<CENTER> พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๗ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค</CENTER>สังยุตตนิกาย 1. สมาชิกทดลองอ่าน คลิกที่ลิงค์หัวข้อ หน้าชื่อท่านได้เลยค่ะ หรือถ้าไม่พบชื่อท่านให้เลือกหัวข้อที่ยังว่างไม่มีชื่อคนอ่านค่ะ 2. ตั้งชื่อไฟล์ตามโพสที่ 2 ๑. โอฆตรณสูตร อ่านโดยKob ๒. นิโมกขสูตร อ่านโดย Kob ๓. อุปเนยยสูตร อ่านโดย Pinit ๔. อัจเจนติสูตร อ่านโดย Kob ๕. กติฉินทิสูตร อ่านโดย nisitt ๖. ชาครสูตร อ่านโดย nisitt ๗. อัปปฏิวิทิตสูตร อ่านโดย nisitt ๘. สุสัมมุฏฐสูตร อ่านโดย Mrs.Kim ๙. มานกามสูตร อ่านโดย Mrs.Kim ๑๐. อรัญญสูตร อ่านโดย Mrs.Kim นันทนวรรค ๑. นันทนสูตร อ่านโดย Proteome ๒. นันทิสูตร อ่านโดย Proteome ๓. นัตถิปุตตสมสูตร อ่านโดย Proteome ๔. ขัตติยสูตร อ่านโดย ๕. สกมานสูตร อ่านโดย ๖. นิททาตันทิสูตร อ่านโดย Charmaar ๗. ทุกกรสูตร อ่านโดย Charmaar ๘. หิริสูตร อ่านโดย SaNdolLaR ๙. กุฏิกาสูตร อ่านโดย SaNdolLaR ๑๐. สมิทธิสูตร สัตติวรรค ๑. สัตติสูตร อ่านโดย กัญญาณภัทร ๒. ผุสติสูตร อ่านโดย กัญญาณภัทร ๓. ชฏาสูตร อ่านโดย ๔. มโนนิวารณสูตร อ่านโดย ๕. อรหันตสูตร อ่านโดย ๖. ปัชโชตสูตร อ่านโดย Hugostars ๗. สรสูตร อ่านโดย Hugostars ๘. มหัทธนสูตร อ่านโดย Hugostars ๙. จตุจักกสูตร อ่านโดย mhutom ๑๐. เอณิชังคสูตร อ่านโดย mhutom สตุลลปกายิกวรรค ๑. สัพภิสูตร อ่านโดย mhutom ๒. มัจฉริสูตร อ่านโดย MAGNETICS ๓. สาธุสูตร อ่านโดย MAGNETICS ๔. นสันติสูตร อ่านโดย MAGNETICS ๕. อุชฌานสัญญีสูตร อ่านโดย katicat ๖. สัทธาสูตร อ่านโดย katicat ๗. สมยสูตร อ่านโดย katicat ๘. สกลิกสูตร อ่านโดย ๙. ปฐมปัชชุนนธีตุสูตร อ่านโดย ๑๐. ทุติยปัชชุนนธีตุสูตร อ่านโดย อาทิตตวรรค ๑. อาทิตตสูตร อ่านโดย napasawan ๒. กินททสูตร อ่านโดย napasawan ๓. อันนสูตร อ่านโดย napasawan ๔. เอกมูลสูตร อ่านโดย วิมลรัตน์ ๕. อโนมิยสูตร อ่านโดย วิมลรัตน์ ๖. อัจฉราสูตร อ่านโดย วิมลรัตน์ ๗. วนโรปสูตร ๘. เชตวนสูตร ๙. มัจฉริสูตร ๑๐. ฆฏิกรสูตร อ่านโดย Fluffy (New) ชราวรรค ๑. ชราสูตร อ่านโดย Fluffy (New) ๒. อชรสาสูตร อ่านโดย ๓. มิตตสูตร อ่านโดย catwoman121 ๔. วัตถุสูตร อ่านโดย catwoman121 ๕. ปฐมชนสูตร อ่านโดย catwoman121 ๖. ทุติยชนสูตร อ่านโดย free1000miles ๗. ตติยชนสูตร อ่านโดย free1000miles ๘. อุปปถสูตร อ่านโดย chukie ๙. ทุติยสูตร อ่านโดย ป๋าปี๋ปู้ ๑๐. กวิสูตร อ่านโดย ป๋าปี๋ปู้ อันธวรรค ๑. นามสูตร อ่านโดย ป๋าปี๋ปู้ ๒. จิตตสูตร อ่านโดย teelak ๓. ตัณหาสูตร อ่านโดย teelak ๔. สัญโญชนสูตร อ่านโดย teelak ๕. พันธนสูตร อ่านโดย ๖. อัพภาหตสูตร อ่านโดย ๗. อุฑฑิตสูตร อ่านโดย ๘. ปิหิตสูตร