สุกขวิปัสสกะ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย รสมน, 11 พฤษภาคม 2010.

  1. รสมน

    รสมน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,451
    ค่าพลัง:
    +2,047
    สงบไม่ได้หมายความถึงอาการภายนอกที่ดูสงบนิ่งที่ดูได้จากทางตา แต่ความสงบ
    เป็นนามธรรมที่เกิดทางใจและความสงบก็ไม่ได้หมายถึงจิตใจที่จดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
    ไม่วอกแวกไปในสิ่งใด แต่ความสงบคือความสงบจากกิเลส สงบจากโลภะ โทสะและ
    โมหะ สงบจากอกุศลนั่นก็คือจิตเป็นกุศลจึงชื่อว่าสงบ เพราะฉะนั้นไม่ต้องกล่าวถึงการ
    ออกไปข้างนอก เข้าสังคม ขณะนี้เองสงบหรือไม่ ขณะใดที่ไม่เป็นไปในกุศล คือไม่เป็น
    ไปในทาน ศีลหรือการอบรมวิปัสสนา ขณะนั้นก็เป็นอกุศลโดยมาก ขณะนั้นจึงไม่สงบ
    ความไม่สงบหรืออกุศลจึงมีหลายระดับทั้งที่ไม่ล่วงออกมาทางกาย วาจา เพียงแต่
    อยู่ในใจก็เป็นอกุศลแล้ว หรืออกุศลที่ล่วงออกมาทางกาย วาจา มีการดื่มสุรา เป็นต้น
    ก็เป็นอกุศลที่มีกำลังมากขึ้น แต่ขึ้นชื่อว่าอกุศลแล้วสงบไมได้เลยครับ
    อกุศลจิตเป็นปกติในชีวิตประจำวัน การอบรมปัญญาที่ถูกต้องคือรู้ความจริงของอกุศล
    ที่เกิดแล้วว่าเป็นธรรม ไม่ใช่เรา ละความเห็นผิดว่าเป็นสัตว์ บุคคลตัวตนก่อน นี่คือ
    กิเลสที่ต้องละเป็นอันดับแรกครับ
    ขัณฑจักร
    ปฐมฌาน-ทุติยฌาน
    [๒๕๕] ๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็น
    ผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและทุติยฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-ตติยฌาน
    ๒. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้-
    *ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและตติยฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-จตุตถฌาน
    ๓. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและจตุตถฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง
    คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าว
    เท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง
    ต้องอาบัติปาราชิก.
    ปฐมฌาน-สุญญตวิโมกข์
    [๒๕๖] ๔. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้
    เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสุญญตวิโมกข์ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
    ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความ
    ชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-อนิมิตตวิโมกข์
    ๕. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอนิมิตตวิโมกข์ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-อัปปณิหิตวิโมกข์
    ๖. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอัปปณิหิตวิโมกข์ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
    ปฐมฌาน-สุญญตสมาธิ
    [๒๕๗] ๗. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็น
    ผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสุญญตสมาธิ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-อนิมิตตสมาธิ
    ๘. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอนิมิตตสมาธิ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-อัปปณิหิตสมาธิ
    ๙. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาธิ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
    ปฐมฌาน-สุญญตสมาบัติ
    [๒๕๘] ๑๐. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้
    เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสุญญตสมาบัติ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้น
    กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบ
    ใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-อนิมิตตสมาบัติ
    ๑๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอนิมิตตสมาบัติ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-อัปปณิหิตสมาบัติ
    ๑๒. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาบัติ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-วิชชา ๓
    [๒๕๙] ๑๓. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้
    เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและวิชชา ๓ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
    ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพราง
    ความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
    ปฐมฌาน-สติปัฏฐาน ๔
    [๒๖๐] ๑๔. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้
    เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสติปัฏฐาน ๔ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้น
    กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-สัมมัปปธาน ๔
    ๑๕. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสัมมัปปธาน ๔ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-อิทธิบาท ๔
    ๑๖. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอิทธิบาท ๔ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗
    อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
    ปฐมฌาน-อินทรีย์ ๕
    [๒๖๑] ๑๗. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้
    ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอินทรีย์ ๕ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-พละ ๕
    ๑๘. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและพละ ๕ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง
    คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าว
    เท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง
    ต้องอาบัติปาราชิก.
    ปฐมฌาน-โพชฌงค์ ๗
    [๒๖๒] ๑๙. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็น
    ผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและโพชฌงค์ ๗ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้น
    กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
    ปฐมฌาน-อริยมรรคมีองค์ ๘
    [๒๖๓] ๒๐. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้
    เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอริยมรรคมีองค์ ๘ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้น
    กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
    ปฐมฌาน-โสดาปัตติผล
    [๒๖๔] ๒๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้
    เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและโสดาปัตติผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้น
    กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-สกทาคามิผล
    ๒๒. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้
    ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและสกทาคามิผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าว
    แล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-อนาคามิผล
    ๒๓. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้
    ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอนาคามิผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-อรหัตตผล
    ๒๔. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและอรหัตตผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง
    คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าว
    เท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง
    ต้องอาบัติปาราชิก.
    ปฐมฌาน-สละราคะ
    [๒๖๕] ๒๕. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้
    ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและราคะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัด
    แล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑
    เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
    แล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-สละโทสะ
    ๒๖. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและโทสะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
    เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้น
    เธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว
    ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติ
    ปาราชิก
    ปฐมฌาน-สละโมหะ
    ๒๗. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและโมหะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
    เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้น
    เธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว
    ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติ
    ปาราชิก
    ปฐมฌาน-เปิดจากราคะ
    [๒๖๖] ๒๘. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้
    เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
    ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-เปิดจากโทสะ
    ๒๙. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้น
    กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ปฐมฌาน-เปิดจากโมหะ
    ๓๐. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ
    ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง
    ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้น
    กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
    ขัณฑจักร จบ.
    พัทธจักร
