การรู้จักจิตผิดๆ ทำให้การศึกษาพระพุทธศาสนาผิดตลอดแนว

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ธรรมภูต, 18 มีนาคม 2010.

  1. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    การรู้จักเรื่องจิตผิดๆ ย่อมทำให้การเรียนรู้
    และการปฏิบัติในพระพุทธศาสนาผิดตลอดแนว

    ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ?
    เช่นเดียวกับบุคคลที่ติดกระดุมเสื้อผิดเม็ดแรก
    เม็ดต่อๆไปก็จะติดผิดตามไปด้วยตลอดแนว

    การเปรียบเทียบแบบนี้จะทำให้เราเห็นได้อย่างชัดเจน
    ถึงเหตุแห่งความเข้าใจผิดๆนั้น
    แต่กลับเข้าใจเอาเองแบบผิดๆว่า สิ่งที่ตนเข้าใจนั้นถูกต้องแล้ว

    เพราะสามารถติดกระดุมได้ตลอดแนวเช่นกัน
    แต่เป็นแถวเป็นแนวที่ผิดรูปไปไม่ลงตัวกันพอดีเท่านั้น
    โดยที่เจ้าตัวไม่รู้ตัวเลย เนื่องจากตนเองนั้นใส่เสื้อตัวนั้นอยู่
    ทำให้มองไม่เห็นสิ่งที่ตนเองทำลงไป
    แต่ก็ไม่ถึงกับไม่รู้เลย เพียงแต่คุ้นชินกับสิ่งที่ทำ
    ต้องให้บุคคลอื่นที่เคยผ่านประสบการณ์นั้นมาแล้ว ชี้ให้เห็นตามความเป็นจริง

    เนื่องจากบุคคลที่เคยผ่านมาแล้วนั้น
    ย่อมมีวิธีการที่ติดกระดุมเม็ดแรกไม่ให้ผิดพลาดได้เลย
    โดยมีพระพุทธพจน์เป็นกระจกคอยส่องให้เห็นได้อย่างชัดเจน
    ถึงความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการติดกระดุมเม็ดแรก

    เราควรต้องคอยเอาพระพุทธพจน์มาเทียบเคียง
    กับผลของการปฏิบัติที่ผ่านๆมา ว่าเราหลงทางอยู่หรือไม่

    การเริ่มต้นนั้นสำคัญมากๆ
    เมื่อเริ่มต้นผิดก็จะทำให้ผิดตลอดแนวได้เช่นกัน

    โดยเฉพาะเรื่องจิต ซึ่งเป็นหัวใจหลักในพระพุทธศาสนาของ "เรา”
    พวกเราชาวพุทธพึงต้องศึกษาเรื่องจิตให้เข้าใจอย่างถูกตรง ตามพระพุทธพจน์
    จึงจะทำให้การปฏิบัติสมาธิกรรมฐานภาวนาเป็นไปเพื่อความหลุดพ้นอย่างถูกต้อง

    ในโอวาทปาติโมกข์นั้น พระพุทธองค์ท่านทรงกล่าวไว้ชัดเจนว่า
    ให้เราชำระจิตให้บริสุทธิ์หมดจดจากเครื่องเศร้าหมอง
    ซึ่งเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาที่สำคัญมาก เพื่ออะไร?
    เพื่อให้จิตหลุดพ้นหรือจิตพ้นวิเศษจากอารมณ์ต่างๆ(อุปกิเลสทั้งหลายทั้งดีทั้งชั่ว)

    เมื่อมีความเข้าใจผิดๆว่าจิตเป็นของเหลวไหลเกิดดับอยู่ตลอดเวลา
    เป็นที่พึ่ง เป็นที่อาศัยไม่ได้แล้วเลยนั้น
    เราจะชำระจิตให้บริสุทธิ์หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองไปเพื่ออะไร?

    เราจะชำระได้ละหรือ ในเมื่อจิตเกิดๆดับๆอยู่ตลอดเวลา
    ในเมื่อจิตเป็นของเหลวไหล เป็นที่พึ่งพาอาศัยไม่ได้ จะชำระจิตไปทำไม?

    ถ้าจิตเป็นของแบบที่ว่ามานั้นแล้ว
    เราควรปล่อยจิตทิ้งไปหรือทำลายทิ้งไปเสียให้สิ้นไม่ดีกว่าหรือ?
    ต้องไปชำระให้สะอาดบริสุทธิ์เพื่ออะไร?
    เพราะว่า เมื่อชำระจิตให้บริสุทธิ์หมดจด(เป็นธรรมธาตุ)ได้แล้ว
    จิตก็ยังเป็นของเหลวไหล เกิดดับ เป็นที่พึ่งพาอาศัยไม่ได้อยู่ดี

    ซึ่งเป็นไปไม่ได้แน่นอน พระพุทธองค์คงไม่สอนให้เรามัวเสียเวลา
    กับการชำระของที่เกิดๆดับๆ เหลวไหลเป็นที่พึ่งพาอาศัยไม่ได้

    (มีต่อ)
     
  2. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ก่อนอื่น เราชาวพุทธต้องมารู้จักจิตที่แท้จริงเสียก่อน
    คำว่า “จิต” คือธาตุรู้ เมื่อเป็นธาตุรู้ จะต้องทรงไว้ซึ่งความรู้
    อะไรเกิดขึ้นก็รู้ อะไรดับไปก็รู้ ไม่รู้ก็รู้ว่าไม่รู้


    ถ้าตัวมันเองเกิดๆดับๆ จิตต้องเป็นสภาพธรรมที่รู้บ้างไม่รู้บ้างสิ
    จะมาเรียกว่าธาตุรู้ไม่ได้เลย เพราะเดี๋ยวรู้บ้าง ไม่รู้บ้าง
    ต้องเรียกว่าธาตุรู้บ้างไม่รู้บ้างจึงจะถูกต้อง


    เมื่อเป็นธาตุรู้ย่อมไม่กลับกลายเป็นธาตุอื่นไปได้
    ย่อมต้องเป็นธาตุรู้อยู่ต่อไปตลอดเวลาวันยังค่ำ
    เพียงแต่มีการรู้ถูก(รู้เห็นตามความเป็นจริง)หรือรู้ผิดจากความเป็นจริงเท่านั้น

    ถ้ารู้ถูกก็เกิดวิชชาขึ้นที่จิต จิตมีสติรู้เท่าทันอารมณ์ที่เกิดขึ้นที่จิต และดับไปจากจิต
    ส่วนที่จิตรู้ผิดนั้น เพราะจิตรู้ผิดไปจากความเป็นจริงถูกอวิชชาครอบงำมานานแล้ว
    แม้ผู้มีปัญญายังไม่รู้เลยว่า จิตถูกอวิชชาครอบงำมาตั้งแต่เมื่อไหร่

    แต่จิตที่เข้ามาเกิดในภพภูมิต่างๆ เช่น ภพมนุษย์นั้น
    เพราะ กิเลส กรรม วิบาก ที่นอนเนื่องอยู่ที่จิต เป็นตัวเหตุที่ผลักดันให้เข้ามาเกิดในภพภูมิต่างๆ
    เพื่อมาชดใช้ กิเลส กรรม วิบาก ในสิ่งที่ตนเองได้เคยก่อไว้
    ไม่ใช่มาชดใช้ กิเลส กรรม วิบาก ของใครผู้หนึ่งผู้ใดที่เคยก่อไว้เลย
    เป็นการชดใช้ กิเลส กรรม วิบาก ของตนเองแท้ๆนั่นเทียวที่ได้เคยก่อไว้