อ่านโดย ๙. อิจฉาสูตร อ่านโดย ๑๐. โลกสูตร อ่านโดย ฆัตวาวรรค ๑. ฆัตวาสูตร อ่านโดยฟิล์ม 34 ๒. รถสูตร อ่านโดยฟิล์ม 34 ๓. วิตตสูตร อ่านโดยฟิล์ม 34 ๔. วุฏฐิสูตร อ่านโดย ณาฏาฌาร์ ๕. ภีตสูตร อ่านโดย ณาฏาฌาร์ ๖. นชีรติสูตร อ่านโดย ๗. อิสสรสูตร อ่านโดย Blue.star ๘. กามสูตร อ่านโดย Blue.star ๙. ปาเถยยสูตร อ่านโดย Blue.star ๑๐. ปัชโชตสูตร อ่านโดย p_pand_j ๑๑. อรณสูตร อ่านโดย p_pand_j เทวปุตตสังยุตต์ ปฐมวรรค ๑. ปฐมกัสสปสูตร อ่านโดย Aung CapA ๒. ทุติยกัสสปสูตร อ่านโดย Aung CapA ๓. มาฆสูตร อ่านโดย Aung CapA ๔. มาคธสูตร อ่านโดย bharinya ๕. ทามลิสูตร อ่านโดย bharinya ๖. กามทสูตร อ่านโดย bharinya ๗. ปัญจาลจัณฑสูตร อ่านโดย นุภาวัฒน์ ๘. ตายนสูตร อ่านโดย นุภาวัฒน์ ๙. จันทิมสูตร อ่านโดย นุภาวัฒน์ ๑๐. สุริยสูตร อนาถปิณฑิกวรรค ๑. จันทิมสสูตร อ่านโดย odd_dec ๒. เวณฑุสูตร อ่านโดย odd_dec ๓. ทีฆลัฏฐิสูตร อ่านโดย odd_dec ๔. นันทนสูตร อ่านโดย pyrin ๕. จันทนสูตร อ่านโดย pyrin ๖. วาสุทัตตสูตร อ่านโดย pyrin ๗. สุพรหมสูตร อ่านโดย คาเรีย ๘. กกุธสูตร อ่านโดย คาเรีย ๙. อุตตรสูตร อ่านโดย คาเรีย ๑๐. อนาถปิณฑิกสูตร อ่านโดย black_star นานาติตถิยวรรค ๑. สิวสูตร อ่านโดย black_star ๒. เขมสูตร อ่านโดย black_star ๓. เสรีสูตร อ่านโดย chatchaido ๔. ฆฏิการสูตร อ่านโดย chatchaido ๕. ชันตุสูตร อ่านโดย chatchaido ๖. โรหิตัสสสูตร อ่านโดย ๗. นันทสูตร อ่านโดย ๘. นันทิวิสาลสูตร อ่านโดย ๙. สุสิมสูตร อ่านโดย jayez36 ๑๐. นานาติตถิยสูตร อ่านโดย jayez36 โกสลสังยุตต์ ปฐมวรรค ๑. ทหรสูตร อ่านโดย jayez36 ๒. ปุริสสูตร อ่านโดย sippakorn ๓. ราชสูตร อ่านโดย sippakorn ๔. ปิยสูตร อ่านโดย sippakorn ๕. อัตตรักขิตสูตร อ่านโดย ตะหลิวสีชมพู ๖. อัปปกสูตร อ่านโดย ตะหลิวสีชมพู ๗. อรรถกรณสูตร อ่านโดย ตะหลิวสีชมพู ๘. มัลลิกาสูตร อ่านโดย bananaleaf ๙. ยัญญสูตร อ่านโดย Potter ๑๐. พันธนสูตร อ่านโดย Potter ทุติยวรรค ๑. ชฏิลสูตร อ่านโดย Potter ๒. ปัญจราชสูตร ๓. โทณปากสูตร ๔. ปฐมสังคามวัตถุสูตร ๕. ทุติยสังคามวัตถุสูตร อ่านโดย สงบระงับ ๖. ธีตุสูตร อ่านโดย สงบระงับ ๗. ปฐมอัปปมาทสูตร อ่านโดย สงบระงับ ๘. ทุติยอัปปมาทสูตร อ่านโดย noonei789 ๙. ปฐมาปุตตกสูตร อ่านโดย noonei789 ๑๐. ทุติยาปุตตกสูตร อ่านโดย noonei789 ตติยวรรค ๑. ปุคคลสูตร อ่านโดย Rajithida ๒. อัยยิกาสูตร อ่านโดย Rajithida ๓. โลกสูตร อ่านโดย Rajithida ๔. อิสสัตถสูตร อ่านโดย ๕. ปัพพโตปมสูตร อ่านโดย
