม่เลือกว่าจะเป็นสีดำหรือสีผสมอมดำแดง ส่วนพระพิมพ์ที่สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าส่วนใหญ่จะมีการลงรักสองชั้นคือ ลงรักชาดสีแดง ทับด้วยรักสมุกสีดำโดยจะลงทั้งด้านหน้าและด้านหลังและที่ขอบทั้งสี่ด้าน การลงรักไม่สวยลงเพียงหยาบๆ และรักมักจะเปื่อยยุ่ย ไม่ร่อนกะเทาะ เพราะความหนาของรักมีไม่พอ ส่วนที่ลงรักหนาก็มีอยู่บ้าง ส่วนมากจะเป็นรักสมุกชั้นเดียวลงโดยฝีมือช่างรัก ซึ่งพบน้อยมาก รักมักจะย่นแลดูงามตา การลงรักของพระพิมพ์สมเด็จวัดระฆังฯ มักมีการลงรักปิดทอง ที่เรียกว่า “ลงรักปิดทอง” การลงรักในพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า จะไม่มีการปิดทอง ถ้าพบพิมพ์ที่มีการปิดทองมาแต่เดิมส่วนมากมักจะเป็นพระสมเด็จชนิดพิเศษซึ่งแรงกว่าพิมพ์ธรรมดา นอกจากนั้นยังมีการลงรักพม่าหรือเมียนมาร์ซึ่งจะเป็นสีน้ำเงิน
    5.มวลสารของพระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยผงทองนพคุณและผงแร่ขี้เหล็กไหลอันเป็นสื่อซับพลังจิต ซึ่งไม่มีในพระพิมพ์สมเด็จวัดระฆัง
    6.ส่วนที่คล้ายกันของพระพิมพ์สมเด็จวัดระฆังฯ กับพระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่า คืออายุการสร้างและการพุทธาภิเษก โดยเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) เหมือนกัน
    7.พระพิมพ์สมเด็จเจ้าคุณกรมท่าสำเร็จด้วยพระราชพิธีหลวง ส่วนพระพิมพ์สมเด็จวัดระฆังฯ สำเร็จด้วยการพุทธาภิเษกธรรมดาสามัญ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ความรู้ที่จะหาได้เพิ่มเติมว่า ทำไมพระสมเด็จถึงมีผู้สร้างถึง 13 ทีม หาอ่านได้ไม่ยาก ในหอสมุดแห่งชาติ พอหาอ่านได้ ตามนี้ครับ<O:p</O:p
    1.ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 13 <O:p</O:p
    2.ตำนานเรื่องเครื่องโต๊ะและถ้วยปั้น พระนิพนธ์ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ<O:p</O:p
    3.ประวัติ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี<O:p</O:p
    4.พระราชประวัติวังหน้า<O:p</O:p
    5.ประวัติเจ้าพระยาภานุวงศ์มหาโกษาธิบดี(ท้วม บุนนาค) เจ้าคุณกรมท่า ฉบับนายนัฐวุฒิ สุทธิสงคราม<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เมื่อพระสมเด็จมีผู้สร้างถึง 13 ทีม ดังนั้น เนื้อหาทรงพิมพ์ของพระสมเด็จจะเหมือนกันได้หรือไม่ ส่วนเรื่องการตำผงพระสมเด็จนั้น ต้องใช้ระยะเวลาการตำใน 1 ครกนั้น ใช้เวลา 4 ชั่วโมง หากตำผงแค่ 2 – 3 ชั่วโมง เนื้อพระพิมพ์จะเหมือนกับที่ตำผง 4 ชั่วโมงหรือไม่<O:p</O:p
    <O:p