    การชดใช้ กิเลส กรรม วิบาก ของใครของเค้า
    จิตเรา กิเลส กรรม วิบาก ก็เป็นของเราที่เคยก่อไว้
    จะเป็นของคนอื่นใดที่เคยก่อไว้เป็นไปไม่ได้เลย
    และรับชดใช้ กิเลส กรรม วิบากให้แทนกันก็ไม่ได้เช่นกัน

    ดั่งพระพุทธพจน์ที่กล่าวไว้ว่า
    “ใครที่ทำกรรมดีกรรมชั่วเช่นใด ย่อมได้รับผลแห่งกรรมดีกรรมชั่วเช่นนั้น”

    ฉะนั้น “จิต”จึงเป็นหลักธรรมที่สำคัญอย่างมากที่พวกเราชาวพุทธต้องฝึกฝนอบรม
    ให้จิตเกิดความชำนิชำนาญในการปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นในอารมณ์ต่างๆ
    ได้อย่างเด็ดขาดและรวดเร็ว(สติปัญญา)


    ไม่ใช่ใช้เพียงแค่สัญญาที่ตนเองเข้าใจผิดๆคิดว่าเป็นปัญญา
    นึกว่าปล่อยวางได้ แต่แท้จริงแล้วไม่ใช่
    ในจิตใจของตนเองยังคุกรุ่นอยู่กับอารมณ์เหล่านั้น
    และเก็บกักอารมณ์เหล่านั้นไว้เป็นธรรมารมณ์ต่อไป
    พร้อมที่จะระเบิดอารมณ์เหล่านั้นออกมาได้อีกตลอดเวลา
    เมื่อมีเหตุปัจจัยแวดล้อมเกิดขึ้นอย่างพร้อมมูล

    (มีต่อ)
     
  3. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    เมื่อรู้อย่างนี้แล้ว เราควรต้องฝึกฝนอบรมจิตของเรา
    ให้รู้จักการปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นในอุปาทานขันธ์(อุปกิเลส)ทั้งหลาย
    ไม่ใช่เที่ยวไปอบรมจิตของใคร(คนอื่น)ไม่ได้หรอก
    ต้องเป็นจิตของใครของมันที่ต้องอบรมจิตตนเอง

    เราต้องฝึกฝนอบรมจิตของเราหรือของใครของมันให้เกิดสติปัญญา(การปล่อยวางอารมณ์)ให้ได้
    เมื่อจิตถอดถอนความยึดมั่นถือมั่นในอุปกิเลสต่างๆทั้งหลายได้แล้ว
    จนจิตกลายเป็นธรรมธาตุแล้ว จิตจะกลับมายึดถือตนเองเพื่ออะไรอีก?
    ในเมื่อตนเอง(จิต)รู้จักการปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นได้แล้ว

    โดยหลักการแล้ว เราต้องมารู้จักสักกายทิฐิ(ความรู้เห็นเรื่องกาย)ที่ถูกต้องว่าเป็นอย่างไร?
    มีมาในพระพุทธพจน์เรื่องมหาสติปัฏฐานสูตร กล่าวไว้ว่า

    “ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกายอยู่อย่างไรเล่า

    ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ก็ดี ไปสู่เรือนว่างก็ดี
    นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า
    เธอมีสติหายใจออก มีสติหายใจเข้า

    เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว
    เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว
    เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น
    เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น

    ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวง”


    เพื่อให้มารู้จักกายในกาย(จิต) เมื่อรู้จักกายในกาย(จิต)
    ย่อมรู้จักเวทนาในเวทนา จิตในจิต ธรรมในธรรมแบบต่อเนื่องได้
    เมื่อถึงขั้นนี้แล้วย่อมรู้จักจิตที่แท้จริง
    เมื่อรู้จักจิตที่แท้จริงแล้ว ผู้ปฏิบัติ(เรา)จะตั้งจิตที่มีสติไว้ฐานไหนอย่างต่อเนื่องก็ได้เช่นกัน

    ส่วนใครที่บอกว่า เริ่มต้นจากฐานไหนก็ได้ทั้งนั้น
    เป็นการกล่าวแบบไม่รู้เห็นตามความเป็นจริง
    เพราะยังไม่เคยรู้จักจิตที่แท้จริง(กายในกาย)เลย

    ยังเข้าใจแบบผิดๆว่าจิตบังคับไม่ได้
    ถ้าจิตบังคับบัญชาไม่ได้
    เราจะมาฝึกฝนอบรมจิตให้เป็นไปอย่างใจหวังไปเพื่ออะไร?

    มีพระพุทธพจน์กล่าวไว้ว่า “จิตที่ฝึกดีแล้วย่อมนำสุขมาให้”

    แสดงว่าจิตไม่ใช้ตัวทุกข์ และต้องฝึกฝนบังคับบัญชาได้ จึงนำสุขมาให้ได้

    ตัวอย่างคนที่เคยทำผิดคิดมิชอบมาก่อน ชีวิตนี้ก็ไม่ต้องได้กลับตัวกลับใจกันเลยสิ
    เพราะยังเข้าใจแบบผิดๆว่าจิตของตนเองนั้นไม่สามารถบังคับบัญชาให้กลับตัวกลับใจได้....เอวัง

    ธรรมภูต

    ;aa24
     
  4. ไข่น้อย

    ไข่น้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    170
    ค่าพลัง:
    +348
    ได้ครับพี่ ดีครับท่าน
    แผล่บๆ อิอิ
     
  5. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    [๕๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง
    แต่ว่าจิตนั้นแล เศร้าหมองแล้วด้วยอุปกิเลสที่จรมา
    ปุถุชนผู้มิได้สดับ ย่อมจะไม่ทราบจิตนั้นตามความเป็นจริง
    ฉะนั้น เราจึงกล่าวว่า ปุถุชนผู้มิได้สดับ ย่อมไม่มีการอบรมจิต ฯ

    [๕๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง
    และจิตนั้นแล พ้นวิเศษแล้วจากอุปกิเลสที่จรมา
    พระอริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว ย่อมทราบจิตนั้นตามความเป็นจริง
    ฉะนั้น เราจึงกล่าวว่า พระอริยสาวกผู้ได้สดับ ย่อมมีการอบรมจิต ฯ

    อ่านที่นี่



    คุณเกิดเป็นคนสาธุครับ "ทุกสิ่งทุกอย่างมีจิตเป็นใหญ่มีจิตเป็นประธานครับ"...
    จะดี จะชั่ว จะพ้นทุกข์หรือหลงทางก็ขึ้นอยู่ที่จิตทั้งนั้น
    ไม่อบรมจิตให้พ้นวิเศษจากอุปกิเลสทั้งหลาย แล้วจะอบรมอะไรหละให้พ้นวิเศษ?

    ;aa24
     
  6. เสขะ บุคคล

    เสขะ บุคคล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,240
    กระทู้เรื่องเด่น:
    54
    ค่าพลัง:
    +4,023
    สามสิ่ง .... สามจริง .....