การตั้งชื่อไฟล์ การตั้งชื่อไฟล์ที่จะอัพ เล่มที่-เลขที่หัวข้อ หัวข้อเรื่องที่อ่าน ในที่นี่เล่มที่ 15 ชื่อไฟล์ค่ะ 15- 001 ๑. โอฆตรณสูตร 15- 002 ๒. นิโมกขสูตร 15- 003 ๓. อุปเนยยสูตร 15- 004 ๔. อัจเจนติสูตร 15- 005 ๕. กติฉินทิสูตร 15- 006 ๖. ชาครสูตร 15- 007 ๗. อัปปฏิวิทิตสูตร 15- 008 ๘. สุสัมมุฏฐสูตร 15- 009 ๙. มานกามสูตร 15- 010 ๑๐. อรัญญสูตร นันทนวรรค 15- 011 ๑. นันทนสูตร 15- 012 ๒. นันทิสูตร 15- 013 ๓. นัตถิปุตตสมสูตร 15- 014 ๔. ขัตติยสูตร 15- 015 ๕. สกมานสูตร 15- 016 ๖. นิททาตันทิสูตร 15- 017 ๗. ทุกกรสูตร 15- 018 ๘. หิริสูตร 15- 019 ๙. กุฏิกาสูตร 15- 020 ๑๐. สมิทธิสูตร สัตติวรรค 15- 021 ๑. สัตติสูตร 15- 022 ๒. ผุสติสูตร 15- 023 ๓. ชฏาสูตร 15- 024 ๔. มโนนิวารณสูตร 15- 025 ๕. อรหันตสูตร 15- 026 ๖. ปัชโชตสูตร 15- 027 ๗. สรสูตร 15- 028 ๘. มหัทธนสูตร 15- 029 ๙. จตุจักกสูตร 15- 030 ๑๐. เอณิชังคสูตร สตุลลปกายิกวรรค 15- 031 ๑. สัพภิสูตร 15- 032 ๒. มัจฉริสูตร 15- 033 ๓. สาธุสูตร 15- 034 ๔. นสันติสูตร 15- 035 ๕. อุชฌานสัญญีสูตร 15- 036 ๖. สัทธาสูตร 15- 037 ๗. สมยสูตร 15- 038 ๘. สกลิกสูตร 15- 039 ๙. ปฐมปัชชุนนธีตุสูตร 15- 040 ๑๐. ทุติยปัชชุนนธีตุสูตร อาทิตตวรรค 15- 041 ๑. อาทิตตสูตร 15- 042 ๒. กินททสูตร 15- 043 ๓. อันนสูตร 15- 044 ๔. เอกมูลสูตร 15- 045 ๕. อโนมิยสูตร 15- 046 ๖. อัจฉราสูตร 15- 047 ๗. วนโรปสูตร 15- 048 ๘. เชตวนสูตร 15- 049 ๙. มัจฉริสูตร 15- 050 ๑๐. ฆฏิกรสูตร ชราวรรค 15- 051 ๑. ชราสูตร 15- 052 ๒. อชรสาสูตร 15- 053 ๓. มิตตสูตร 15- 054 ๔. วัตถุสูตร 15- 055 ๕. ปฐมชนสูตร 15- 056 ๖. ทุติยชนสูตร 15- 057 ๗. ตติยชนสูตร 15- 058 ๘. อุปปถสูตร 15- 059 ๙. ทุติยสูตร 15- 060 ๑๐. กวิสูตร อันธวรรค 15- 061 ๑. นามสูตร 15- 062 ๒. จิตตสูตร 15- 063 ๓. ตัณหาสูตร 15- 064 ๔. สัญโญชนสูตร 15- 065 ๕. พันธนสูตร 15- 066 ๖. อัพภาหตสูตร 15- 067 ๗. อุฑฑิตสูตร 15- 068 ๘. ปิหิตสูตร 15- 069 ๙. อิจฉาสูตร 15- 070 ๑๐. โลกสูตร ฆัตวาวรรค 15- 071 ๑. ฆัตวาสูตร 15- 072 ๒. รถสูตร 15- 073 ๓. วิตตสูตร 15- 074 ๔. วุฏฐิสูตร 15- 075 ๕. ภีตสูตร 15- 076 ๖. นชีรติสูตร 15- 077 ๗. อิสสรสูตร 15- 078 ๘. กามสูตร 15- 079 ๙. ปาเถยยสูตร 15- 080 ๑๐. ปัชโชตสูตร 15- 081 ๑๑. อรณสูตร เทวปุตตสังยุตต์ ปฐมวรรค 15- 082 ๑. ปฐมกัสสปสูตร 15- 083 ๒. ทุติยกัสสปสูตร 15- 084 ๓. มาฆสูตร 15- 085 ๔. มาคธสูตร 15- 086 ๕. ทามลิสูตร 15- 087 ๖. กามทสูตร 15- 088 ๗. ปัญจาลจัณฑสูตร 15- 089 ๘. ตายนสูตร 15- 090 ๙. จันทิมสูตร 15- 091 ๑๐. สุริยสูตร อนาถปิณฑิกวรรค 15- 092 ๑. จันทิมสสูตร 15- 093 ๒. เวณฑุสูตร 15- 094 ๓. ทีฆลัฏฐิสูตร 15- 095 ๔. นันทนสูตร 15- 096 ๕. จันทนสูตร 15- 097 ๖. วาสุทัตตสูตร 15- 098 ๗. สุพรหมสูตร 15- 099 ๘. กกุธสูตร 15- 100 ๙. อุตตรสูตร 15- 101 ๑๐. อนาถปิณฑิกสูตร นานาติตถิยวรรค 