    เคยมีท่านผู้หญิงอยู่ท่านหนึ่ง(ผมขอสงวนนาม) ห้อยพระสมเด็จ แล้วมีเซียน(ใหญ่)ท่านหนึ่งขอดู เมื่อดูแล้วเซียน(ใหญ่)ท่านนี้บอกว่า พระสมเด็จองค์นี้เก๊ ท่านผู้หญิงท่านนี้ก็ไม่สบายใจว่า พระสมเด็จที่ห้อยนั้นเป็นของเก๊ แต่ท่านผู้หญิงท่านนี้ก็ยังห้อยอยุ่ต่อไป มีอยู่วันหนึ่งท่านผู้หญิงท่านนี้ได้ไปกราบหลวงพ่อเกษม เขมโกที่ลำปาง ท่านจึงนำพระสมเด็จองค์นี้ ให้กับหลวงพ่อเกษมท่านดูให้ หลวงพ่อเกษมท่านรับพระไปแล้ว ท่านได้นั่งสมาธิสักครู่ หลวงพ่อเกษมจึงได้บอกกับท่านผู้หญิงท่านนี้ว่า พระสมเด็จนี้ อายุ 100 กว่าปีแล้ว สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสีท่านเสกให้ไว้ในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ อย่างนี้จะเชื่อเซียนท่านนั้นหรือเชื่อหลวงพ่อเกษม เขมโกดีละ <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    วิธีพิสูจน์ง่ายๆสำหรับพระกรุวัดพระแก้ว นำพระพิมพ์ไปให้พระที่ท่านได้วิปัสสนาญาณอย่างน้อย 5 รูปขึ้นไป นำไปให้ท่านดูให้ กราบเรียนท่านตรงๆว่า ผมหมดปัญญาแล้ว ไม่ทราบว่าพระนี้ดีอย่างไร พระพิมพ์นี้สร้างเมื่อไร ใครเป็นผู้ปลุกเสก ,ผู้ที่เสกเป็นใคร และเสกเมื่อยังมีชีวิตอยู่หรือมรณภาพแล้ว ผลที่ตรวจสอบนั้น จะต้องตรงกันทั้งหมด และผู้ที่เป็นเจ้าของพระพิมพ์จะเชื่อหรือไม่ก็ตามใจครับ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ผู้ที่สร้างพระไม่เป็น จะรู้ได้อย่างไรว่า พระพิมพ์ที่สร้างขึ้นในสมัยโบราณนั้น วิธีการสร้างนั้นสร้างกันอย่างไร ใช้อะไรเป็นมวลสาร พิธีพุทธาภิเษกทำกันอย่างไร ผงวิเศษที่บอกว่ามีอยู่ 5 ประเภทนั้น ลบผงเป็นหรือไม่ ?????<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เรื่องการตั้งมาตรฐานว่าพระสมเด็จต้องพิมพ์ลักษณะนี้ เนื้อแบบนี้ ใครเป็นผู้ที่ตั้งขึ้น และการตั้งมาตรฐานนั้น ใช้หลักเกณฑ์อะไรมาเป็นมาตรฐาน มีการค้นคว้ามาหรือไม่ และค้นคว้ามาจากที่ใด จากเรื่องเหล่านี้ ก็จะโยงไปถึงเรื่องหลักการดีมานด์และซับพลาย หลักการดีมานด์และซับพลาย ง่ายๆ หากวัตถุหรือสิ่งของใดมีปริมาณน้อย มีความต้องการเยอะ ราคาก็จะแพง แต่หากวัตถุหรือสิ่งของใดมีปริมาณมาก มากกว่าความต้องการ ราคาก็จะถูก เป็นธรรมดา <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ส่วนเรื่องการจับพลังพระนั้น เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่เป็นเรื่องของความเชื่อและการพิสูจน์ ผู้ที่จับพลังพระได้หรือจับพลังพระเป็นนั้น ย่อมรู้อยู่ว่าพระพิมพ์นี้ดีอย่างไร จะยกตัวอย่างสักเรื่อง เรื่องกระแสไฟฟ้า เราๆท่านๆ มองไม่เห็น แต่จะพิสูจน์ได้ว่ามีหรือไม่ ลองถือลวดไปแหย่ปลั๊กไฟดู ก็จะทราบว่ากระแสไฟฟ้านั้น มีจริงหรือไม่ เฉกเช่นเดียวกันกับผู้ที่จับพลังได้หรือจับพลังเป็น ผู้ที่จับพลังได้หรือผู้ที่จับพลังเป็นนั้น ต้องอาศัยการปฏิบัติ การนั่งสมาธิมาก่อน จึงจะสามารถเรียนรู้ว่า พลังขององค์พระนั้นมีจริงหรือไม่ พระวิปัสสนาหลายๆองค์ ท่านย่อมทราบในเรื่องนี้ดี
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    สุดท้ายแล้วครับ เรื่องนี้ก็เป็นเรื่องที่แล้วแต่บุคคลที่จะสนใจว่า จะเลือกว่าจะนิยมพระพิมพ์ตามวงการพระเครื่อง หรือนิยมพระพิมพ์ตามนอกวงการพระเครื่อง ผมบอกได้ว่า ต้องศึกษาอย่างจริงๆ ได้ข้อมูลอย่างถูกต้อง แล้วท่านที่นิยมพระพิมพ์ก็จะเป็นผู้ที่ตัดสินใจได้เองว่าจะศึกษา,นิยมและสะสมพระพิมพ์แบบไหนดี ยังมีเรื่องที่พระพิมพ์ที่อยู่กับเซียนใหญ่ และถ้าอยู่กับเราๆท่านๆ ราคาต่างกันหรือไม่อีก ไหนยังมีเรื่องการประกวดพระอีก ผมคงไม่พูดถึงนะครับ เรื่องจะยาวและกระทบกระเทือนเยอะครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 พฤศจิกายน 2006
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ยอด [​IMG]
    ผมว่าเสน่ห์ พระเครื่องก็อยู่ ตรงนี้ครับ ทำให้เราต้องมีการค้นคว้าศึกษาแบบไม่มีที่สิ้นสุด
    เรื่องต่างต่างจะเอาอะไรมาเป็นมาตราฐาน ตรงนี้เลยจับได้ยากครับ
    เพราะขนาดระดับเซียน ก็เห็นมีพราดเสียท้ามาแล้งก็มีครับ
    มีพีคนที่ผมเคยให้จับ พลังพระครื่อง พี่เขาเล่าให้ฟังว่า มีครั้งมีนายตำรวจยศ
    เป็น พลตำรวจ เอก เซียร์ เมืองไทย
    ยังพลาดท่ามาเลย คือนายตำรวจ คนนี้ได้โทรปรึกษา เรื่องพระที่ได้มาใหม่
    แต่ พี่เขาใช้วิชา ยามนาฬิกาจับแล้วทาย ก็สามารถ ทายตำนิองค์พระได้ถูกต้อง
    และยามก็บอกเป็น พระปลอมครับ แต่นายตำรวจ ท่านนี้ในวงการก็เป็นที่ยอมรับกัน ว่าเป็นเซียร์ ก็ไม่เชื่อ เลยเอาพระที่ได้มาให้จับพลังอีกครั้ง แต่ผลก็คือเป็นพระที่ไม่มีพลัง
    ลืมบอกไปว่า พี่ท่านที่จับพลังนี้ เรียนวิชา มาจาก อจ. ลามะที่ธิเบตครับ
    ผมเลยว่า วงการพระเครื่องนี้ จะเอาอะไรมาเป็นมาตราฐาน นั้นยากมากครับ
    ขนาดหินธิเบต ที่กำลังนิยมในบ้านเอา พีท่านนี้ที่เรียนมาทางสายธิเบต ยังว่าเป็น ของเล่น เลยครับ ให้ แขวนพระเครื่องดีกว่าครับ

    ผมเลยสรุปเท่าที่ปัญญาผมว่า เรื่อง พระเครื่อง เราสามารถพิสูตร โดยใช้กล้อง
    ออร่าได้ คือจับได้ แค่พลังงานหรือมวลสาร พระเครื่องเท่านั้นครับ

    ส่วนที่พลังจิต อำนาจจิต ของเกจิ อจ. แต่ละท่าน นั้น มันไม่รู้จะเอามาตราฐาน อะไร มาจับต้องได้ สำหรับ คนอย่างพวกเรา

    ใครมีความรู้อะไร ช่วยกัน แนะนำ นะครับ ....

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เรื่องพลังจิต อำนาจจิตนั้น ไม่มีมาตรฐานอะไรมาตั้งเป็นกฎเกณฑ์ได้ ยกเว้นผู้ที่มีฌาณ , มีญาณ หรือมีอภิญญาเท่านั้น จึงจะทราบได้ แต่การที่จะมีฌาณ ,มีญาณ หรือมีอภิญญานั้น ก็ไม่ยาก แต่ก็ไม่ง่าย ต้องฝึกฝน เรียนรู้กับครูบาอาจารย์ก่อน อย่างสายพระอาจารย์มั่นนี้ก็ได้ และการรู้นี้เป็นการรู้ได้ด้วยตนเองเท่านั้น ไม่สามารถที่จะหาอะไรมาตั้งเป็นบรรทัดฐานได้ เรื่องนี้พิสูจน์ได้ แต่ตนเองเท่านั้นที่จะเป็นผู้ที่พิสูจน์เองเท่านั้นครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  10. อู๊ดลาดพร้าว