    กองหนึ่งมีเป่นก้อน ............ไร้ตน นี้นา
    กองที่สองทุกข์ทน ............ใคร่พ้น แดดิ้น
    ที่สามเลิศล้ำจน ................ประจักษ์ ใจแล
    บัวท่านวิเศษล้น ..............ใคร่รู้ ยอมตาย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 18 มีนาคม 2010
  7. ธรรมะสวนัง

    ธรรมะสวนัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,305
    ค่าพลัง:
    +1,256
    จิต เป็นตัวธรรมทรงตัวอยู่ทุกสมัย เป็นอสังขตธาตุ ไม่มีเหตุปรุงสร้าง เป็นอมตะไม่ตาย
    เป็นมูลฐานแห่งนามธรรมทั้งปวง เป็นธรรมชาติที่รู้อะไรได้


    ธรรมชาติจิตที่รู้อะไรได้นี้ ย่อมมีถูกมีผิดแล้วแต่กำลังแห่งจิตที่มีความรู้
    รู้ถูก หรือ เห็นถูก เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ
    รู้ผิด หรือ เห็นผิด เรียกว่า มิจฉาทิฏฐิ

    จะพูดว่าดินรู้ถูกเห็นถูกและรู้ผิดเห็นผิด หรือน้ำรู้ถูกเห็นถูกและรู้ผิดเห็นผิด นั้นไม่ได้
    เพราะสิ่งใดๆ เช่น ดินและน้ำ เป็นต้น นอกจากจิตแล้ว เป็นธรรมชาติรู้อะไรไม่ได้
    จิตเท่านั้นรู้อะไรได้

    จิตนี้ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พุทธะ หรือ พุทโธ คือ ผู้รู้


    มี ผู้รู้ ก็ต้องมี สิ่งที่ถูกรู้ เป็นคู่กัน

    สิ่งที่ถูกรู้นั้น ได้แก่ อารมณ์และเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆทั้งปวง ณ ภายนอกแห่งจิต
    ซึ่งเข้ามาโดยวิถีทางทั้ง ๕ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
    สรุปลง คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม เป็นเครื่องรู้ของจิต


    จิต คือ ผู้รู้ นี้
    น่าจะสมกับพระนิพนธ์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชาว่า

    จิตนี้เพ็ญสืบสร้าง โพธิญาณ
    พูนเพิ่มบารมีชาญ ฉลาดรู้
    เป็นใหญ่แห่งจักรวาล ทั้งหมด
    ก่อเกิดไตรโลกกู้ พิภพพื้นสังขารฯ


    พุทธะ ผู้รู้ นี้ น่าจะกำเนิดเดียวกับคำว่า วิชชา ที่แปลว่า ความรู้
    พินิจแล้วได้ผลเป็นอย่างนี้ คือ
    เอาสระอิที่ วิ เป็นสระอุ เปลี่ยนเป็น วุ แล้วแปลง ว ที่ วุ เป็น พ สระอุ เป็น พุ
    ส่วนชะตัวหลังแปลงเป็นทะซ้อนธะ ก็แปรรูปวิชชา เป็นพุทธะ หรือ พุทโธ ผู้รู้

    พุทโธ ผู้รู้ นี้ หมายถึง การรู้เรื่องภายในของตนเอง
    คือ รู้อริยสัจจ์ ๔ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค

    รู้ยิ่งเห็นจริง รู้แล้วไม่ติดอยู่ในสิ่งซึ่งจะต้องรู้ ถูกรู้ นั้น
    หมดความอยากความต้องการเรียกว่า สิ้นตัณหา
    ไม่ยึดถือไม่ติดเรียกว่า หมดอุปาทาน


    พุทโธ ผู้รู้นี้ พูดสั้นๆว่า หมายเอาตัวจิตนั้นเองก็ได้
    เป็นจิตบริสุทธิ์พิเศษได้นามว่าพุทธะ หรือพระพุทธเจ้า
    ออกนอกโลก อยู่เหนือโลก

    ส่วนจิตของคนธรรมดาสามัญที่ไม่รู้อริยสัจจ์ ๔ ก็เป็นพวกอวิชชา คือ พวกไม่รู้
    เป็นคน หรือ สัตว์โลก ติดข้องอยู่ในโลก
    โลก คือ อารมณ์ทั้งปวง สัตว์ แปลว่า ติดข้อง เรียกว่า สามัญญสัตว์ คนธรรมดาสามัญ


    คนธรรมดาสามัญนั้น ถึงจะมีวิชชาความรู้ในทางโลกมากสักเพียงใดก็ตาม
    วิชชาความรู้นั้นถอนตัวออกจากทุกข์ไม่ได้ เพราะไม่รู้จักตนเอง
    เอาโลกมาเป็นตัวตน กลับจะจมหนักลงไปอีก

    เพราะฉะนั้นเมื่อไม่รู้อริยสัจจ์ ๔ แล้ว ถึงมีวิชชาความรู้มาก ก็จัดเป็นพวกอวิชชาโง่หมด

    มีผู้รู้ก็ต้องมีสิ่งที่ถูกรู้ ครั้นต่อๆมา คำว่าวิชชากลับไปเป็นชื่อของสิ่งที่ถูกรู้
    สิ่งต่างๆในภายนอกจิต เป็นเรื่องซึ่งจิตจะต้องศึกษาต้องรู้ เรียกว่า วิชชาความรู้

    วิชชาที่จะต้องศึกษาให้รู้ให้เข้าใจนั้นจัดเป็น ๒ คือ
    วิชชาในทางโลก ๑ วิชชาในทางธรรม คือ อริยสัจจ์ สี่ ๑

    วิชชาในทางโลก เรียนรู้แล้วทำให้ผู้รู้ติดแน่นอยู่ในโลกมากขึ้น
    ถอนตัวออกจากโลกออกจากกองทุกข์ไม่ได้


    ส่วนวิชชาในทางธรรม เป็นความรู้ๆเรื่องภายในของตนเอง คือ รู้อริยสัจจ์ ๔
    เรียนรู้แล้วถอนตัวออกจากโลกออกจากกองทุกข์ได้ จึงเป็นพวกวิชชาหรือพุทธะ


    คนธรรมดาสามัญที่ไม่รู้อริยสัจ ๔ เป็นพวกอวิชชาหมด
    วิชชา ปัญญา เปรียบหมือนแสงสว่างส่องให้ปรากฏแห่งสิ่งต่างๆ
    ส่วนอวิชชา อัปปัญญา เปรียบเหมือนความมืดตื้อ

    คนรู้เรื่องของตนเองดี เหมือนอยู่ในที่สว่างกระจ่างแจ้ง
    ส่วนคนไม่รู้เรื่องของตนเองเหมือนอยู่ในที่มืดตื้อ

    ต้องตามพระพุทธภาษิตว่า
    อวิชชาย นิวุโต โลโก โลก คือ หมู่ชนอันอวิชชาคลุมมิดแล้ว ดังนี้
    อวิชชา คือ ไม่รู้อริยสัจจ์ ๔ อันเป็นเรื่องภายในของตนเองฯ
    พื้นพิภพ มืดมั่ง เป็นครั้งคราว
    ไม่ยืดยาว มืดจิต ฤทธิ์โมหันธ์
    อันมืดจิต มืดเป็น นิตย์นิรันดร์
    ไม่เป็นวัน เป็นคืน จะตื่นตา


    มืดระยำ ไม่รู้จัก ตัวเองซ้ำ
    เที่ยวงมคลำ หาสุข ได้ทุกขา
    น้อยนัก ผู้สว่าง กระจ่างจ้า
    เชิญท่านหา ปัญญา มาส่องเอยฯ