15- 102 ๑. สิวสูตร 15- 103 ๒. เขมสูตร 15- 104 ๓. เสรีสูตร 15- 105 ๔. ฆฏิการสูตร 15- 106 ๕. ชันตุสูตร 15- 107 ๖. โรหิตัสสสูตร 15- 108 ๗. นันทสูตร 15- 109 ๘. นันทิวิสาลสูตร 15- 110 ๙. สุสิมสูตร 15- 111 ๑๐. นานาติตถิยสูตร โกสลสังยุตต์ ปฐมวรรค 15- 112 ๑. ทหรสูตร 15- 113 ๒. ปุริสสูตร 15- 114 ๓. ราชสูตร 15- 115 ๔. ปิยสูตร 15- 116 ๕. อัตตรักขิตสูตร 15- 117 ๖. อัปปกสูตร 15- 118 ๗. อรรถกรณสูตร 15- 119 ๘. มัลลิกาสูตร 15- 120 ๙. ยัญญสูตร 15- 121 ๑๐. พันธนสูตร ทุติยวรรค 15- 122 ๑. ชฏิลสูตร 15- 123 ๒. ปัญจราชสูตร 15- 124 ๓. โทณปากสูตร 15- 125 ๔. ปฐมสังคามวัตถุสูตร 15- 126 ๕. ทุติยสังคามวัตถุสูตร 15- 127 ๖. ธีตุสูตร 15- 128 ๗. ปฐมอัปปมาทสูตร 15- 129 ๘. ทุติยอัปปมาทสูตร 15- 130 ๙. ปฐมาปุตตกสูตร 15- 131 ๑๐. ทุติยาปุตตกสูตร ตติยวรรค 15- 132 ๑. ปุคคลสูตร 15- 133 ๒. อัยยิกาสูตร 15- 134 ๓. โลกสูตร 15- 135 ๔. อิสสัตถสูตร 15- 136 ๕. ปัพพโตปมสูตร มารสังยุตต์ ปฐมวรรค 15- 137 ๑. ตโปกรรมสูตร 15- 138 ๒. นาคสูตร 15- 139 ๓. สุภสูตร 15- 140 ๔. ปฐมปาสสูตร 15- 141 ๕. ทุติยปาสสูตร 15- 142 ๖. สัปปสูตร 15- 143 ๗. สุปปติสูตร 15- 144 ๘. นันทนสูตร 15- 145 ๙. ปฐมอายุสูตร 15- 146 ๑๐. ทุติยอายุสูตร ทุติยวรรค 15- 147 ๑. ปาสานสูตร 15- 148 ๒. สีหสูตร 15- 149 ๓. สกลิกสูตร 15- 150 ๔. ปฏิรูปสูตร 15- 151 ๕. มานสสูตร 15- 152 ๖. ปัตตสูตร 15- 153 ๗. อายตนสูตร 15- 154 ๘. ปิณฑิกสูตร 15- 155 ๙. กัสสกสูตร 15- 156 ๑๐. รัชชสูตร ตติยวรรค 15- 157 ๑. สัมพหุลสูตร 15- 158 ๒. สมิทธิสูตร 15- 159 ๓. โคธิกสูตร 15- 160 ๔. สัตตวัสสสูตร 15- 161 ๕. มารธีตุสูตร ภิกขุนีสังยุตต์ 15- 162 ๑. อาฬวิกาสูตร 15- 163 ๒. โสมาสูตร 15- 164 ๓. โคตมีสูตร 15- 165 ๔. วิชยาสูตร 15- 166 ๕. อุบลวรรณาสูตร 15- 167 ๖. จาลาสูตร 15- 168 ๗. อุปจาลาสูตร 15- 169 ๘. สีสุปจาลาสูตร 15- 170 ๙. เสลาสูตร 15- 171 ๑๐. วชิราสูตร พรหมสังยุตต์ ปฐมวรรค 15- 172 ๑. อายาจนสูตร 15- 173 ๒. คารวสูตร 15- 174 ๓. พรหมเทวสูตร 15- 175 ๔. พกสูตร 15- 176 ๕. อปราทิฏฐิสูตร 15- 177 ๖. ปมาทสูตร 15- 178 ๗. ปฐมโกกาลิกสูตร 15- 179 ๘. ติสสกสูตร 15- 180 ๙. ตุทุพรหมสูตร 15- 181 ๑๐. ทุติยโกกาลิกสูตร ทุติยวรรค 15- 182 ๑. สนังกุมารสูตร 15- 183 ๒. เทวทัตตสูตร 15- 184 ๓. อันธกวินทสูตร 15- 185 ๔. อรุณวตีสูตร 15- 186 ๕. ปรินิพพานสูตร พราหมณสังยุตต์ อรหันตวรรค 15- 187 ๑. ธนัญชานีสูตร 15- 188 ๒. อักโกสกสูตร 15- 189 ๓. อสุรินทกสูตร 15- 190 ๔. พิลังคิกสูตร 15- 191 ๕. อหิงสกสูตร 15- 192 ๖. ชฏาสูตร 15- 193 ๗. สุทธิกสูตร 15- 194 ๘. อัคคิกสูตร 15- 195 ๙. สุนทริกสูตร 15- 196 ๑๐. พหุธิติสูตร