    [๒๖๗] ๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็น
    ผู้ชำนาญ ทำให้แจ้งซึ่งทุติยฌานและตติยฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒ ... ทุติยฌานและจตุตถฌาน ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๓ ... ทุติยฌานและสุญญตวิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๔ ... ทุติยฌานและอนิมิตตวิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๕ ... ทุติยฌานและอัปปณิหิตวิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๖ ... ทุติยฌานและสุญญตสมาธิ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๗ ... ทุติยฌานและอนิมิตตสมาธิ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๘ ... ทุติยฌานและอัปปณิหิตสมาธิ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๙ ... ทุติยฌานและสุญญตสมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๐ ... ทุติยฌานและอนิมิตตสมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๑ ... ทุติยฌานและอัปปณิหิตสมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๒ ... ทุติยฌานและวิชชา ๓ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๓ ... ทุติยฌานและสติปัฏฐาน ๔ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๔ ... ทุติยฌานและสัมมัปปธาน ๔ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๕ ... ทุติยฌานและอิทธิบาท ๔ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๖ ... ทุติยฌานและอินทรีย์ ๕ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๗ ... ทุติยฌานและพละ ๕ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๘ ... ทุติยฌานและโพชฌงค์ ๗ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๙ ... ทุติยฌานและอริยมรรคมีองค์ ๘ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๐ ... ทุติยฌานและโสดาปัตติผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๑ ... ทุติยฌานและสกทาคามิผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๒ ... ทุติยฌานและอนาคามิผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๓ ... ทุติยฌานและอรหัตผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๔ ... ทุติยฌานและราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
    เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๕ ... ทุติยฌานและโทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
    เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๖ ... ทุติยฌานและโมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
    เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๗ ... ทุติยฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๘ ... ทุติยฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๙ ... ทุติยฌานและจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๓๐ ... ทุติยฌานและปฐมฌาน ... ต้องอาบัติปาราชิก
    พัทธจักร จบ.
    พัทธจักรเอกมูลกนัย ท่านตั้งอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งๆ เป็นมูลแล้ว เวียนไปโดยวิธีนี้
    ท่านย่อไว้.
    พัทธจักร เอกมูลกนัย
    [๒๖๘] ๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว
    เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง
    ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
    ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความ
    ชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งทุติยฌาน ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๓ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งตติยฌาน ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๔ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งจตุตถฌาน ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๕ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสุญญต-
    *วิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๖ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอนิมิตต-
    *วิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๗ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอัปปณิหิต-
    *วิโมกข์ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๘ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสุญญตสมาธิ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๙ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอนิมิตตสมาธิ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอัปปณิหิต-
    *สมาธิ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสุญญต-
    *สมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอนิมิตต-
    *สมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอัปปณิหิต-
    *สมาบัติ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งวิชชา ๓ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสติปัฏฐาน ๔ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสัม-
    *มัปปธาน ๔ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอิทธิบาท ๔ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอินทรีย์ ๕ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งพละ ๕ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งโพชฌงค์ ๗ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอริยมรรค
    มีองค์ ๘ ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งโสดา-
    *ปัตติผล ... ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งสกทาคามิผล ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอนาคามิผล ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้าแล้ว ... ซึ่งอรหัตตผล ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และโทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และโทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก
    ๓๐ ภิกษุรู้อยู่ ... จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ...
    ต้องอาบัติปาราชิก.
    พัทธจักร เอนกมูลกนัย
    มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งเป็นมูล ที่ท่านย่อไว้ จบ.
    [๒๖๙] พัทธจักร ทุมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูลก็ดี ติมูลกนัย
    มีอุตตริมนุสสธรรม ๓ ข้อเป็นมูลก็ดี จตุมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๔ ข้อเป็นมูลก็ดี
    ปัญจมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๕ ข้อเป็นมูลก็ดี ฉมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๖ ข้อเป็น
    มูลก็ดี สัตตมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๗ ข้อเป็นมูลก็ดี อัฏฐมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม
    ๘ ข้อเป็นมูลก็ดี นวมูลนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๙ ข้อเป็นมูลก็ดี ทสมูลกนัย มีอุตตริ-
    *มนุสสธรรม ๑๐ ข้อเป็นมูลก็ดี บัณฑิตพึงให้พิสดารเหมือนพัทธจักร เอกมูลกนัย ดังที่ให้พิสดาร
    แล้วนั้นเถิด.
    พัทธจักร สัพพมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรมทุกข้อเป็นมูล ดังต่อไปนี้:-
    พัทธจักร สัพพมูลกนัย
    [๒๗๐] ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้
    เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน สุญญตวิโมกข์
    อนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์ สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ
    สุญญตสมาบัติ อนิมิตตสมาบัติ อัปปณิหิตสมาบัติ วิชชา ๓ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔
    อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ โสดาปัตติผล สกทาคามิผล
    อนาคามิผล อรหัตตผล ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว
    ถอนแล้ว โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว
    โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว จิตของ
    ข้าพเจ้าเปิดจากราคะ จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ และจิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ
    ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
    ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
    ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง ต้องอาบัติปาราชิก.
    พัทธจักร สัพพมูลกนัย จบ.
    สุทธิกวารกถา จบ.
    ขัณฑจักร แห่งนิกเขปบท วัตถุนิสสารกะ
    [๒๗๑] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ดังนี้ แต่กล่าว
    เท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้วด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ
    ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว
    ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ
    ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว
    ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ
    ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๓๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
    ขัณฑจักร แห่งนิกเขปบท วัตถุนิสสารกะ จบ.
    พัทธจักร เอกมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
    มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งเป็นมูล
    [๒๗๒] ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว ดังนี้ แต่กล่าวเท็จว่า
    ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง
    คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพราง
    ความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ
    ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว
    ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ
    ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๓๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
    พัทธจักร เอกมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
    มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งเป็นมูล จบ.
    มูลแห่งพัทธจักรที่ท่านย่อไว้
    [๒๗๓] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ดังนี้ แต่กล่าว
    เท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง
    ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้น
    กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความ
    ชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติ
    ถุลลัจจัย
    ๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติถุลลัจจัย
    ๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติถุลลัจจัย
    ๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติถุลลัจจัย
    ๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๓๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
    พัทธจักร เอกมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ ที่ท่านย่อไว้ จบ.
    ขัณฑจักรทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
    มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล
    [๒๗๔] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและทุติยฌานแล้ว ดังนี้
    แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและตติยฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าว
    แล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ...
    เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อ
    คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ...
    เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่น
    เข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อ
    คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อ
    คนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และราคะ ข้าพเจ้าสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และโทสะ ข้าพเจ้าสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และโมหะ ข้าพเจ้าสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และจิตของข้าพเจ้าเปิดจาก
    ราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และจิตของข้าพเจ้าเปิดจาก
    โทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน และจิตของข้าพเจ้าเปิดจาก
    โมหะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
    ขัณฑจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
    มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล จบ.
    พัทธจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
    มีอุตตริมนุสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล
    [๒๗๕] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานและตติยฌานแล้ว
    ดังนี้ แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าว
    แล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติถุลลัจจัย
    ๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติถุลลัจจัย
    ๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติถุลลัจจัย
    ๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
    พัทธจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
    มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล จบ.
    พัทธจักร ทุมูลกนัย แห่งวัตถุนิสสารกะ
    ที่ท่านย่อไว้
    [๒๗๖] ๑ ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ และจิตของ
    ข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ดังนี้ แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
    ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า-
    *กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ
    ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าจตุตถฌานแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอิทธิบาท ๔ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๑๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๐ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๑ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๒ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๓ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๔ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอนาคามิผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๕ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ข้าพเจ้าเข้าอรหัตตผลแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    ๒๖ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า ราคะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติถุลลัจจัย
    ๒๗ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โทสะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติถุลลัจจัย
    ๒๘ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติถุลลัจจัย
    ๒๙ ภิกษุรู้อยู่ ... แต่กล่าวเท็จว่า จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ ... เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้อง
    อาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    พัทธจักร ทุมูลกนัย มีอุตตริมนุสสธรรม ๒ ข้อเป็นมูล
    แห่งวัตถุนิสสารกะ ที่ท่านย่อไว้ จบ.
    [๒๗๗] พัทธจักรแห่งวัตถุนิสสารกะ มีอุตตริมนุสสธรรม ๓ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริ
    มนุสสธรรม ๔ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๕ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๖ ข้อ
    เป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๗ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๘ ข้อเป็นมูลก็ดี
    มีอุตตริมนุสสธรรม ๙ ข้อเป็นมูลก็ดี มีอุตตริมนุสสธรรม ๑๐ ข้อเป็นมูลก็ดี บัณฑิตพึงทำ
    ให้เหมือนพัทธจักร แม้มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งๆ เป็นมูล แห่งนิกเขปบททั้งหลายที่กล่าว
    ไว้แล้วฉะนั้น พึงให้พิสดารเหมือนพัทธจักร มีอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งเป็นมูล ที่ท่านให้
    พิสดารแล้วนั้นเถิด.
    พัทธจักร สัพพมูลกนัย
    มีอุตตริมนุสสธรรมทุกข้อเป็นมูล ดังนี้:-
    [๒๗๘] ภิกษุรู้อยู่ ประสงค์จะกล่าวว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน
    จตุตถฌาน สุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์ สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ
    อัปปณิหิตสมาธิ สุญญตสมาบัติ อนิมิตตสมาบัติ อัปปณิหิตสมาบัติ วิชชา ๓ สติปัฏฐาน ๔
    สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ โสดาปัตติผล
    สกทาคามิผล อนาคามิผลและอรหัตตผลแล้ว ราคะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว
    ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว โทสะ ข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว
    สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว โมหะข้าพเจ้าสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว
    เพิกแล้ว ถอนแล้ว จิตของข้าพเจ้าเปิดจากราคะ จิตของข้าพเจ้าเปิดจากโทสะ และจิตของ
    ข้าพเจ้าเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ
    ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าว
    เท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความ
    จริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติปาราชิก เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย.
    พัทธจักร สัพพมูลกนัย จบ.
    จักรเปยยาลแห่งวัตถุนิสสารกะ จบ.
    วัตตุกามวารกถา จบ.
    ปัจจยปฏิสังยุตวารกถา เปยยาล ๑๕ หมวด
    ปัจจัตตวจนวาร ๕ หมวด
    [๒๗๙] ๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดอยู่ในวิหารของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดอยู่ในวิหารของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว
    เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ... สุญญตวิโมกข์
    ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตตสมาธิ ... อัปปณิหิตสมาธิ
    ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓ ... สติปัฏฐาน ๔ ...
    สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗ ... อริยมรรคมีองค์ ๘
    ... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดอยู่ในวิหารของท่าน ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว
    ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว
    ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว
    ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
    ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพราง
    ความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดอยู่ในวิหารของท่าน จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ ...
    จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดอยู่ในวิหารของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว
    เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร ...
    ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
    [๒๘๐] ๒. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดอยู่ในวิหารของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
    ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง
    กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
    ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดนุ่งห่มจีวรของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว
    เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ... สุญญตวิโมกข์
    ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตตสมาธิ ... อัปปณิหิตสมาธิ
    ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓ ... สติปัฏฐาน ๔ ...
    สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗ ... อริยมรรคมีองค์ ๘ ...
    โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดนุ่งห่มจีวรของท่าน ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว
    ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว
    ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว
    ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
    ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพราง
    ความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดนุ่งห่มจีวรของท่าน จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ ... จิต
    ของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดนุ่งห่มจีวรของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว
    เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร ...
    ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ... ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ...
    ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ
    ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพราง
    ความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้อง
    อาบัติทุกกฏ
    ๓. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคบิณฑบาตของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคบิณฑบาตของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ...
    สุญญตวิโมกข์ ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตตสมาธิ ...
    อัปปณิหิตสมาธิ ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓ ...
    สติปัฏฐาน ๔ ... สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗ ... อริยมรรคมี
    องค์ ๘ ... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
    ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
    ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อ
    เขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคบิณฑบาตของท่าน ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคบิณฑบาตของท่าน จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ
    ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคบิณฑบาตของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งทุติยฌานใน
    สุญญาคาร ... ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ... ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
    ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง
    กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
    ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ๔. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดใช้สอยเสนาสนะของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดใช้สอยเสนาสนะของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ...
    สุญญตวิโมกข์ ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตตสมาธิ ...
    อัปปณิหิตสมาธิ ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓ ...
    สติปัฏฐาน ๔ ... สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗ ...
    อริยมรรคมีองค์ ๘ ... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ
    ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
    ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
    ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดใช้สอยเสนาสนะของท่าน ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดใช้สอยเสนาสนะของท่าน จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ
    ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดใช้สอยเสนาสนะของท่าน ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งทุติยฌานใน
    สุญญาคาร ... ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
    ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
    ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ๕. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคเครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่าน
    ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วย
    อาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จัก
    กล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพราง
    ความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคเครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่าน ภิกษุ
    นั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน
    ... จตุตถฌาน ... สุญญตวิโมกข์ ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ...
    อนิมิตตสมาธิ ... อัปปณิหิตสมาธิ ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ
    ... วิชชา ๓ ... สติปัฏฐาน ๔ ... สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ...
    โพชฌงค์ ๗ ... อริยมรรคมีองค์ ๘ ... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล
    ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า
    จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
    ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
    เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคเครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่าน ราคะ
    ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ
    ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ
    ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ
    ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
    ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
    ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคเครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่าน จิตของ
    ภิกษุนั้นเปิดจากราคะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วย
    อาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จัก
    กล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพราง
    ความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ
    ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ภิกษุใดบริโภคเครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่าน ภิกษุ
    นั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร
    ... ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ
    ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
    ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
    ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
    ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
    ปัจจัตตวจนวาร จบ.
    กรณวจนวาร ๕ หมวด
    ๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ
    ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน ... ตติยฌาน ... จตุตถฌาน ... สุญญตวิโมกข์
    ... อนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์ ... สุญญตสมาธิ ... อนิมิตตสมาธิ ... อัปปณิหิตสมาธิ
    ... สุญญตสมาบัติ ... อนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติ ... วิชชา ๓ ... สติปัฏฐาน ๔ ...
    สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔ ... อินทรีย์ ๕ ... พละ ๕ ... โพชฌงค์ ๗ ... อริยมรรคมีองค์ ๘
    ... โสดาปัตติผล ... สกทาคามิผล ... อนาคามิผล ... อรหัตตผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ... โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
    คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ
    ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า วิหารของท่านอันภิกษุใดอาศัยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร ... ซึ่งทุติยฌานใน
    สุญญาคาร ... ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ...
    ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าว
    แล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ
    ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
    ๒. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า จีวรของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
    เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง ...
    ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
    กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
    ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
    เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ


    เอาบุญมาฝากได้ถวายสังฆทาน
    ได้อนุโมทนาบุญกับผู้ใส่บาตรตามถนนหนทาง กรวดน้ำอุทิศบุญ
    เจริญวิปัสสนา ให้ธรรมะเป็นทาน ให้อภัยทาน
    รักษาศีล อาราธนาศีล เจริญวิปัสสนา ได้ปฏิบัติธรรม
    ได้ถวายข้าวพระพุทธรูป สักการะพระธาตุ
    ทำงานบ้านช่วยพ่อแม่ทุกวัน
    และเจริญอาโปกสิน
    ฟังธรรมศึกษาธรรม
    ศึกษาการรักษาโรค
    ที่ผ่านมาได้ให้อาหารแก่สัตว์เป็นทานทุกวัน
    และเพื่อนๆได้ไปทัวร์ทำบุญกับพระป่ากรรมฐาน
    และได้ร่วมบุญในการสร้างเจดีย์บรรจุพระธาตุ
    และสร้างบารมีครบทั้ง 10 อย่าง ขอให้อนุโมทนาบุญด้วย
    ขอเชิญอบรมกรรมฐานวันศุกร์ที่ 21-28 พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๓
    โทร. 086-854-8018
    ขอให้สรรพสัตว์ทั้ง 31 ภพภูมิจงบรรลุมรรคผลนิพพานเทอญ
     