    ------- เปมงฺกโร ภิกฺขุ --------

     
  8. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    ธรรมบรรยาย เวลาเป็นธรรมบรรยายนี่จะพูดหรือจะร้อยเรียงยังไงจะจับโน้นจับนี่มากล่าวออกไป ทำให้ดูเหมือนว่าข้อมูลมีความเชื่อมโยงถึงกันด้วยอักษรและความเข้าใจตามตัวหนังสือก็อาจทำได้และเป็นกันได้แทบทุกคน เว้นบางคน แต่ธรรมปฏิบัติ พอทำไปๆพิจารณาไปฝึกสติบ้างสมาธิบ้างก็จะทราบและแยกแยะได้ว่า
    นี่ธรรมะของปุถุชนนะ เหมาะสม สมควร
    นี่ธรรมะของอริยะบุคคลโสดาบันนะ เหมาะสม สมควร
    นี่ธรรมะของอริยะบุคคลสกิทาคมีนะ เหมาะสม สมควร
    นี่ธรรมะของอริยะอานาคามีนะ เหมาะสม สมควร
    นี่ธรรมะของพระอรหันต์บุคคลนะ เหมาะสม สมควร
    จะเห็นว่าสี่ลำดับแรก เป็นปุถุชนไปจนถึงพระอนาคามีนั้น ยังมีความยึดมั่นถือมั่นอยู่ แต่ว่ามากน้อยต่างกันไป ส่วนของพระอรหันต์ไม่มีมลทินแห่งความยึดมั่นถือมั่น ไม่ว่าจะในจิต หรือในที่ใดๆหรือในอะไรเลย ผมเข้าใจว่าที่สอนมานี่เป็นธรรมของปุถุชนและเสขะบุคคลพึงพิจารณาศึกษาให้มาก เพื่อนำไปสู่การละคลายความยึดมั่นถือมั่นทั้งหลาย น่าจะใช่ตามความประสงค์ของท่านเจ้าของกระทู้คือพี่ธรรมภูตและพี่ธรรมสวณัง นะครับ
    อนุโมทนาด้วยครับ
     
  9. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    อันนี้ฝากไว้ให้อ่านครับเห็นว่าชอบอ่านและตีความลองตีความพระสูตรนี้หน่อยสิครับว่าหมายถึงอะไรครับ

    วีณาสูตรที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค เล่ม ๔ ภาค ๑
    ผมเองก็ลังเลกับสิ่งที่ผมเห็นจากข้อความบนกระทู้อยากจะไม่เห็นด้วยแต่กลัวเสียหน้า ล้อเล่นครับ คือ ก็เห็นด้วยในบางส่วนและไม่เห็นด้วยในบางส่วน และเห็นด้วยมากกว่าไม่เห็นด้วยจึง อนุโมทนาดีกว่า ขอยกอรรถกถามาเลยแล้วกันว่าทำไมผมถึงบอกว่าธรรมะมีหลายระดับ



    [๓๔๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์
    ยังไม่เคยได้ฟังเสียงพิณ พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์ ฟังเสียงพิณแล้ว
    พึงกล่าวอย่างนี้ว่า แน่ะท่านผู้เจริญ นั่นเสียงอะไรหนอ น่าชอบใจ น่าใคร่
    น่ามัวเมา น่าหมกมุ่น น่าพัวพันอย่างนี้ บุรุษนั้นกราบทูลว่า ขอเดชะ
    เสียงนั้นเป็นเสียงพิณ พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์พึงกล่าวว่า แน่ะท่าน
    ผู้เจริญ ท่านทั้งหลายจงไปนำพิณนั้นมาให้เรา ราชบุรุษทั้งหลายพึงนำพิณ
    มาถวาย พึงกราบทูลว่า นี่คือพิณนั้น
    พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์
    นั้นพึงกล่าวว่า แน่ะท่านผู้เจริญ ฉันไม่ต้องการพิณนั้น
    ท่านทั้งหลาย
    จงนำเสียงพิณนั้นมาให้แก่เราเถิด ราชบุรุษกราบทูลว่า ขอเดชะ ขึ้นชื่อว่า
    พิณนี้มีเครื่องประกอบหลายอย่าง มีเครื่องประกอบมาก นายช่างประกอบดี
    แล้วด้วยเครื่องประกอบหลายอย่าง คือธรรมดาว่าพิณนี้ อาศัยกระพอง
    อาศัยราง อาศัยลูกบิด อาศัยนม อาศัยสาย อาศัยคันชัก และอาศัย
    ความพยายามของบุรุษซึ่งสมควรแก่พิณนั้น มีเครื่องประกอบหลายอย่าง
    มีเครื่องประกอบมาก นายช่างประกอบดีแล้วด้วยเครื่องประกอบหลายอย่าง
    จึงจะส่งเสียงได้ พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์ทรงผ่าพิณนั้น ๑๐ เสี่ยง
    หรือ ๑๐๐ เสี่ยง แล้วกระทำให้เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย แล้วพึงเผาไฟแล้ว
    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]พึงกระทำให้เป็นเขม่า โปรยไปด้วยลมแรง หรือพึงลอยไปเสียในแม่น้ำ[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]มีกระแสอันเชี่ยว ท้าวเธอตรัสอย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ได้ยินว่า ชื่อว่าพิณนี้[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]ไม่ได้สติ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะเลวทรามกว่าพิณนี้ไม่มี [/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=#818181][COLOR=red]เพราะพิณนี้ คนต้อง[/COLOR][/COLOR][/FONT][/SIZE][COLOR=#818181]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=red]มัวเมา ประมาทหลงใหลจนเกินขอบเขต ฉันใด [/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=red]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=red]ภิกษุก็ฉันนั้นนั่นแล ย่อมแสวงหาคติแห่งรูป คติแห่งเวทนา[/COLOR][/FONT][/SIZE][/COLOR]


    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]...[/SIZE][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]สัญญา [/SIZE][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]...[/SIZE][/FONT][/SIZE]
    [CENTER][/CENTER]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=red]สังขารทั้งหลาย[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE]
    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font]
    [SIZE=5]
    [/SIZE]
    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=red]... [/COLOR][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=red]วิญญาณเท่าที่มีอยู่ เมื่อเธอแสวงหาคติแห่งรูป เวทนา[/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=red]สัญญา สังขาร วิญญาณเท่าที่มีอยู่ [B]ความยึดถือโดยคติของภิกษุนั้นว่าเรา[/B][/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=red][B]หรือว่าของเรา หรือว่าเป็นเรา แม้นั้นก็ไม่มีแก่เธอ[/B][/COLOR][/FONT][/SIZE][/CENTER]

    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]อธิบายอรรถ[/COLOR][/FONT][/SIZE][/CENTER]