อุปาสกวรรค 15- 197 ๑. กสิสูตร 15- 198 ๒. อุทัยสูตร 15- 199 ๓. เทวหิตสูตร 15- 200 ๔. มหาศาลสูตร 15- 201 ๕. มานัตถัทธสูตร 15- 202 ๖. ปัจจนิกสูตร 15- 203 ๗. นวกรรมิกสูตร 15- 204 ๘. กัฏฐหารสูตร 15- 205 ๙. มาตุโปสกสูตร 15- 206 ๑๐. ภิกขกสูตร 15- 207 ๑๑. สังครวสูตร 15- 208 ๑๒. โขมทุสสสูตร วังคีสสังยุตต์ 15- 209 ๑. นิกขันตสูตร 15- 210 ๒. อรติสูตร 15- 211 ๓. เปสลาติมัญญนาสูตร 15- 212 ๔. อานันทสูตร 15- 213 ๕. สุภาษิตสูตร 15- 214 ๖. สารีปุตตสูตร 15- 215 ๗. ปวารณาสูตร 15- 216 ๘. ปโรสหัสสสูตร 15- 217 ๙. โกณฑัญญสูตร 15- 218 ๑๐. โมคคัลลานสูตร 15- 219 ๑๑. คัคคราสูตร 15- 220 ๑๒. วังคีสสูตร วนสังยุตต์ 15- 221 ๑. วิเวกสูตร 15- 222 ๒. อุปัฏฐานสูตร 15- 223 ๓. กัสสปโคตตสูตร 15- 224 ๔. สัมพหุลสูตร 15- 225 ๕. อานันทสูตร 15- 226 ๖. อนุรุทธสูตร 15- 227 ๗. นาคทัตตสูตร 15- 228 ๘. กุลฆรณีสูตร 15- 229 ๙. วัชชีปุตตสูตร 15- 230 ๑๐. สัชฌายสูตร 15- 231 ๑๑. อโยนิโสมนสิการสูตร 15- 232 ๑๒. มัชฌันติกสูตร 15- 233 ๑๓. ปากตินทริยสูตร 15- 234 ๑๔. ปทุมปุบผสูตร ยักขสังยุตต์ 15- 235 ๑. อินทกสูตร 15- 236 ๒. สักกสูตร 15- 237 ๓. สูจิโลมสูตร 15- 238 ๔. มณิภัททสูตร 15- 239 ๕. สานุสูตร 15- 240 ๖. ปิยังกรสูตร 15- 241 ๗. ปุนัพสุสูตร 15- 242 ๘. สุทัตตสูตร 15- 243 ๙. ปฐมสุกกาสูตร 15- 244 ๑๐. ทุติยสุกกาสูตร 15- 245 ๑๑. จีราสูตร 15- 246 ๑๒. อาฬวกสูตร สักกสังยุตต์ ปฐมวรรค 15- 247 ๑. สุวีรสูตร 15- 248 ๒. สุสิมสูตร 15- 249 ๓. ธชัคคสูตร 15- 250 ๔. เวปจิตติสูตร 15- 251 ๕. สุภาษิตชยสูตร 15- 252 ๖. กุลาวกสูตร 15- 253 ๗. นทุพภิยสูตร 15- 254 ๘. วิโรจนอสุรินทสูตร 15- 255 ๙. อารัญญกสูตร 15- 256 ๑๐. สมุททกสูตร ทุติยวรรค 15- 257 ๑. ปฐมเทวสูตร 15- 258 ๒. ทุติยเทวสูตร 15- 259 ๓. ตติยเทวสูตร 15- 260 ๔. ทฬิททสูตร 15- 261 ๕. รามเณยยกสูตร 15- 262 ๖. ยชมานสูตร 15- 263 ๗. วันทนสูตร 15- 264 ๘. ปฐมสักกนมัสนสูตร 15- 265 ๙. ทุติยสักกนมัสนสูตร 15- 266 ๑๐. ตติยสักกนมัสนสูตร สักกปัญจกะ 15- 267 ๑. ฆัตวาสูตร 15- 268 ๒. ทุพรรณิยสูตร 15- 269 ๓. มายาสูตร 15- 270 ๔. อัจจยสูตร 15- 271 ๕. อักโกธสูตร <!-- / message --><!-- sig -->
พวกเรากำลังใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ในการสร้างบุญมหากุศลที่ดีเยี่ยม ขออนุโมทนาทุกท่านครับ มีอะไรส่งสัยในการทำในการอัดในการปรับเสียง ในวิธีการใดๆ อย่าเกรงใจว่าคำถามของท่านจะดูน่าอายอะไร หรืออย่าคิดว่าเป็นคำถามโง่ๆอะไร คำถามทุกคำถามเป็นหนทางไปสู่การสร้างสรรค์ครับ โดยเฉพาะผู้มาใหม่ย่อมมีปัญหามากมายเพราะไม่เคยทำ หากได้ทำบ้างแล้วจะชินและก้าวไปได้ด้วยความเข้าใจในเวลาต่อมาครับ