    อู๊ดลาดพร้าว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    49
    ค่าพลัง:
    +262
    ผมเพิ่งเข้ามาครั้งแรกนะครับ อ่านข้อความในเวปนี้แล้วทำให้ผมรู้สึกตาสว่าง ว่ายังมีกลุ่มคนคอยช่วยเหลือศาสนา นำพาไปในทางที่ถูกที่ควร ซึ่งผมไม่ค่อยรู้เรื่องวัตถุมงคลหรือพระผู้ปฏิบัติดีมาก่อน เนื่องจากไม่ค่อยได้เข้าวัดฟังพระธรรม ทำบุญ มัวแต่หลงเดินทางผิด กินเที่ยวมาตั้งยี่สิบกว่าปี ยุ่งอยู่กับชีวิตตัวเอง หาความสุขใส่ตัวไปวันๆ จนสังขารจะเข้าเลขสี่ แล้ววันที่ชีวิตผมเปลี่ยนก็มาถึง อยู่ๆผมก็เดินไม่ได้มาเกือบอาทิตย์เมื่อต้นปี ทำให้ผมย้อนกลับไปดูตัวเองกับสิ่งที่ผ่านมา มันช่างไร้ค่าสิ้นดี กับเวลาที่เสียไปโดยปล่าวประโยซน์ จนผมได้เข้าไปท่องเน็ตหาข้อมูลเกี่ยวกับศาสนามาเป็นที่พึ่งทางใจ ผมไปเจอคำพูดอยู่ประโยคนึงของพระเกจิ วัตถุมงคลข้าไม่มีหรอกแต่ถ้าอยากได้ของๆข้าก็ต้องถือศีลห้า ถ้าทำไม่ได้ก็ไม่ต้องเอา ผมมานั่งคิดและเปิดหาว่าศีลห้ามีอะไรบ้าง ผมถึงกลับสดุ้ง ว่าคนที่นับถือศีลห้านี่อยู่ในกลุ่มของคนดีๆทั้งนั้น ซึ่งผมเดินหนีมาตลอด มาบัดนี้เหมือนตายแล้วเกิดใหม่ ผมเริ่มเอาศีลห้ามาใช้บ้างแต่อาจจะยังไม่ครบทุกข้อ แต่ชีวิตผมก็ดีขึ้นทันตาเห็นยังเหลือแต่ประสพการ์ณใหม่ที่เพิ่งเริ่มเข้าวัด ทำบุญ ผิดถูกผมก็ได้ข้อมูลจากพวกพี่ๆแหละ ชี้ปัญญาและทางสว่างให้ผม ชีวิตบั้นปลายผมว่าผมเดินมาถูกทางแล้ว ยิ่งเรียนรู้ธรรมมาก
    ก็ยิ่งอิ่มใจ ซึ่งไม่เคยรู้สึกมาก่อนในชีวิต มันว่างๆยังไงก็ไม่รู้ แต่ก็ต้องหยุดคิดเพราะไม่ใด้อยู่ตัวคนเดียว มันเป็นการเริ่มต้นที่ยังไม่สายใช่มั้ยครับ ผมขออนุโมธนาให้กับพี่ๆทุกคนช่างมีวาสนาที่ดีเหลือเกิน ผมขอร่วมทำบุญด้วยคนครับ แต่อีกใจนึงก็อยากได้พระแท้พุทธคุณดีๆไว้บูชาติดตัวบ้าง ที่พี่บอกให้ทำบุญตามราคาที่แจ้งแล้วผมโอนเงินแล้วแจ้งยังไงครับ หรือโพสแบบที่ผมโพสอยู่นี้ ซ่วยแนะนำด้วย ขอบคุณมากๆครับ ที่ให้ผมได้ระบายออกมาบ้าง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 พฤศจิกายน 2006
  11. Baramee

    Baramee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    230
    ค่าพลัง:
    +1,032
    สวัสดีครับคุณ sittipong

    ผมไม่ต้องการสร้างความขัดแย้งใดๆ นะครับ
    เพราะเป็นความเชื่อของแต่ละคน

    แม้แต่หลวงปู่ใหญ่ท่านมีอายุเท่าใดเราก็ยังไม่ทราบ
    รู้แต่ว่าท่านมีอายุยืนนานเพื่อรักษาพระพุทธศาสนาเท่านั้น

    ดังนั้นท่านจะมีลูกศิษย์ในยุคไหนบ้าง ก็ไม่มีใครชี้ชัดไปได้หรอกครับ
    มีแต่การคาดเดากันเอาเอง โดยใช้การเล่าขานต่อๆ กันมาว่า
    "เสด็จวังหน้า" เป็นลูกศิษย์ฆราวาสองค์หนึ่งเท่านั้น

    ผมเองก็คาดเดาเอาเช่นกัน แต่คาดเดาเอาจากเนื้อของพระวังหน้า
    เพราะมีทั้งเนื้อเก่าและเนื้อเก่ากว่ามาก

    และที่บอกว่าผิวหนังช้างนั้น ไม่ใช่แผ่นทองคำเปลวครับ
    แต่เป็น "ผิวเนื้อของพระ"

    ดังนั้นจึงไม่เห็นด้วยที่จะสรุปในเรื่องที่ยังไม่มีหลักฐานแน่ชัด
    น่าจะบอกเพียงว่า "น่าจะเป็นเท่านั้น"

    ขอโทษนะครับที่แสดงความเห็นแย้งมา ขอให้เป็น
    เพียงความเห็นที่แตกต่าง แต่เราจะไม่แตกแยกกันครับ
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949

    โมทนาสาธุครับ

    ดีครับ ดีแล้วครับ เริ่มต้นทำความดีไม่มีวันสายครับ ผมเองเมื่อสักสิบกว่าปีที่ผ่านมา ผมเองก็เป็นคนที่ทั้งกิน(เหล้า)ทั้งเที่ยว(เคล้านารี) แถมยังมีกีฬาบัตร(เล่นไพ่) เป็นชีวิตจิตใจ พอมาได้เห็นได้เจอรูปหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร แถมที่บ้านคอยตักเตือน ก็เลยทำให้ผมเปลี่ยนใจ หันหลังให้กับสิ่งเหล่านี้ เด็ดขาด ลองดูนะครับ พิสูจน์ด้วยตัวเอง แรกๆทำใจลำบาก ต่อๆมาก็ดีขึ้น สบายขึ้นครับ ผมขอเป็นกำลังใจให้และโมทนาสาธุอีกครั้งครับ

    ส่วนเรื่องพระพิมพ์นั้น ก็ดูว่าต้องการทำบุญกับที่ไหน ปัจจุบันนี้ผมให้ทำบุญสองแห่งครับ คือที่วัดบ่อเงินบ่อทอง ร่วมกันเป็นเจ้าภาพเรื่องขุดบ่อน้ำบาดาล ให้พระ-เณร ได้มีน้ำใช้กัน และอีกที่หนึ่งก็คือวัดภูเหล่าเงินฮาง ร่วมเป็นเจ้าภาพขุดบ่อน้ำบาดาล และสร้างโรงทานครับ

    ถ้าจะทำบุญที่วัดบ่อเงินบ่อทอง ให้โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ 203-0-06304-5 ชื่อบัญชี รร.พระปริยัติธรรมบ่อเงินบ่อทอง ปริยัติศึกษา บมจ.ธ.กรุงไทย สาขาพนมสารคาม ตามรายละเอียดการบูชาพระพิมพ์ที่อยู่หน้า 78

    หรือจะทำบุญที่วัดภูเหล่าเงินฮาง ให้โอนเงินเข้าชื่อบัญชี พระอ่อนสา ฐิติคุโณ ธนาคาร กรุงเทพฯ จำกัด สาขา กิโลศูนย์ เลขบัญชี 340-4-11629-9 เบอร์โทรพระอาจารย์สา 089-578-9600 (จากกระทู้ สโมสรนักบุญภูเหล่าเงินฮาง&คณะเบิกบาน บันเทิงบุญ (ที่เว็บไซด์พลังจิต) - เชิญร่วมทำบุญซื้อเครื่องสูบน้ำ ขุดเจาะน้ำ โรงครัว ที่เว็บไซด์ลานธรรม) ตามรายละเอียดการบูชาพระพิมพ์ในหน้าที่ 78

    เมื่อโอนเงินแล้ว ให้ส่งชื่อ - ที่อยู่ มาให้ผมผ่านข้อความส่วนตัว การส่งชื่อ - ที่อยู่ผ่านข้อความส่วนตัวจะทำได้ 2 วิธีครับคือ นำเม้าส์ไปกดที่ ข้อความส่วนตัว
    ยินดีต้อนรับ คุณ sithiphong
    คุณมาครั้งล่าสุดเมื่อ วันนี้ เวลา 05:51 PM
    ข้อความส่วนตัว: ยังไม่ได้อ่าน 0, รวม 861.