  2. ตรงประเด็น

    ตรงประเด็น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    309
    ค่าพลัง:
    +677
    "พระอรหันต์สุกขะวิปัสสกะ" ไม่ได้มีความหมายเท่ากันทุกประการกับ "พระอรหันต์ปัญญาวิมุต"


    คำว่า "พระอรหันต์สุกขวิปัสสกะ" ไม่มีปรากฏในสมัยพุทธกาล แต่ ปรากฏในคัมภีร์รุ่นหลังพุทธกาล

    ในสมัยพุทธกาล มีแต่คำว่า"พระอรหันต์ปัญญาวิมุต"




    พระอรหันต์ปัญญาวิมุต มีอยู่๕ประเภท คือ

    1.ปัญญาวิมุติ สุกขวิปัสสก
    2.ปัญญาวิมุต ผู้ได้ฌานที่๑
    3.ปัญญาวิมุต ผู้ได้ฌานที่๒
    4.ปัญญาวิมุต ผู้ได้ฌานที่๓
    5.ปัญญาวิมุต ผู้ได้ฌานที่๔

    (อ่านจาก พุทธธรม ฉบับขยายความ หน้า295 ในช่องตารางสรุป)

    ส่วน ปัญญาวิมุต สุขวิปัสสก นั้น ท่านบรรยายขยายความดังนี้

    "ก. พระสุกขวิปัสสก ผู้เจริญวิปัสสนาล้วน ได้สมาธิถึงระดับฌานต่อเมื่อถึงขณะแห่งมรรค"

    (อ่านจาก พุทธธรม ฉบับขยายความ หน้า296)


    พึงสังเกตุ
    ไม่มีพระอรหันต์ประเภทใด ที่ไม่เคยผ่านฌานจิตเลย
    เพียงแต่ว่า ฌานจิตจะเด่นชัด หรือ ไม่เด่นชัด เท่านั้น