เล่มนี้สำหรับสมาชิกที่สมัครทดลองอ่าน หรือใครสนใจร่วมอ่านเรื่องสั้นๆ ให้ติดตั้งโปรแกรมอัด และย่อขนาดไฟล์เป็น mp3 ขนาด 40 kbps โดยพี่กบจะเลือกหัวข้อให้อ่านคนละสามหัวข้อค่ะ 1. แนะนำ โปรแกรมอัดเสียง audacity-win-1.2.6 ดังนั้นเมื่อจะอัพให้ แปลงไฟล์เป็นขนาด 40 kbps และเป็น mp3 คะ 2. การอัพโหลดไฟล์ที่ทดลองอ่าน การทำเครื่องเสียง
สาธุค่ะ อยู่ตรงนี้ได้รับความรู้หลายอย่าง จากคนที่ไม่เคยรู้เรื่องพระไตรปิฏกมาก่อน เกิดการเรียนรู้ ซาบซึ้งทีละเล็กทีละน้อย ขอบพระคุณกระทู้นี้ค่ะ
เห็นด้วยค่ะ...นอกจากจะได้ทราบเรื่องราวเกี่ยวกับพระไตรปิฎกแล้วยังได้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมอัดเสียง..การทำเครื่องเสียง ฯลฯ แบบที่ไม่เคยรู้จักมาก่อนด้วยค่ะ รับทราบการบ้านแล้วค่ะพี่กบ...แต่ช่วงนี้ยังรับสภาพกับเสียงตัวเองไม่ได้เพราะแพ้อากาศมากค่ะ เวลาจะอัดเสียงทีไรก็แน่นจมูก จนทำให้เสียงอู้อี้ขึ้นจมูกทุกทีค่ะ ตั้งใจว่าถ้ากลับมาจากถ้ำวัวแดงแล้วสุขภาพน่าจะเข้าที่แล้ว พี่คงจะได้ยินเสียงก้อยเร็วๆนี้แหละค่ะ ขออนุโมทนาสาธุกีบทีมงาน และสมาชิกเสียงอ่านพระไตรปิฏกทุกๆท่านด้วยค่ะ
สรุปอีกครั้งค่ะ 1. ถ้าหัวข้อที่อ่านไม่ใช่หัวข้อแรกของเล่ม ให้เริ่มอ่านเนื้อความเลยค่ะ ไม่ต้องอ่านว่า พระไตรปิฏกเล่มที่ เท่าไหร่ ... ตัวอย่างการอ่านหัวข้อแรกของเล่ม การบ้าน(1) พระไตรปิฏกเล่มที่ 15 โอฆตรณสูตรที่ ๑ ตัวอย่าง การอ่านหัวข้ออื่นๆของเล่ม การบ้าน(2) พระไตรปิฏกเล่มที่ 15 นิโมกขสูตรที่ ๒ 2. ตัวเลขในวงเล็บใหญ่อ่านเฉพาะตัวเลข เช่น [๙] เทวดานั้น ครั้นยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้วแล อ่านว่า เก้า เทวดานั้น ครั้นยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้วแล 3. ข้อความในวงเล็บเล็ก อ่าน วงเล็บเปิด ..... วงเล็บปิด เช่น ชนพวกนั้นชื่อว่ายังหลับไม่ตื่น (กาลนี้) เป็นกาลสมควร อ่านว่า ชนพวกนั้นชื่อว่ายังหลับไม่ตื่น วงเล็บเปิด กาลนี้ วงเล็บปิด เป็นกาลสมควร 4. ไม่ต้องอ่าน เชิงอรรถ และ อรรถกถา ค่ะ 5. คำย่อแทนบุคคล ควรอ่านด้วยค่ะ โดยอ่านเนื้อหาทั้งหมดแล้วพิจารณาว่าใครพูดกับใคร (ปรึกษาได้ค่ะ) เช่น ๒] เทวดานั้น ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กราบทูลคำนี้ กะพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ไม่มีทุกข์ ข้าพระองค์ขอทูลถาม พระองค์ ข้ามโอฆะได้อย่างไร ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ท่านผู้มีอายุ เราไม่พักอยู่ ไม่เพียรอยู่ ข้ามโอฆะได้แล้ว ฯ ท. ข้าแต่พระองค์ผู้ไม่มีทุกข์ ก็พระองค์ไม่พักไม่เพียร ข้ามโอฆะได้ อย่างไรเล่า ฯ พ. ท่านผู้มีอายุ เมื่อใด เรายังพักอยู่ เมื่อนั้น เรายังจมอยู่โดยแท้ เมื่อใดเรายังเพียรอยู่ เมื่อนั้น เรายังลอยอยู่โดยแท้ ท่านผู้มีอายุ เราไม่พัก เรา ไม่เพียร ข้ามโอฆะได้แล้วอย่างนี้แล ฯ พระสูตรนี้มีอักษรย่อ เมื่ออ่านเนื้อความโดยรวมแล้ว ก็อ่านว่า ท. อ่านวา เทวดาทูลถามว่า (อย่าอ่านว่า ทอ จุด นะคะ) พ. อ่านว่า พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า (อย่าอ่านว่า พอ จุด)<!