    หรือนำเม้าส์ไปกดที่ ชื่อสมาชิก แล้วจะปรากฎข้อความ ส่งข้อความส่วนตัวถึงคุณsithiphong ครับ

    sithiphong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_395531", true); </SCRIPT>
    สมาชิก GOLD
    สมาชิกยอดฮิต

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งสุดท้ายเมื่อ: วันนี้ 08:32 PM
    วันที่สมัคร: Dec 2005
    ข้อความ: 7,105 <!-- Start Post Thank You Hack -->
    ได้ให้อนุโมทนา 5,386 ครั้ง
    ได้รับอนุโมทนา 25,491 ครั้ง ใน 4,141 โพส <!-- End Post Thank You Hack -->
    พลังการให้คะแนน: 3281 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    เสร็จแล้วจะปรากฎหน้าต่างให้ใส่ข้อความ

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=tcat>Send New Private Message</TD></TR><TR><TD class=panelsurround align=middle><TABLE style="WIDTH: 480px; min-width: 480px; max-width: 100%" cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>
    <!-- recipients field --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>Recipients</LEGEND><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><SCRIPT src="clientscript/vbulletin_ajax_namesugg.js?v=362" type=text/javascript></SCRIPT>Recipient Username(s)
    <TEXTAREA id=pmrecips_txt tabIndex=1 name=recipients cols=50>sithiphong</TEXTAREA>

    <SCRIPT type=text/javascript> <!-- vbmenu_register('pmrecips', true); recip_sugg = new vB_AJAX_NameSuggest('recip_sugg', 'pmrecips_txt', 'pmrecips'); recip_sugg.allow_multiple = true; //--> </SCRIPT>[BCC] BCC Recipient Username(s)
    <TEXTAREA id=bccpmrecips_txt tabIndex=1 name=bccrecipients cols=50></TEXTAREA>