    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ก็ลักษณะของรูป มีสองอย่าง คือ ปัจจัตตลักษณะ [/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]กล่าวคือ การ[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]ย่อยยับที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้อย่างนี้ว่า [/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ชื่อว่ารูป[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เพราะอรรถว่า ย่อยยับไป ๑ สามัญญลักษณะ คือความไม่เทียงเป็นต้น ๑[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]นี้ชื่อว่า [/COLOR][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT][/SIZE][/CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/font][/size]
    [FONT=AngsanaNew][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black][COLOR=red]สลักขณคติ[/COLOR] [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ของรูปนั้น[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5].[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [CENTER][/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ความไม่มีแห่งรูป ท่านกล่าวไว้อย่างนั้น [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][/CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/size][/font][/size][/font][/b][/CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]:-[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][/B][CENTER][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [CENTER][/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ป่าใหญ่ เป็นคติของเนื้อทั้งหลาย[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [B][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][COLOR=black]อากาศเป็นคติ ของปักษีทั้งหลาย[/COLOR][/FONT][/SIZE][/B]
    [B][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][COLOR=black]วิภพ [/COLOR][/FONT][/SIZE][/B][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][CENTER][B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]( [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]สภาวะที่ปราศจากภพ [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]) [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/B]
    [CENTER][B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]เป็นคติของธรรมทั้งหลาย[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5].[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]พระนิพพาน เป็นคติของพระอรหันต์[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ชื่อว่า [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER][B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]วิภวคติ[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ก็ความแตกต่างแห่งรูปนั้น[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=3][FONT=AngsanaNew][SIZE=3]๑ [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]นี้ชื่อว่า [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR]
    [CENTER][COLOR=black][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]เภทคติ[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][/COLOR][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]แม้ใน[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เวทนาเป็นต้น ก็นัยนี้เหมือนกัน[/COLOR][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]. [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]แท้จริง ในที่นี้ [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    [CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]พึงทราบคติว่าเป็นที่[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เกิดแห่งรูปเหล่านั้น [/COLOR][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][CENTER][COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]( [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ว่าเกิดใน [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]) [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]เบื้องบน จนถึง[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR]
    [CENTER][COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ภวัคคพรหมอย่างเดียว[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5].[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]แต่ใน[/COLOR][COLOR=red][B]สลักขณคติ[/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=3][FONT=AngsanaNew][SIZE=3][COLOR=black]๒ [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]พึงทราบลักษณะเฉพาะอย่าง [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    [CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ด้วยสามารถ แห่งการ[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เสวย การจำได้ การปรุงแต่ง และการรู้แจ้ง[/COLOR][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black].[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [CENTER][/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]บทว่า [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ตมฺปิ ตสฺส น โหติ [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ความว่า แม้การยึดถือ ๓ อย่าง[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]ในรูปารมณ์เป็นต้น ด้วยอำนาจ [/COLOR][/FONT][/SIZE][/CENTER]
    [/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ทิฏฐิ ตัณหา [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]และ มานะ[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=3][FONT=AngsanaNew][SIZE=3]๓ [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR]
    [CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][B][COLOR=black]ที่ท่าน[/COLOR][COLOR=black]แสดงไว้อย่างนี้ว่า [/COLOR][/B][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black][B][COLOR=red]เรา[/COLOR] ว่า [COLOR=red]ของเรา[/COLOR] หรือว่า [COLOR=red]เราเป็นนั้น [/COLOR][/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][B][COLOR=red]ก็ไม่มีแก่[/COLOR][/B][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black][B]พระขีณาสพนั้น รวมความว่า พระสูตรชื่อว่าเป็นไปตามลำดับ[/B][/COLOR][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black][B]. [/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black][B]ด้วย[/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวไว้ ในมหาอัฏฐกถาว่า[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]๑[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/size][/font][/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]. [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ปาฐะว่า โสมมนสฺส ฉบับพม่าเป็น โส ปนสฺส แปลตามฉบับพม่า[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]๒[/COLOR][/FONT][/SIZE][/CENTER]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]. [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ปาฐะว่า สลกฺขณคติ อยญฺจ ฉบับพม่าเป็น สลกฺขณคติยํ จ แปลตามฉบับพม่า[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]๓[/COLOR][/FONT][/SIZE][/CENTER]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER][COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ปาฐะว่า ทิฏฺฐ ิตณฺหามาน คาหตฺตยตํ ขีณาสวสฺส ฉบับพม่าเป็น ทิฏฺฐ ิตณฺหา[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]-[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [CENTER][/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]มานคฺคาหตฺตยํ ตมฺปิ ตสฺส แปลตามฉบับพม่า[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/size][/font][/size][/font][/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black].[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    [CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ศีลท่านกล่าวไว้ในเบื้องต้น สมาธิ และภาวนา[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [B][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]ท่านกล่าวไว้แล้ว ในท่ามกลาง และนิพพาน[/COLOR][/FONT][/SIZE][/B]
    [B][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]กล่าวไว้ในที่สุด ข้ออุปมาด้วยพิณนี้ พระผู้มี[/COLOR][/FONT][/SIZE][/B][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/size][/font][/size][/font][/size][/font][/size][/font][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]-[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [CENTER][/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]พระภาคเจ้า ทรงแสดงไว้แล้ว ดังนี้[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][/CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/size][/font][/size][/font][/b][/CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black].[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][/B][CENTER][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [CENTER][/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew-Italic][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Italic][SIZE=5][COLOR=black][B]จบ อรรถกถาวีณาสูตรที่ ๙[/B][/COLOR][/SIZE][/FONT]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Italic][B][COLOR=#000000]เพราะคำว่า [COLOR=#ff0000]สลักขณคติ[/COLOR] อยากถามว่าเป็นสิ่งเดียวกันหรือไม่อย่างไรครับ กับที่พี่ธรรมภูตและพี่ธรรมสวณังกล่าวไว้ในเบื้องต้นครับ[/COLOR][/B][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Italic][B][COLOR=#000000]อนุโมทนาครับ[/COLOR][/B][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew-Italic][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center]

     
  10. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    แหม ได้เห็นบทความนี้ของพี่ กบฏธรรมภูติ ผมค่อยชื้นใจขึ้นมานิดหน่อย(นิดเดียว)

    เพราะ พี่ซึ้งแล้วใช่ไหม การที่หยิบจับอะไรมาผิดๆ มันก็เหมือน การกลัดกระดุมผิด
    ตั้งแต่เม็ดแรก

    การที่พี่ กบฏธรรมภูติหยิบจับคำว่า "จิตเดิม" "จิตเดิมแท้" ตามตำราก่อนเก่าเพราะ
    ถือเอาว่าเขาเป็นอาจารย์ แถมใช้คำว่า "จิตเดิม" นี่ฝาดฟันขับไล่ "พระอภิธรรมให้ออก
    ไปจากศาสนา" อีกด้วย

    มาถึงกาลบัดนี้ พี่กบฏธรรมภูติได้ ทราบทั่วถึงแล้วว่า คำว่า "จิตเดิม" "จิตเดิมแท้"
    คือ การหยิบผิด คือ การสอดไส้เพื่อทำลายพระศาสนา จนพี่กบฏธรรมภูติได้กลับใจ
    อัญเชิญพระไตรปิฏกในบท "จิตผ่องใส่ฯ" ในรูปแบบที่ตัดคำว่า เดิมแท้ ออกไปดั่ง#6

    แต่จะว่าไป ผมไปเห็นตำราเดิมที่พี่ใช้ใช้คำว่า "เดิมแท้" อยู่นั้นก็อาศัยอ่านเอาจาก
    เว็บปล๊อค "หนูเล็กนิดเดียว" ซึ่งยังปรากฏคำสกปรก(เดิมแท้)นี้อยู่ ก็อาจจะเป็นเพราะ
    คนทำบล๊อคอาจจะนำบทความของหลวงปู่มาแสดงอย่างคลาดเคลื่อน ก็เป็นได้เนาะ
    อันนั้นก็เรื่องของเขา(เว้นแต่ หนูเล็กนิดเดียว ก็คือคนๆเดียว หน้าเรียวๆตอบๆ แบบพี่
    กบฏธรรมภูติ)

    เรื่องนั้นก็ว่ากันไป มาคุยเรื่องที่ พี่ยอมกลัดกระดุมใหม่กันต่อดีกว่า

    แต่ที่ผมเกริ่นแต่แรกว่า ชื่นใจมานิดเดียว เพราะว่า พี่ภูติคิดว่าถอดกระดุมเม็ดที่ผิด
    แล้วกลัดใหม่แล้ว คิดว่าตนได้ใส่กระดุมหใม่แล้ว ซึ้งกับ การอุปมาการกลัดกระดุม
    อย่างที่สุดแล้ว ผมก็ต้องขอแจงอีกว่า ไอ้ที่พี่ยอมกลืนน้ำลาย กลืนคำว่า "เดิมแท้"
    บอกว่าเป็นการของอิงอาศัยสมมติเพื่อละสมมติ(อาศัยคำบอกผิดๆเพื่อให้ลงหลังเสือได้)
    ผมก็ยังต้องขอบอกว่า ช้าก่อน เพราะพี่แค่ละสมมติเพื่อเอาตัวรอดเท่านั้น ไม่ใช่ละ
    สมมติหรือแทงตลอดสมมตินั้นทั้งหมด พูดแบบอุปมาคือ ยังกลัดกระดุมผิดอยู่นั่นแหละ