-- google_ad_section_end --> ขออนุโมทนากับทุกท่านที่ร่วมทำบุญด้วยเสียง สาธุ
....1. ถ้าหัวข้อที่อ่านไม่ใช่หัวข้อแรกของเล่ม ให้เริ่มอ่านเนื้อความเลยค่ะ ไม่ต้องอ่านว่า พระไตรปิฏกเล่มที่ เท่าไหร่ ... เพิ่งจะอัดเสียงแล้วส่งการบ้านทั้ง 3 ข้อ ไปหยกๆๆง่ะ ก็เพิ่งมาเห็นว่าทำผิดข้อที่ 1 เลยค่ะพี่กบขาเพราะก้อยอ่านหมดทั้ง 3 ข้อเลย แบบว่ากลัวคนฟังไม่เข้าใจค่ะ...เดี๋ยวขอแก้ตัวใหม่อีกทีนะค่ะ
ได้แก้ไขใหม่แล้วนะค่ะ ยังไงรบกวนตรวจสอบอีกทีด้วยนะค่ะ...ขอบพระคุณมากค่ะ...ขออนุโมทนาสาธุทุกๆบุญที่ได้ทำด้วยนะค่ะ http://palungjit.org/posts/2181816
คุณกบคะ... ตั้งใจว่าวันนี้ จะส่งการบ้านไปให้ แต่ติดขัดเรื่องอุปกรณ์บางอย่างค่ะ เร็วๆ นี้จะส่งให้นะคะ Rajithida
การอ่านเครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่๕.๑ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้างท้ายข้อความ ให้อ่านว่า ละ หรือ และอื่นๆ เช่น สิ่งของที่ซื้อขายกันในตลาดมี เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้ำตาล น้ำปลา ฯลฯ อ่านว่า สิ่ง-ของ-ที่-ซื้อ-ขาย-กัน... น้ำ- ปฺลา ละ หรือ สิ่ง-ของ-ที่-ซื้อ-ขาย-กัน... น้ำ- ปฺลา และ-อื่น-อื่น ๕.๒ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ตรงกลางข้อความ อ่านว่า ละถึง เช่น พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก ฯลฯ ฮ อ่านว่า พะ-ยัน-ชะ-นะ-ไท-สี่-สิบ-สี่-ตัว มี กอ ละ-ถึง ฮอ ที่มา หนังสือ อ่านอย่างไร และ เขียนอย่างไร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่ ๑๖, กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ หน้า ๘๒
<TABLE width="100%" bgColor=#e4f3f3 border=0><TBODY><TR><TD>ความคิดเห็นที่ 4 : (คเวสโก)</TD><TD>อ้างอิง |</TD><TR><TD colSpan=2> มีนัย อันกุลบุตรผู้ใคร่ศึกษา พิจารณาว่าเหมาะในการเลือกใช้ "ดูกร" สำหรับภาษาเขียนที่เป็นแบบแผน ดังเดิม เป็นทางการ ในกาลสมัยเดิม "ดูก่อน" เป็นภาษาเขียนและภาษาพูด ในปัจจุบันสมัย แม้มหาเปรียญ,นักบาลี ท่านก็ใช้ทั้งสอง เมื่อว่าแปล แต่หนักไปทาง "ดูก่อน" ทั้งภาษาเขียนและภาษพูด ภิกขโว ดูก่อนภิกษุ (รูปเดียว) ภิกาเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อุบาสก ดูก่อนอุบาสก อุบาสิก ดูก่อนอุบาสิกา วิสาขมหาอุบาสิก ดูก่อนวิสาขามหาอุบาสิกา ใช้ในสำนวน เมื่อมีผู้มาทูลถามปัญหา