    <SCRIPT type=text/javascript> <!-- vbmenu_register('bccpmrecips', true); bccrecip_sugg = new vB_AJAX_NameSuggest('bccrecip_sugg', 'bccpmrecips_txt', 'bccpmrecips'); bccrecip_sugg.allow_multiple = true; fetch_object('bccpmrecips').style.display = 'none'; fetch_object('bccspan2').style.display = 'none'; fetch_object('bccspan1').style.display = ''; function swapbcc(obj) { obj.style.display = 'none'; fetch_object('bccpmrecips').style.display = ''; fetch_object('bccspan2').style.display = ''; return false; } //--> </SCRIPT></TD></TR><TR><TD>You may send your message to up to 20 people at a time.
    Separate multiple user names with ';'
    </TD></TR></TBODY></TABLE></FIELDSET> <!-- / recipients field --><!-- subject field --><TABLE class=fieldset cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD class=smallfont colSpan=3>ชื่อกระทู้:</TD></TR><TR><TD><INPUT class=bginput tabIndex=1 maxLength=85 size=50 name=title></TD><TD> </TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><!-- / subject field --><!-- message area -->ข้อความ:
    <!-- EDITOR SCRIPTS --><SCRIPT src="clientscript/vbulletin_textedit.js?v=362" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT type=text/javascript><!--var fontoptions = new Array("Arial", "Arial Black", "Arial Narrow", "Book Antiqua", "Century Gothic", "Comic Sans MS", "Courier New", "Fixedsys", "Franklin Gothic Medium", "Garamond", "Georgia", "Impact", "Lucida Console", "Lucida Sans Unicode", "Microsoft Sans Serif", "Palatino Linotype", "System", "Tahoma", "Times New Roman", "Trebuchet MS", "Verdana");var sizeoptions = new Array(1, 2, 3, 4, 5, 6, 7);var smilieoptions = new Array(); smilieoptions = { 'Standard Smilies' : { '33' : new Array('images/smilies/lightbulb.gif', '(i)', 'Light bulb'), '136' : new Array('images/smilies/b-one-eye.gif', '(b-oneeye)', ''), '22' : new Array('images/smilies/in-love.gif', '(f)', 'flower'), '119' : new Array('images/smilies/b-good.gif', '(verygood)', ''), '7' : new Array('images/smilies/cool.gif', ':cool:', 'Cool'), '129' : new Array('images/smilies/b2-no-good.gif', '(nogood)', ''), 'more' : 'Show all Smilies'} };var istyles = new Array(); istyles = { "pi_button_down" : [ "#98B5E2", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_button_hover" : [ "#C1D2EE", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_button_normal" : [ "#E1E1E2", "#000000", "1px", "none" ], "pi_button_selected" : [ "#F1F6F8", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_menu_down" : [ "#98B5E2", "#316AC5", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_menu_hover" : [ "#C1D2EE", "#316AC5", "0px", "1px solid #316AC5" ], "pi_menu_normal" : [ "#FFFFFF", "#000000", "0px", "1px solid #FFFFFF" ], "pi_popup_down" : [ "#98B5E2", "#000000", "0px", "1px solid #316AC5" ] };var smiliewindow_x = 240;var smiliewindow_y = 280;var ignorequotechars = 1;// vB Phrasesvbphrase["wysiwyg_please_wait"] = "Please wait for the WYSIWYG editor to finish loading...";vbphrase["wysiwyg_initialized"] = "WYSIWYG Editor initialized for %1$s in %2$s seconds.";vbphrase["wysiwyg_command_invalid"] = "This command is invalid or not implemented.";vbphrase["moz_must_select_text"] = "Mozilla requires that you must select some text for this function to work";vbphrase["moz_edit_config_file"] = "You need to edit your Mozilla config file to allow this action.";vbphrase["enter_tag_option"] = "Please enter the option for your %1$s tag:";vbphrase["must_select_text_to_use"] = "You must select some text to use this function.";vbphrase["browser_is_safari_no_wysiwyg"] = "The Safari browser does not support WYSIWYG mode.";vbphrase["enter_option_x_tag"] = "Enter the option for the [%1$s] tag:";vbphrase["enter_text_to_be_formatted"] = "Enter the text to be formatted";vbphrase["enter_link_text"] = "Enter the text to be displayed for the link (optional):";vbphrase["enter_list_type"] = "What type of list do you want? Enter '1' for a numbered list, enter 'a' for an alphabetical list, or leave blank for a list with bullet points:";vbphrase["enter_list_item"] = "Enter a list item.\r\nLeave the box empty or press 'Cancel' to complete the list:";vbphrase["must_enter_subject"] = "You must enter a title / subject!";vbphrase["message_too_short"] = "The message you have entered is too short. Please lengthen your message to at least %1$s characters.";vbphrase["enter_link_url"] = "Please enter the URL of your link:";vbphrase["enter_image_url"] = "Please enter the URL of your image:";vbphrase["enter_email_link"] = "Please enter the email address for the link:";vbphrase["complete_image_verification"] = "You did not complete the Image Verification";vbphrase["iespell_not_installed"] = "ieSpell is a spell-checking tool for Internet Explorer.\r\n\r\nIf you would like to download ieSpell, click OK; otherwise click Cancel.\r\n\r\nieSpell can be downloaded from http://www.iespell.com";vbphrase["click_quick_reply_icon"] = "";vbphrase["insert_all"] = "Insert All";//--></SCRIPT><!-- END EDITOR SCRIPTS --><!-- EDITOR STYLES --><LINK href="clientscript/vbulletin_editor.css" type=text/css rel=stylesheet><STYLE type=text/css><!--.vBulletin_editor { background: #E1E1E2; padding: 6px;}.imagebutton { background: #E1E1E2; color: #000000; padding: 1px; border: none;}.ocolor, .ofont, .osize, .osmilie, .osyscoloar, .smilietitle { background: #FFFFFF; color: #000000; border: 1px solid #FFFFFF;}.popup_pickbutton { border: 1px solid #FFFFFF;}.popup_feedback { background: #FFFFFF; color: #000000; border-right: 1px solid #FFFFFF;}.popupwindow { background: #FFFFFF;}#fontOut, #sizeOut, .popup_feedback div { background: #FFFFFF; color: #000000;}.alt_pickbutton { border-left: 1px solid #E1E1E2;}.popup_feedback input, .popup_feedback div{ border: 0px solid; padding: 0px 2px 0px 2px; cursor: default; font: 11px tahoma; overflow: hidden;}--></STYLE><!-- END EDITOR STYLES --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD class=controlbar id=vB_Editor_001_controls colSpan=2 unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD class=popup_feedback unselectable="on">Fonts
    Arial
    Arial Black
    Arial Narrow
    Book Antiqua
    Century Gothic
    Comic Sans MS
    Courier New
    Fixedsys
    Franklin Gothic Medium
    Garamond
    Georgia
    Impact
    Lucida Console
    Lucida Sans Unicode
    Microsoft Sans Serif
    Palatino Linotype
    System
    Tahoma
    Times New Roman
    Trebuchet MS
    Verdana
    </TD><TD class=popup_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD class=popup_feedback unselectable="on">Sizes
    1
    2
    3
    4
    5
    6
    7
    </TD><TD class=popup_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD id=vB_Editor_001_color_out unselectable="on">[​IMG]
    [​IMG]</TD><TD class=alt_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on"><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD class=alt_pickbutton unselectable="on">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD><!-- <td>[​IMG]</td> <td>[​IMG]
    </td> <td>[​IMG]
    </td> <td>[​IMG]
    </td> --><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD width="100%" unselectable="on"> </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    [​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0 unselectable="on"><TBODY unselectable="on"><TR unselectable="on"><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]</TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD><TD unselectable="on">[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR vAlign=top><TD class=controlbar><TEXTAREA id=vB_Editor_001_textarea dir=ltr style="DISPLAY: none; WIDTH: 380px; HEIGHT: 250px" tabIndex=1 name=message rows=10 cols=60></TEXTAREA><IFRAME id=vB_Editor_001_iframe style="WIDTH: 380px; HEIGHT: 250px" tabIndex=1></IFRAME></TD><TD class=controlbar><FIELDSET id=vB_Editor_001_smiliebox title=รูปสัญลักษณ์หน้ายิ้ม><LEGEND>รูปสัญลักษณ์หน้ายิ้ม</LEGEND><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 align=center border=0><TBODY><TR vAlign=bottom align=middle><TD>(i)</TD><TD>(b-oneeye)</TD><TD>(f)</TD></TR><TR vAlign=bottom align=middle><TD>(verygood)</TD><TD>:cool:</TD><TD>(nogood)</TD></TR><TR><TD class=smallfont colSpan=3>[More]</TD></TR></TBODY></TABLE></FIELDSET> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <INPUT id=vB_Editor_001_mode type=hidden value=1 name=wysiwyg><SCRIPT type=text/javascript><!--vB_Editor['vB_Editor_001'] = new vB_Text_Editor('vB_Editor_001', 1, 'privatemessage', '1');//--></SCRIPT> <!-- / message area --><SCRIPT type=text/javascript> <!-- function swap_posticon(imgid) { var out = fetch_object("display_posticon"); var img = fetch_object(imgid); if (img) { out.src = img.src; out.alt = img.alt; } else { out.src = "clear.gif"; out.alt = ""; } } // --> </SCRIPT><FIELDSET class=fieldset style="MARGIN: 10px 0px 0px"><LEGEND>Post Icons</LEGEND><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD colSpan=15>คุณอาจจะเลือก icon สำหรับข้อความของคุณจากรายการดังต่อไปนี้:
    </TD></TR><TR><TD noWrap width="12%"><LABEL for=rb_iconid_0><INPUT id=rb_iconid_0 onclick=swap_posticon(null) tabIndex=1 type=radio CHECKED value=0 name=iconid>ไม่มี icon </LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_1 onclick="swap_posticon('pi_1')" tabIndex=1 type=radio value=1 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_1>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_18 onclick="swap_posticon('pi_18')" tabIndex=1 type=radio value=18 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_18>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_25 onclick="swap_posticon('pi_25')" tabIndex=1 type=radio value=25 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_25>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_20 onclick="swap_posticon('pi_20')" tabIndex=1 type=radio value=20 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_20>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_21 onclick="swap_posticon('pi_21')" tabIndex=1 type=radio value=21 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_21>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_22 onclick="swap_posticon('pi_22')" tabIndex=1 type=radio value=22 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_22>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_23 onclick="swap_posticon('pi_23')" tabIndex=1 type=radio value=23 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_23>[​IMG]</LABEL></TD></TR><TR><TD> </TD><TD><INPUT id=rb_iconid_24 onclick="swap_posticon('pi_24')" tabIndex=1 type=radio value=24 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_24>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_27 onclick="swap_posticon('pi_27')" tabIndex=1 type=radio value=27 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_27>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_28 onclick="swap_posticon('pi_28')" tabIndex=1 type=radio value=28 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_28>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_29 onclick="swap_posticon('pi_29')" tabIndex=1 type=radio value=29 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_29>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_30 onclick="swap_posticon('pi_30')" tabIndex=1 type=radio value=30 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_30>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_31 onclick="swap_posticon('pi_31')" tabIndex=1 type=radio value=31 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_31>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_32 onclick="swap_posticon('pi_32')" tabIndex=1 type=radio value=32 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_32>[​IMG]</LABEL></TD></TR><TR><TD> </TD><TD><INPUT id=rb_iconid_17 onclick="swap_posticon('pi_17')" tabIndex=1 type=radio value=17 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_17>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_16 onclick="swap_posticon('pi_16')" tabIndex=1 type=radio value=16 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_16>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_15 onclick="swap_posticon('pi_15')" tabIndex=1 type=radio value=15 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_15>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_2 onclick="swap_posticon('pi_2')" tabIndex=1 type=radio value=2 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_2>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_3 onclick="swap_posticon('pi_3')" tabIndex=1 type=radio value=3 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_3>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_4 onclick="swap_posticon('pi_4')" tabIndex=1 type=radio value=4 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_4>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_5 onclick="swap_posticon('pi_5')" tabIndex=1 type=radio value=5 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_5>[​IMG]</LABEL></TD></TR><TR><TD> </TD><TD><INPUT id=rb_iconid_6 onclick="swap_posticon('pi_6')" tabIndex=1 type=radio value=6 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_6>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_26 onclick="swap_posticon('pi_26')" tabIndex=1 type=radio value=26 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_26>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_8 onclick="swap_posticon('pi_8')" tabIndex=1 type=radio value=8 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_8>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_9 onclick="swap_posticon('pi_9')" tabIndex=1 type=radio value=9 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_9>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_10 onclick="swap_posticon('pi_10')" tabIndex=1 type=radio value=10 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_10>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_11 onclick="swap_posticon('pi_11')" tabIndex=1 type=radio value=11 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_11>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_12 onclick="swap_posticon('pi_12')" tabIndex=1 type=radio value=12 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_12>[​IMG]</LABEL></TD></TR><TR><TD> </TD><TD><INPUT id=rb_iconid_13 onclick="swap_posticon('pi_13')" tabIndex=1 type=radio value=13 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_13>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_14 onclick="swap_posticon('pi_14')" tabIndex=1 type=radio value=14 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_14>[​IMG]</LABEL></TD><TD><INPUT id=rb_iconid_33 onclick="swap_posticon('pi_33')" tabIndex=1 type=radio value=33 name=iconid></TD><TD width="12%"><LABEL for=rb_iconid_33>[​IMG]</LABEL></TD><TD colSpan=8> </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </FIELDSET> ​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <INPUT type=hidden value=90d0a01472e72e7706724313035e2aa5 name=s> <INPUT type=hidden value=insertpm name=do> <INPUT type=hidden name=pmid> <INPUT type=hidden name=forward> <INPUT class=button id=vB_Editor_001_save accessKey=s tabIndex=1 type=submit value="Submit Message" name=sbutton> <INPUT class=button accessKey=r tabIndex=1 type=submit value="Preview Message" name=preview>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    เมื่อใส่ชื่อกระทู้และข้อความแล้ว ให้กด Submit Message ครับ ข้อความก็จะส่งถึงผู้รับครับ