    ทำไมยังกลัดกระดุมผิดหละ ก็ กระดุมจิตเดิมแท้ แกะออกไปแล้ว ตอนนี้เหลือจิตผ่อง
    ใส แต่ความผ่องใสนั้นออกมาจากอวิชชา กล่าวคือ ความผ่องใสที่เข้าไปเห็นนั่นเป็น
    วิเศษลักษณะ หรือ เป็นพหุพจน์ของตัวอวิชชา

    ความผ่องใสออกมาจากตัวอวิชชา

    อวิชชานั้นออกมาจากจิต และความที่มันออกมาจากจิต หรือ จิตนำมาให้
    นั่นแหละ จึงทำให้เกิด สักกายทิฏฐิคิดว่า เป็นตน เป็นของตน

    ทีนี้(ฟังดีๆนะ)

    ไม่ว่า สุข พี่กบฏธรรมภูติก็เห็นว่า จิตมันนำมาให้ ใช่ไหม ก็นั่นแหละ มันออกมา
    จากจิต ไม่ต่างกับ อวิชชาที่ออกมาจากจิต

    ไม่ว่า สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ สติขันธ์ วิมุตติขันธ์ ก็ออกมาจากจิตจริงไหม
    เพราะพี่กบฏธรรมภูติชี้เป็นมั่นเป็นเหมาะว่า จิตเป็นประธาน คือ นำมาให้ หรือ
    ออกมาจากจิต ทำให้ เกิดความรู้สึกว่า ตนบรรลุ ตนเป็นผู้เสวย ก็เพราะ
    ความที่ออกมาจากจิต อาการเดียวกันกับ อวิชชา นั่นแหละ

    พูดให้ลงตัวไปเลยคือ อวิชชาออกมาจากจิต จิตนำมาให้ และ วิชชาก็ออกมา
    จากจิต จิตนำมาให้

    แต่......

    ฟังดีๆนะ คราวนี้ถึงที่สุดแล้ว

    นิพพาน เป็นธรรมชาติเดียว ที่ไม่ได้ออกมาจากจิต จิตไม่ได้นำนิพพานมาให้
    เพราะ นิพพานไม่ใช่ธาตุที่ปรุงขึ้น นิพพานเป็นอสังขตธรรม จึงไม่ได้ออกมา
    จากจิต การไปเห็นนิพพานนั้นถ้าพี่กบฏธรรมภูติเห็นว่าออกมาจากจิต นั่นแปลว่า
    ยังยึดถือ "จิตเดิมแท้" แบบกบฏศาสนาอยู่นั่นเอง

    คราวนี้มาดูวลีอีกอันนะ ให้ไว้เป็นเครื่องพิจารณา

    อวิชชานั้น ซึ่งมีลูกหลานคือ กิเลส นิวรณ์ ขันธ์5 เหล่านี้ เราปฏิบัติต่อการเห็น
    สิ่งเหล่านี้ด้วยการอาศัยเป็นเครื่องระลึกเท่านั้น

    วิชชา ซึ่งมีลูกหลานคือ สมาธิขันธ์ สติขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมุตติขันธ์ เราก็ปฏิบัติ
    ต่อสิ่งเหล่านี้ด้วยการอาศัยเป็นเครื่องระลึกเท่านั้นเหมือนกัน

    และแม้แต่

    นิพพาน แม้จะเห็นแล้ว ก็ยังปฏิบัติต่อนิพพานด้วย การอาศัยระลึกเท่านั้นเช่นเดียวกัน

    เพราะถ้าเมื่อไหร่ ไม่ใช่แค่อาศัยระลึก ก็แปลว่า ไปเกิดตัณหาแนบติดทรงอารมณ์
    มันก็ผลิกเป็นสมาธิไป กลายเป็นการทำฌาณไป

    ดังนั้น การที่เราเอาอะไรๆมาใช้เป็นเครื่องมือ อาศัย ระลึกเท่านั้น จึงเป็นเรื่องของความ
    ไม่ยึดมั่นถือมั่นในประการทั้งปวง ไม่มีการลุถึง ไม่มีการไป ไม่มีการมา ไม่มีอะไรจะเป็น
    ฐานให้ถูกกิเลสหยั่งลง ไม่มีอะไรคลอนแคลน ไม่มั่นคง ให้เสียไปจากการชื่อว่าเป็นบุตร
    พระตถาคต

    กลัดกระดุมเม็ดแรกใหม่ดูนะ ยังไม่ถูกเม็ดหลอกผมว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2010
  11. 2ชาติตรัสรู้

    2ชาติตรัสรู้ គ្រប់គ្រាន់ รักษาดวงใจ.គ្រប់គ្រាន់

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +1,558
    ระรึกแบบสักแต่ว่าหนะหรือ ใครระรึกใครสักแต่ว่า สักแต่ว่านี้เป็นเองหรือตั้งใจกำหนดให้เป็นสักแต่ว่า
    การระรึกแบบกำหนดให้เป็นสักแต่ว่าระรึก เป็นการยึดมั่นหรือไม่ยึดมั่นหนอ ไม่รู้เหมือนกัน..
     
  12. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    ว่าไงพี่ชาติ ยังอมกระโถนคนอื่นเอามาพูด เอามาทำวาทะ เอามาแสดงภูมิ
    ของตนอยู่อีกหรือ

    นี่ๆ ถามหน่อย ทราบว่าพี่ชาติไปหาพระเจ้าของกระโถนด้วยตัวเองมาแล้ว

    ได้ถามคำถามแบบปากต่อปาก ธรรมต่อธรรมไหม

    แล้วถ้าได้ ถามตัวต่อตัว พี่ชาติบอกผมได้ไหมว่า ท่านต่อธรรมให้พี่ชาติ
    แบบ ธรรมะส่วนบุคคล ให้น้อมมาปฏิบัติได้ หรือว่า พี่ถามไปแล้วท่าน
    ก็ได้แต่กล่าวแก้กรรมฐานให้คนอื่น คนที่ไม่ได้ไปถามต่อหน้า

    ท่านสนใจแก้กรรมฐาน ต่อกรรมฐานให้พี่ชาติ มากน้อยแค่ไหน แล้วพี่
    ชาติได้ประโยชน์อะไรติดไม้ติดมือมาบ้างหละ

    นอกจาก ได้กระโถนที่มีคำกล่าวในแบบที่ พี่ชาติเอามาอวดให้เห็นว่า
    ไปอมของเขามาพูดหนะ
     
  13. 2ชาติตรัสรู้

    2ชาติตรัสรู้ គ្រប់គ្រាន់ รักษาดวงใจ.គ្រប់គ្រាន់

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +1,558
    ดูสิ ดูดู๊ ดูพี่เล่า เมาอะไรเข้าไปกันหละนี่ ผมก็แค่ถามธรรมตามธรรมดา
    แล้วก็ลงท้ายไว้ว่า ก็ไม่รู้เหมือนกัน เป็นการแสดงภูมิตรงไหน ก็แค่แสดงความไม่รู้ ดูดู๊ดูดูเธอทำ.. - -