    แม้นแต่ พระอรหันต์ปัญญาวิมุต สุกขวิปัสสก ที่ไม่เคยได้ฌานใดๆมาก่อน แต่ ก็จะมีฌานจิตปรากฏในขณะบรรลุมรรคผลเช่นกัน(แต่ ท่านไม่ได้ชำนาญในการเข้าฌาน)



    ขออนุญาต สรุปน่ะครับ

    คำว่า "พระอรหันต์สุกขวิปัสสก" ไม่เท่ากันทุกประการกับคำว่า "พระอรหันต์ปัญญาวิมุต"

    พระอรหันต์สุกขวิปัสสก เป็นsubset ของพระอรหันต์ปัญญาวิมุต
     
  3. ลูกบัวผัน

    ลูกบัวผัน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    187
    ค่าพลัง:
    +295
    ไม่มีพระอรหันต์องค์ไหน ที่สำเร็จตาม ตัวอักษร
     
  4. ตรงประเด็น

    ตรงประเด็น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    309
    ค่าพลัง:
    +677
    ประเด็น พระอรหันต์ปัญญาวิมุต คือ พระอรหันต์ที่ไม่เคยบรรลุฌานมาก่อน ???






    ความจริงแล้ว ในระดับพระไตรปิฎก การแบ่ง พระอรหันต์เจโตวิมุติ-ปัญญาวิมุต อยู่ตรงที่ว่า เคยได้อรูปฌานมาก่อนหรือไม่ ต่างหาก. (เพราะ สัมมาสมาธิในองค์มรรค พระพุทธองค์ทรงแสดงด้วย รูปฌาน๑-๔ ...ซึ่ง ถ้าปราศจากสัมมาสมาธิในองค์มรรคย่อมไม่มีทางบรรลุอรหัตตผล)


    # พระอรหันต์ประเภทปัญญาวิมุต ท่านจะเคยได้สมาธิสูงสุดไม่เกินรูปฌานที่๔ (ถ้าสนใจจุดนี้ ลองหาอ่านตรงจุดนี้ จาก หนังสือพุทธธรรม)

    จาก พจนานุกรม

    ปัญญาวิมุต “ผู้หลุดพ้นด้วยปัญญา”
    หมายถึง พระอรหันต์ผู้สำเร็จด้วยบำเพ็ญวิปัสสนาโดยมิได้อรูปสมาบัติมาก่อน



    # ส่วน พระอรหันต์ประเภทเจโตวิมุต(อุภโตภาควิมุต)นี้ ท่านจะต้องเชี่ยวชาญในอรูปสมาบัติ และ อาจเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ได้

    จาก พจนานุกรม

    อุภโตภาควิมุต “ผู้หลุดพ้นทั้งสองส่วน”
    คือ พระอรหันต์ผู้บำเพ็ญสมถะมาเป็นอย่างมากจนได้สมาบัติ ๘ แล้ว จึงใช้สมถะนั้นเป็นฐานบำเพ็ญวิปัสสนาต่อไปจนบรรลุอรหัตตผล;
    หลุดพ้นทั้งสองส่วน (และสองวาระ) คือหลุดพ้นจากรูปกายด้วยอรูปสมาบัติ (เป็นวิกขัมภนะ) หนหนึ่งแล้ว จึงหลุดพ้นจากนามกายด้วยอริยมรรค (เป็นสมุจเฉท) อีกหนหนึ่ง;
     
  5. ตรงประเด็น

    ตรงประเด็น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    309
    ค่าพลัง:
    +677
    เสนอ ประเด็นจากเพื่อนทางธรรมท่านหนึ่ง ที่เคยเสวนา กัน




    ปัญหาคือ

    พระสารีบุตรท่านเป็นพระอรหันต์ปัญญาวิมุต จริงหรือ???