    ให้แจ้งชื่อ - นามสกุล และที่อยู่ มาให้ผม แล้วผมจะให้คุณนักเดินทางเป็นผู้ส่งพระพิมพ์ไปให้ครับ

    โมทนาสาธุครับ
    .
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949

    โมทนาสาธุครับ เรื่องความคิดเห็นนี้ ทุกคนก็มีความคิดเห็นกันได้ครับ ไม่แตกแยกแน่นอนครับ

    .
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949

    ผมเองยังเชื่อในอาจารย์ประถม อาจสาครและผมเองได้ทราบจากพระอริยสงฆ์บางรูปซึ่งมีความเกี่ยวข้อง (ผมเองไม่สามารถบอกชื่อท่านได้ พระอริยสงฆ์องค์นี้ ไม่มีชื่อเสียงโด่งดังและมีคนรู้จักน้อยมาก) ซึ่งท่านอาจารย์ประถม ท่านได้เจอในนิมิตครับ เจอทั้ง 5 องค์ หลวงปู่ใหญ่นั้น ผมเองจะหมายถึงหลวงปู่พระอุตรเถระเจ้าครับ ไม่ใช่หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร) ซึ่งหลวงปู่อิเกสาโร ท่านเปรียบเสมือนกับเป็นเลขาของคณะโลกอุดร เวลามีการเสกพระ ส่วนใหญ่ท่านจะเป็นผู้ที่เสกให้ครับ

    เพื่อนๆในเว็บคนหนึ่ง ก็มีโอกาสไปกราบพระอริยสงฆ์องค์นี้ ท่านเองก็เชิญหลวงปู่ใหญ่มา เพื่อนผมเองก็ได้มีโอกาศได้รับความเมตตาจากหลวงปู่ใหญ่ ท่านก็มาสอนเพื่อนผม

    ส่วนผมเองก็มีประสบการณ์เกี่ยวกับหลวงปู่อยู่พอสมควร แต่คงไม่นำมาเล่า เพราะว่าเป็นเรื่องที่อจินไตยเกินไปครับ ขอเป็นความรู้สึกที่ดีมากๆส่วนตัวครับ

    เรื่องประวัติหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ผมยังเชื่อตามที่ผมได้เคยนำลงในกระทู้นี้ครับ

    แต่ไม่มีการแตกแยกแน่นอนครับ

    .
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 7 คน ( เป็นสมาชิก 7 คน และ บุคคลทั่วไป 0 คน ) </TD><TD class=thead width="14%">