    ส่วนการพูดธรรม ใครพูดธรรมก็เป็นธรรมของพระพุทธเจ้าอมธรรมใครมาพูด ก็คืออมธรรมพระพุทธเจ้าสมณะโคดมมาพูดทั้งนั้น พี่เล่าเคยพูดไว้ไม่ไช่หรือ เฮ้อ เฮ้อ เฮ้อ - -
     
  14. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    รู้ตัวว่า จำเขามาพูด ก็ดีแล้ว

    ขอแนะนำว่า อย่าสักแต่ว่าพูดธรรม โดยจำเขามาพูด

    มันติดสัญญา เหมือน หมาเห่าใบตองแห้ง แถมยัง พูดแบบไม่มีปัจจัตตัง
    คุณธรรมตนรองรับการพูดนั้น โธ.....ฟังพระท่านสอนมา ไม่เห็นมันจะลง
    เข้าไปในใจบ้างเลยนะนี่

    ปฏิบัติให้เยอะๆ ให้เข้าใจก่อนดีกว่าไหม แล้วค่อยมา สักแต่พูดสักแต่ว่า(จำเขามา)

    ถ้าจะพูดธรรม ถือว่า พูดธรรมะ ก็พูดครั้งสองครั้งก็พอแล้ว

    นี่เห็น ไปที่ไหนๆ ก็ยกประโยคนี้ขึ้นพูด มันเหมือนคนสำคัญอะไรผิดสักอย่างอยู่
    จึงไม่เหมือนคนพูดธรรมะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2010
  15. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    พี่เกิด ยิ้มหวาน แน่นอน
     
  16. 2ชาติตรัสรู้

    2ชาติตรัสรู้ គ្រប់គ្រាន់ รักษาดวงใจ.គ្រប់គ្រាន់

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +1,558
    ตัวสีฟ้านี้ทุกคนทุกท่านโดนหมดนะ แม้แต้พระสงฆ์องค์จ้าวที่จำธรรมพระพุทธเจ้า หรือครูบาอาจารย์มาพูด เพราะจำธรรมของพระพุทธเจ้ามาพูดทั้งนั้น โดนหมด

    ถ้าอยากจะพูดเหมือนรู้ถึงคุณธรรมในใจผมก็เชิญเพราะพี่เล่าก็ไม่รู้หรอกว่า ในใจผมมีปัจจัตตังหรือไม่แต่ระวังจะเดาผิดแล้วพูดออกมานะ
    แล้วก็อยากจะพูดดีหรือพูดหยาบก็เชิญ คนเรานะถ้าปราถนาดีกับคนอื่นเวลาจะแนะนำอะไรใครนี้ไม่ต้องแขวะตามไปด้วยหรอก มันเหมือนตบหัวทีลูบหลังที
    แต่ถ้าเป็นคนธรรมดาแบบผมก็ไม่แปลกที่จะทำแบบนั้นหุหุ

    พี่เล่าเป็นคนที่พยามไม่ปรุง แต่ชอบปรุงที่สุด

    เพิ่มเติม ผมหายคันแล้ว ถ้าพี่เล่ายังคันอยู่ก็เกาให้สนุกนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2010
  17. 2ชาติตรัสรู้

    2ชาติตรัสรู้ គ្រប់គ្រាន់ รักษาดวงใจ.គ្រប់គ្រាន់

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +1,558
    <TABLE style="TABLE-LAYOUT: fixed" cellSpacing=0 cellPadding=5 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width="85%" height="100%">พระเอกุทานเถระ
    ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในพระเชตะวัน ได้ทรงปรารภถึงพระเถระรูปหนึ่งชื่อว่า พระเอกุทานเถระ และได้ทรงตรัสเล่าเรื่องของท่านให้ฟังว่า

    ในคราวนั้น พระเอกุทานนั้น ได้พำนักอาศัยอยู่ในป่าไม้แห่งหนึ่ง โดยท่านอาศัยอยู่ตามลำพังเพียงรูปเดียวเท่านั้น และท่านก็ได้มีอุทานที่ท่านช่ำชองอยู่เพียงอุทานเดียวเท่านั้น อุทานที่ท่านช่ำชองนั้นมีความว่า “ความโศกทั้งหลาย ย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้มีจิตมั่นคง ไม่ประมาท เป็นมุนี ศึกษาในทางแห่งมโนปฏิบัติ ผู้คงที่ ระงับแล้ว มีสติทุกเมื่อ”วันหนึ่ง เป็นวันอุโบสถ ท่านก็ได้ป่าวร้องการฟังธรรมเอง แล้วก็กล่าวคาถาที่ท่านช่ำชองนี้แหละ พอท่านกล่าวจบพวกเทวดาทั้งหลายที่อาศัยอยู่ในป่าแห่งนั้น ก็ได้ให้สาธุการเสียงดัง เหมือนกับเสียงแผ่นดินทรุด

    ครั้งนั้นในวันอุโบสถวันหนึ่ง ก็ได้มีพระเถระ ๒ รูปซึ่งเป็นพระเถระผู้ทรงพระไตรปิฎก มีบริวารรูปละ ๕๐๐ ได้เดินทางมาสู่ที่อยู่ของท่าน ท่านพอเห็นพระเถระ ๒ รูปนั้นแล้วก็มีปีติ ชื่นใจ ดีใจทำการต้อนรับขับสู้เป็นอย่างดีแล้วก็บอกว่า “ที่พวกท่านมาในที่นี้ดีเหลือเกิน เพราะว่าวันนี้พวกกระผมจะได้ฟังธรรมในสำนักของพวกท่าน ขอให้พวกท่านแสดงธรรมให้พวกกระผมได้ฟังด้วยเถิด” พระเถระ ๒ รูปนั้นก็กล่าวว่า “ท่านผู้มีอายุ คนฟังธรรมในที่นี้มีอยู่หรือ ทำไมพวกผมไม่เห็นเลย”พระเอกุทานก็ตอบว่า “มีสิขอรับ ในป่านี้มีเสียงบรรลือของพวกเทวดาที่ให้สาธุการในวันฟังธรรม”

    พอกล่าวสนธนาปราศัยกันเป็นที่เรียบร้อยแล้ว พระเถระ ๒ รูปที่ทรงพระไตรปิฎกนั้น ก็ได้ขึ้นสู่ธรรมาสน์ องค์หนึ่งสวดธรรม อีกองค์หนึ่งกล่าวธรรม เมื่อพระเถระทั้ง ๒ รูปกล่าวธรรมเสร็จแล้ว เทวดาแม้เเต่องค์เดียวก็ไม่ได้ให้เสียงสาธุการเลย พอพระเถระ ๒ รูปไม่ได้ยินเสียงสาธุการของพวกเทวดา ก็ได้พากันมาถามท่านพระเอกุทานว่า “ท่านผู้มีอายุ ที่ท่านกล่าวว่า ‘ในวันฟังธรรม พวกเทวดาในป่านี้ย่อมให้สาธุการด้วยเสียงดัง’ ทำไมวันนี้พวกกระผมกล่าวธรรมเสร็จแล้ว ไม่เห็นได้ยินเสียงอะไรเลย” ท่านก็ได้ตอบกลับไปว่า “ในวันอื่นๆที่ผ่านมา พวกเทวดาได้ให้เสียงสาธุการ ขอรับ แต่ทำไมวันนี้ถึงเป็นอย่างนี้ไปได้ ผมก็ไม่ทราบว่ามันเป็นเพราะเหตุอะไรเหมือนกัน”พระเถระ ๒ รูปนั้นก็เลยบอกว่า “ถ้าเช่นนั้นท่านก็จงลองกล่าวธรรมดูเถิด”