    เสนออ่าน




    พระสารีบุตร ท่านบรรลุทั้ง วิโมกข์๘ และ อภิญญา๖


    พระอรหันต์เจโตวิมุต(ในพระสูตรนี้ คือ พระอรหันต์อุภโตภาควิมุต)

    มีรายละเอียดปรากฏในพระสูตร ที่แสดงบุคคล๗จำพวก

    <!-- m -->


    พระสารีบุตร ท่าน บรรลุวิโมกข์๘ และ ท่านสามารถเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ อีกทั้ง ท่านเองก็บรรลุอภิญญา๖(แต่ อาจจะไม่เชี่ยวชาญในอิทธิวิธีเท่าพระมหาโมคัลลานะ)...

    ดังนั้น พระสารีบุตรท่านจึงเป็น พระอรหันต์อุภโตภาควิมุต(ภาษาที่ใช้ในคัมภีร์รุ่นหลังพุทธกาลบางเล่ม ใช้คำว่า พระอรหันต์เจโตวิมุต)...

    ท่านเป็น พระอรหันต์อุภโตภาควิมุต ที่เลิศด้วยปัญญา เป็นอัครสาวกเบื้องขวา ครับ
     
  6. ตรงประเด็น

    ตรงประเด็น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    309
    ค่าพลัง:
    +677
    ประเด็น ความเชื่อที่ว่า



    พระอรหันต์ปัญญาวิมุต คือ พระอรหันต์ที่เจริญวิปัสสนาล้วนๆ(ท่านเข้าใจว่า ตรงกับ เจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องหน้า/เจริญสมถะมีวิปัสสนาเป็นเบื้องต้น) ถึงแม้นในขณะบรรลุอรหัตผลไปแล้ว ฌานจิตก็ยังไม่เคยปรากฏเลย???... ฌานจิตจะปรากฏเอาตอนภายหลัง ที่ ท่านย้อนมาเจริญสมถะ (หลังจากบรรลุอรหัตผลไปแล้ว)

    วิปัสสนาจารย์แนวสุทธวิปัสสนายานิก ท่านหนึ่ง ได้กล่าวไว้ดังนี้


    และ ดังปรากฏ ตามที่ พระครูศรีโชติญาณ ท่านแสดงไว้ดังนี้




    .......................



    # เสนอ ปรียบเทีบกันกับ การเจริญวิปัสสนามีสมถะเป็นเบื้องหน้า

    ที่ ท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์ ท่านกล่าวไว้ ครับ


    จาก หนังสือพุทธธรรม หน้า 331

    ซึ่ง ที่ ท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์ กล่าวนี้ จะตรงกับคำว่า มัคคสิทธิฌาน ในคัมภีร์รุ่นหลังพุทธกาล ครับ...คือ เป็น ฌานที่บังเกิดตามหลังการเจริญวิปัสสนาจนบรรลุมรรคผล.


    อนึ่ง แม้นแต่หนังสือของทางสำนักแนวทางอภิธัมมัตถะสังคหะ เอง ก็ยังกล่าวไว้เช่นกัน ที่ว่า



    ดังนั้น พระอรหันต์ปัญญาวิมุต จึงไม่ใช่ว่า ท่านเจริญวิปัสสนาล้วนๆจนบรรลุอรหัตผลแล้ว ค่อยย้อนกลับไปฝึกสมถะภายหลัง
     
  7. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    พระโสดาบัน จะต้องมี ปฐมฌาณเป็นอย่างน้อย ในการเดิน มรรค

    พระอนาคามี และ พระอรหันต์ จะมี ฌาณ 4 ในการเดินมรรค

    ไม่เช่นนั้นแล้ว รูปราคะ ส่วนละเอียด ท่านละไม่ขาด เช่น ราคะใน รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส

    ในสุขเวทนา อันอยู่ใน ฌาณ 3 นั้น จะพ้นไปได้ก็ ฌาณ 4

    ลองพิจารณากันดู
     
  8. อโศ

    อโศ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,689
    ค่าพลัง:
    +5,830
    ท่านตรงประเด็นและท่านขัันธ์ กล่าวได้ดีแล้ว
     

แชร์หน้านี้

Loading...