    </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, โสระ, ยอด, grasib, prarahu, ลิดา, พันวฤทธิ์ </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 8 คน ( เป็นสมาชิก 8 คน และ บุคคลทั่วไป 0 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, โสระ, ยอด, guawn, prarahu, rename, ลิดา, พันวฤทธิ์ </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ผู้ชมหนาแน่นครับ
    รายงานจากสำนักข่าวบ่อเงินบ่อทอง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 พฤศจิกายน 2006
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    ได้อ่านกระทู้ของคุณมันตรัยแล้วได้ทราบว่าเป็นสมาชิกพลังจิตเหมือนกัน พวกเราที่เข้ามาในเวบนี้ ส่วนใหญ่เข้ามาแล้วก็ไม่ได้เข้ามาแค่ครั้งเดียว ต้องเผลอเข้ามาอีกจนได้ อย่างคุณอู๊ดผมก็คุ้นๆ ว่าเข้าไปในเวบพุทธวงศ์ด้วย นั่นเป็นเพราะพวกเราคงมีความผูกพันกันมาในทางใดทางหนึ่งในอดีตชาติ ผมเชื่อว่าพวกเราหลายคนที่เข้ามาที่นี่ มิได้มีจุดประสงค์มาหลอกขายพระ หรือหาประโยชน์อื่นใดมากกว่าการขยายเขตบุญบารมีของตนเอง หรือแลกเปลี่ยนสนทนากับพี่ๆ น้องที่มีอภิญญาจิต ที่กำลังฝึกอยุ่ หรือยังไม่มี ส่วนในกรณีพระที่คุณสิทธิพงศ์หรือคุณ tg ถามหรือลงให้ดูนั้น พวกเราแจกฟรีก็มาก ถวายวัดก็เยอะ ไม่เคยคิดจะขายเอาเงินเข้ากระเป๋ากันเลย เพียงแต่ว่าเอาบุญมาต่อบุญ การแจกพระก็เพื่อทำบารมีให้ตนเอง และองค์ผู้เสก และผู้สร้าง จะได้ต่อสายจิตกันไปเท่านั้น อย่างหลวงปู่โต๊ะ คุณมันตรัยตอบได้ไหมล่ะว่า ตั้งแต่ท่านเสกพระได้จนกระทั่งท่านมรณภาพ ท่านเสกพระวัดไหนบ้าง รุ้เพียงแต่ว่ารุ่นนี้ดัง รุ่นนี้เซียนนิยม แต่ว่าที่ท่านไปเสกตามวัดต่างๆ แล้วเซียนไม่เล่น ของปลอมงั้นรึ เช่นเดียวกัน ในชั่วชีวิตของสมเด็จ ท่านเสกให้วัดระฆังครั้งเดียวเท่าที่อยู่ในคอเซียน ในเซฟ ไม่กี่ร้อยองค์งั้นรึ นี่คือตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมง่ายๆ อย่างในปัจจุบันครูบาอาจารย์เก่งๆ เข้ามาเสกในวัดพระแก้วกันเป็นว่าเล่น แล้ววัดระฆังกับวัดพระแก้วไกลกันมากใช่มั้ย สมเด็จโต พระมหากษัตริย์ ข้าราชการชั้นผุ้ใหญ่ไม่นับถือใช่มั๊ย ถึงไม่นิมนต์ท่านมาเสกในวัดพระแก้วบ้าง ต้องวิเคราะห์กันตามความเป็นจริงด้วย แต่เนื่องจากพวกเราในเวบนี้ทั้งหมด ไม่มีใครเกิดทัน เราจึงต้องให้ญาณลาภีบุคคล หรือพระกรรมฐานเก่งๆ คอยตรวจให้ ว่าเป็นยังไง อย่างผมเองหรือคุณสิทธิพงษ์ก่อนจะแจกพระให้ใครเช็คแล้วเช็คอีก เช็คเสร็จต้องมาบันทึกกันว่า อาจารย์นั้นว่าพิมพ์นี้เป็นอย่างนี้ แล้วอีกอาจารย์นึงนะว่ายังไง เห็นตรงกัน สามสี่ท่านถึงกล้าแจก อย่างผมเองทั้งครอบครัว แขวนแต่อย่างที่เซียนเมินนี่แหละถ้าไม่แน่จริงผมไม่เอาชีวิตลูกเมียทดลองหรอกครับ อย่างเมื่อวันที่ 5/11 ที่ผ่านมางานกฐินที่วัดมาบจันทร์ จ.ระยอง ที่เป็นวัดกรรมฐานระดับต้นๆ ในสายของหลวงปู่มั่น ในจ.ระยอง ผมไปหาท่าน อ.อนันต์ที่เป็น อ.ใหญ่ของวัด ยื่นพระที่เซียนเมินกรุนี้แหละให้ตรวจ ผลก็คือ ตรวจ 20 องค์ถูกดึงไว้แจกในวัด 11 องค์ ท่านบอกว่าจะแจกให้คนที่มาทำบุญงานกฐิน พระเซียนเมินนี่แหละแจกงานกฐิน ถ้าไม่ดีจริงท่านคงไม่เสี่ยงแจกกระมั่ง ในเดือนที่แล้วก็เช่นกัน ไปพบเจ้าคุณสนธิ์ที่วัดพุทธบูชา ท่านกำลังจะสร้างเจดีย์บรรจุพระธาตุที่วัดมูลค่าราว 30 ล้าน คุณสิทธิพงษ์นี่แหละเอาพระเซียนเมินให้ท่านพิจารณาท่านพิจารณาแล้วบอกว่าบรรจุในเจดีย์ได้ แถมบอกว่าขออย่างในคอของคุณสิทธิพงษ์องค์นึง พระเซียนเมินนี่แหละเจ้าคุณสนธิ์ เจ้าคุณผู้ใหญ่ชั้นราช ขอให้หาให้องค์นึง ว่าไงล่ะ พระองค์นึงต้นทุนแค่ 10 บาท ราคาถูกกว่าเป๊บซี่ขวดใหญ่อีก นึ่คุณพัฒนาก็นำส่งไปใต้อีก 50 กว่าองค์ดูในหัวข้อของคุณพัฒนาที่แจกพระในเวบนี้ก็ได้ นี่คือการทดสอบกับชีวิตทหารจริง กำลังคิดว่าจะประเมินผลกันยังไง ถ้าผู้พันขอเพิ่มมาอีกล่ะ สงสัยงานนี้เซียนต้องเก็บแล้วล่ะมั๊ง ทั้งหลายทั้งปวงที่กล่าวมานี้ ก็เพื่อจะชี้ให้เห็นว่าเราต่างคนต่างก็มีจุดยืนเหมือนกัน คือต้องการพระที่ดีไว้ปกปักรักษา เพียงแต่ว่าถ้าเรารู้ว่า พระชนิดนี้ดีตามแนวทางของเรา และเราปฏิบัติถูกต้องตามคำสั่งสอนของพระพุทธองค์แล้วไซร้ก็ขอให้เข้าใจกัน คุณมันตรัย อาจจะบอกว่าซัลมอนรมควันอร่อยเพราะมีราคาแพงปรุงรสด้วยเชฟชั้นดี แต่เราบอกว่าแกงเนื้อไข่เค็มรถเข็นป้าคนนี้สุดยอดก็จะอุปมาได้ว่าเหตุที่มาต่างกัน แต่ผลของมันคือความอร่อยเหมือนกันนั่นเอง ดังนั้น อย่าว่ากันเน๊อะ จะถึงวันที่ 5 แล้ว ส่งแรงใจให้พ่อเราดีกว่าให้ท่านสุขกายสบายใจ ให้ท่านมีพระชนม์มายุยิ่งยืนนานด้วยเทอญ
     
  17. อู๊ดลาดพร้าว

    อู๊ดลาดพร้าว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    49
    ค่าพลัง:
    +262
    ขอโทษนะครับ ผมมีความสงสัยอย่างนึง ว่าพระสมเด็จวังหน้าเห็นพี่แจกมาตั้งแต่ต้นปีแล้ว ทำไมยังมีเหลืออีกครับ แล้วโอนเงินไปให้ที่วัด พี่ที่แจกพระก้มีค่าใช้จ่ายในการส่งพระจำนวนมั้ยน้อยเลยนะครับ ทำไมถึงทำบุญกันหนักจังครับ ซึ่งตามปกติถ้าฐานะไม่ดีคงทำอย่างนี้ไม่ได้สม่ำเสมอ ผมแค่ถามเพื่อเป็นวิทยาทานในการดำรงชีวิตอีกมุมหนึ่งเท่านั้น ไม่ได้มีเจตนาเป็นอย่างอื่น ถ้าเป็นการล่วงเกินอย่างใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยครับ เพราะผมไม่ได้ติดตามอ่านข้อความทั้งหมด เพราะเพิ่งเข้ามาศึกษาครับ
     