    ท่านพระเอกุทานก็ได้รับปากแล้วก็จับพัด นั่งบนอาสนะกล่าวคาถาที่ท่านช่ำชอง
    เท่านั้นนั่นแหละ พอท่านกล่าวคาถาเสร็จเท่านั้น พวกเทวดาที่อยู่ในป่านั้นก็พากันไห้สาธุการด้วยเสียงดังสนั่นไปทั่วป่า ทำให้พวกภิกษุเหล่านั้นถึงกับตกใจทีเดียว ครั้งนั้นพวกภิกษุที่เป็นบริวารของพระเถระ ๒ รูปนั้นก็พากันกล่าวติเตียนว่า “พวกเทวดาที่อยู่ในป่าแห่งนี้ ให้สาธุการเพราะเห็นแก่หน้า พอเมื่อพระเถระ ๒ รูปผู้ทรงพระไตรปิฎก กล่าวธรรมอยู่ประมาณเท่านี้ก็ไม่กล่าวสักว่าความสรรเสริญอะไรเลย

    แต่พอพระเถระแก่รูปเดียว กล่าวเพียงคาถาเดียวเท่านั้น ก็พากันให้สาธุการเสียงดังสนั่นกึกก้องไปทั่วป่า สงสัยเทวดาในป่านี้คงจะให้สาธุการด้วยการเห็นแก่หน้ากระมัง” หลังจากเหตุการวันนั้นผ่านไปแล้วพวกภิกษุเหล่านั้นก็ได้เก็บความสงสัยไว้ภายในใจ แล้วพากันเดินทางกลับมายังพระเชตวันซึ่งเป็นที่ประทับอยู่ของพระผู้มีพระภาคเจ้า พอเดินทางมาถึงแล้วก็พากันเข้าไปยังพระวิหาร เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค พากันถวายบังคมแล้ว ก็ได้กราบทูลเรื่องราวทั้งหมดกับพระผู้มีพระภาคเจ้า

    พระผู้มีพระภาคเมื่อทรงสดับเนื้อความนั้นแล้ว ก็ทรงตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่เรียกผู้ที่เรียนมากหรือผู้พูดมากว่า เป็นผู้ทรงธรรม ส่วนผู้ใดที่เรียนคาถาแม้คาถาเดียวเท่านั้น แล้วแทงตลอดสัจจะทั้งหลาย ผู้นี้ชื่อว่าเป็นผู้ทรงธรรม” แล้วตรัสพระคาถานี้ว่า

    “บุคคล ไม่ชื่อว่าทรงธรรม เพราะเหตุที่พูดมาก
    ส่วนผู้ใด ฟังแม้นิดหน่อย ย่อมเห็นธรรมด้วยนามกาย
    บุคคลใด ไม่ประมาทธรรม บุคคลนั้นแล เป็นผู้ทรงธรรม
    ฉะนั้นแล้ว คนเราจะชื่อว่าเป็นผู้ทรงธรรมด้วยการเรียนมามากหรือว่าพูดมากนั้นไม่ใช่เลย ที่แท้การเป็นผู้ทรงธรรมนั้นไม่ได้อาศัยสักว่าเพียงการเรียน การพูด การจำ การบอกให้มากเท่านั้น แต่การเป็นผู้ทรงธรรมที่แท้จริงแล้วนั้น แม้ได้เรียน ได้ฟัง มาเพียงแค่น้อยนิด แต่อาศัยธรรม อาศัยอรรถ ปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม กำหนดรู้ตามธรรม กำหนดรู้ตามสัจจะอันคือความจริง ปรารภความเพียร และไม่เป็นผู้ประมาทในธรรมที่ตนได้ศึกษาเล่าเรียน ผู้นี้ก็จัดได้ว่าเป็นผู้ทรงธรรมเหมือนกันฯ




    </TD></TR><TR><TD class=smalltext vAlign=bottom width="85%"><TABLE style="TABLE-LAYOUT: fixed" width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=smalltext width="100%" colSpan=2></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มีนาคม 2010
  18. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    อนุโมทนาสาธุธรรมครับ
     
  19. ธรรมะสวนัง

    ธรรมะสวนัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,305
    ค่าพลัง:
    +1,256
    บทนี้มีอรรถกล่าวแสดงไว้แล้ว
    โดยส่วนตัวเห็นว่าส่วนสำคัญของบทนี้อยู่ตรงนี้ค่ะ


    เบญจขันธ์ พึงทราบว่า เหมือนพิณ
    พระโยคาวจรพึงทราบว่า เหมือนพระราชา
    พระราชานั้น จำเดิมแต่ทรงผ่าพิณนั้นออกเป็น ๑๐ เสี่ยง
    แล้วทรงใคร่ครวญดู ก็ไม่ทรงเห็นเสียง จึงไม่มีประสงค์พิณฉันใด

    พระโยคาวจร ก็ฉันนั้นเหมือนกัน
    เมื่อพิจารณาเบญจขันธ์ ไม่เห็นอะไรที่จะพึงถือเอาว่าเรา หรือของเรา
    ก็ไม่มีความประสงค์ด้วยขันธ์.

    คัดลอกจากที่นี่

    จริงๆก็จะเน้นให้
    เรา(จิต)เห็นว่าขันธ์ ๕ ไม่ใช่เรา เราไม่ใช่ขันธ์ ๕ ขันธ์ ๕ ไม่ใช่ตัวตนของเรา
    เรา(จิต)ปฏิบัติ อบรมตนเอง เพื่อปล่อยวางความยึดมั่นถือมั่นในอุปาทานขันธ์ ๕


    (smile)
     
  20. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    การจะพูดอะไรไม่รู้ก็อย่าพยายามพูดเพื่ออธิบายเลยนะ
    ยิ่งพูดก็ยิ่งแสดงให้รู้ว่าชัดว่า นำเอาสัญญามาพูดเท่านั้น

    พูดมาได้ความผ่องใสออกมาจากอวิชชา อย่าเลียนแบบต้นแบบเลย
    ที่ชอบแอบอ้าง จำของครูบาอาจารย์มาพูดแบบผิดๆ จากความคิดที่ตกผลึก

    จิตเดิมนั้นมีความผ่องใส เป็นสภาพเดิมของจิต ที่เศร้าหมองเพราะอุปกิเลสที่เป็นแขกจร
    ความผ่องใสของจิตก็ยังมีอวิชชาครอบงำอยู่ เพราะจิตยังไม่ได้รับความบริสุทธิ์(วิชชา)

    อวิชชาเปรียบเหมือนความมืดมนอนธกาล ที่เข้ามาครอบงำจิตเมื่อไหร่?แม้พระพุทธองค์ก็ยังทรงบอกไม่ได้

    เมื่อจิตได้รับการฝึกฝนอบรมปฎิบัติสัมมาสมาธิในอริยมรรคมีองค์๘
    เพื่อขจัดขัดเกลาอุปกิเลสทั้งหลายที่มีอวิชชาเป็นหัวหน้า ครอบงำจิตอยู่นั้น
    ให้ออกไปจากจิตเดิมได้หมดจดสะอาดบริสุทธิ์ปราศจากความหม่นหมองแล้ว

    ความสะอาดบริสุทธิ์ประผัสสรผ่องใสย่อมปรากฏให้เห็นที่จิตที่พ้นวิเศษนั้น
    ณ. ตรงนั้นเราเรียกว่าธรรมธาตุ...

    ;aa24
     

แชร์หน้านี้

Loading...