  18. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,789
    ค่าพลัง:
    +16,101
    คุณอู๊ดอยู่ลาดพร้าวใช่มั๊ย ผมทำงานอยู่ตึก LPN เลยไทยรัฐมานิดนึง ไม่แน่ว่าคุณ tg อยู่การบินไทยตรงข้ามกับผมหรือเปล่า ที่ถามเพราะว่าพระที่หลวงปู่เสกมีเป็นจำนวนนับไม่ได้ ถ้ามาหาผมที่ชั้น 11 ตึกข้างต้น ผมจะให้เจ้าคุณกรมท่าคนละองค์ สมเด็จพุทธประวัติอีกคนละองค์ จะได้รู้ว่านอกจากพระที่เราเห็นในตระกูลสมเด็จวัดระฆังแล้ว ยังมีพิมพ์แปลกที่ทันเจ้าคุณสมเด็จเสกอีกบานตะไทถ้าได้เจอผมก็จะควักให้ดูเลย ผมนี่แหละแขวนวัดระฆังรุ่นเซียนเมิน ภรรยากำลังจะเลี่ยมทองให้แขวนสมเด็จอะระหังรุ่นสามองค์ 50.-บาท ลูกสาวคนโตแขวนนางพญาคุณแม่บุญเรือนวัดสัมพันธ์วงศ์องค์ละ 100.-บาท ไอ้ตัวเล็กเด็กผู้หญิงแก่นกะโหลก จะให้แขวนเจ้าคุณกรมท่าพิมพ์เล็ก ถ้ามันทำมาหากินไม่ขึ้น หรืออุบัติเหตุ ก็ให้มันตายทั้งครอบครัวไปเลย ผมมั่นใจเพราะได้ตรวจสอบอย่างที่บอกข้างต้นแล้ว พระสนามถ้าแน่ใจว่าดูขาด และแท้แล้ว ก็แขวนได้เลย แต่ถ้าวันใดใจแป้วละเสร็จแน่ เซียนการันตีความแรงของพระได้ช่ะม่ะ
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    พระของวังหน้า มีการจัดสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ.2400 จนถึงปี พ.ศ.2428 อันเป็นปีที่ท่านเจ้า(กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ)ท่านทิวงคต(ตามประวัติศาสตร์) การจัดสร้างนั้น มีการสร้างเป็นจำนวนมาก ถ้ารวมของทางวังหลวงที่จัดสร้างขึ้นด้วยนั้น ท่านอาจารย์ประถม เคยคุยกันกับทางกลุ่มลูกศิษย์ของท่าน ประมาณกันว่า จำนวนพระนั้นไม่น้อยกว่า 30 ล้านองค์ ในสองร้อยกว่าพิมพ์ครับ

    ผมเองนั้นเก็บไว้ไม่มากนัก แค่ไม่กี่พันองค์ บางคนเก็บกันเป็นหลักแสนองค์ก็มีครับ

    ส่วนเรื่องการจัดส่งพระ แต่เดิมผมเป็นคนซื้อกล่องบรรจุ เป็นคนจ่ายค่าจัดส่งพระพิมพ์เอง ในตอนหลังมีผู้ร่วมทำบุญ(เป็นเพื่อนในเว็บนี้และกลุ่มลูกศิษย์ของท่านอาจารย์ประถม )ครับ
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    จากกระทู้ พระสมเด็จ(โต) หากท่านอยากที่จะได้บูชา

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ ยอด [​IMG]
    ผมว่าเสน่ห์ พระเครื่องก็อยู่ ตรงนี้ครับ ทำให้เราต้องมีการค้นคว้าศึกษาแบบไม่มีที่สิ้นสุด
    เรื่องต่างต่างจะเอาอะไรมาเป็นมาตราฐาน ตรงนี้เลยจับได้ยากครับ
    เพราะขนาดระดับเซียน ก็เห็นมีพราดเสียท้ามาแล้งก็มีครับ
    มีพีคนที่ผมเคยให้จับ พลังพระครื่อง พี่เขาเล่าให้ฟังว่า มีครั้งมีนายตำรวจยศ
    เป็น พลตำรวจ เอก เซียร์ เมืองไทย
    ยังพลาดท่ามาเลย คือนายตำรวจ คนนี้ได้โทรปรึกษา เรื่องพระที่ได้มาใหม่
    แต่ พี่เขาใช้วิชา ยามนาฬิกาจับแล้วทาย ก็สามารถ ทายตำนิองค์พระได้ถูกต้อง
    และยามก็บอกเป็น พระปลอมครับ แต่นายตำรวจ ท่านนี้ในวงการก็เป็นที่ยอมรับกัน ว่าเป็นเซียร์ ก็ไม่เชื่อ เลยเอาพระที่ได้มาให้จับพลังอีกครั้ง แต่ผลก็คือเป็นพระที่ไม่มีพลัง
    ลืมบอกไปว่า พี่ท่านที่จับพลังนี้ เรียนวิชา มาจาก อจ. ลามะที่ธิเบตครับ
    ผมเลยว่า วงการพระเครื่องนี้ จะเอาอะไรมาเป็นมาตราฐาน นั้นยากมากครับ
    ขนาดหินธิเบต ที่กำลังนิยมในบ้านเอา พีท่านนี้ที่เรียนมาทางสายธิเบต ยังว่าเป็น ของเล่น เลยครับ ให้ แขวนพระเครื่องดีกว่าครับ

    ผมเลยสรุปเท่าที่ปัญญาผมว่า เรื่อง พระเครื่อง เราสามารถพิสูตร โดยใช้กล้อง
    ออร่าได้ คือจับได้ แค่พลังงานหรือมวลสาร พระเครื่องเท่านั้นครับ

    ส่วนที่พลังจิต อำนาจจิต ของเกจิ อจ. แต่ละท่าน นั้น มันไม่รู้จะเอามาตราฐาน อะไร มาจับต้องได้ สำหรับ คนอย่างพวกเรา

    ใครมีความรู้อะไร ช่วยกัน แนะนำ นะครับ ....

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    เรื่องพลังจิต อำนาจจิตนั้น ไม่มีมาตรฐานอะไรมาตั้งเป็นกฎเกณฑ์ได้ ยกเว้นผู้ที่มีฌาณ , มีญาณ หรือมีอภิญญาเท่านั้น จึงจะทราบได้ แต่การที่จะมีฌาณ ,มีญาณ หรือมีอภิญญานั้น ก็ไม่ยาก แต่ก็ไม่ง่าย ต้องฝึกฝน เรียนรู้กับครูบาอาจารย์ก่อน อย่างสายพระอาจารย์มั่นนี้ก็ได้ และการรู้นี้เป็นการรู้ได้ด้วยตนเองเท่านั้น ไม่สามารถที่จะหาอะไรมาตั้งเป็นบรรทัดฐานได้ เรื่องนี้พิสูจน์ได้ แต่ตนเองเท่านั้นที่จะเป็นผู้ที่พิสูจน์เองเท่านั้นครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
     

แชร์หน้านี้

Loading...