หรือทูลให้พระพุทธเจ้า ทรงทราบ แล้วพระพุทธองค์ ทรงเฉลย ทรงตอบ ทรงแย้ง ทรงเล่า ทรงสั่ง ตัวอย่างการใช้ในไวยากรณ์ ในกรณี ผู้ใหญ่เรียกเด็ก หรือผู้มีพรรษาอ่อนกว่า ใช้คำว่า "ดูก่อน" ดูกรภิกษุทั้งหลาย ไม่ใช่ว่าพระเทวทัต จะทำร้ายเราในชาตินี้ แม้...... (บอกเล่า) ดูกรสารีบุตรและโมคัลลานะ ท่านจงไปแสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่านั้น แล้วนำเธอเหล่านั้นกลับมา ภิกษุใดใคร่........(คำสั่ง) ดูกรปริพาชิกา เราจะถามปัญหาท่าน "อะไรชื่อว่าหนึ่ง" (คำถาม) ประโยคปฏิเสธ ยังไม่เคยเห็นครับ พระพุทธองค์ ไม่ปฏิเสธ เพียงแต่ ตรัสถามกลับ เพื่อให้คิด ว่าถูกหรือผิด (ให้คิดเอาเอง) ลอง Search ใน google.com คำว่า ภิกขโว,ภิกขเว ดูนะครับ มีนยแห่งความหมาย มากมาย ลองดูตัวอย่างนะครับ http://www.budpage.com/budboard/show_content.pl?b=1&t=5475 ในทางตรงกันข้าม หาก เด็กหรือผู้มีพรรษาน้อยกว่า จะพูดกับผู้ใหญ่หรือผู้มีพรรษามากกว่า จะใช้คำว่า ข้าแต่ หรือ ท่านผู้เจริญ ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (ภณฺเต) <!--QuoteBegin--><SAMP>อ้างอิง <!--QuoteEBegin-->มหาทุคตะกราบทูลว่า "ข้าพระองค์ทราบอยู่ว่า ‘ไม่ใช่เวลาภัตก่อน’ แต่ข้าพระองค์มาก็เพื่อถวายบังคมพระศาสดา" ดังนี้แล้ว จึงซบศีรษะลงที่ธรณีพระคันธกุฎี ถวายบังคมด้วยเบญจางคประดิษฐ์ กราบทูลว่า "ผู้ที่ยากจนกว่าข้าพระองค์ในพระนครนี้ไม่มี พระเจ้าข้า,<!--QuoteEnd--> </SAMP><!--QuoteEEnd--> <!--QuoteBegin--><SAMP>อ้างอิง <!--QuoteEBegin--> สามเณรเข้าไปบิณฑบาตกับพระเถระ สามเณร เมื่อไปกับพระอุปัชฌาย์ เห็นเหมืองในระหว่างทาง จึงเรียนถามว่า "นี้ชื่ออะไร? ขอรับ." พระเถระ. ชื่อว่าเหมือง สามเณร. สามเณร. เขาทำอะไร? ด้วยเหมืองนี้. พระเถระ. เขาไขน้ำจากที่นี้ๆ แล้ว ทำการงานเกี่ยวด้วยข้าวกล้าของตน. สามเณร. ก็น้ำมีจิตไหม? ขอรับ พระเถระ. ไม่มี เธอ. สามเณร. ชนทั้งหลายย่อมไขน้ำที่ไม่มีจิตเห็นปานนี้สู่ที่ๆ ตนปรารถนาแล้วๆ ได้หรือ? ขอรับ. <!--QuoteEnd--> </SAMP><!--QuoteEEnd--> http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=16&p=5 สาธุ <!--emo&:09:--><!--endemo--> <!--emo&:09:--><!--endemo--> ท่านกุลบุตรผุ้ใคร่ศึกษา <!--emo&:30:--><!--endemo--> <!--emo&:30:--><!--endemo--> ____________________________________ "Always compliment flower gardens and new babies." "Hold puppies, kittens, and babies any time you get the chance." "นิสฺสมฺมกรณํ เสยฺโย,โหตูติ" "กระดาษ หมึกสีดำ นับเป็นรูป ความหมายตัวอักษร นับเป็นนาม พึงเพิกถอน ทำลายใจที่ให้ค่า รูปและนามเสีย " (^winter) จากคุณ : คเวสโก [ ตอบ: 21 ธ.ค. 49 12:59 ] แนะนำตัวล่าสุด 31 ต.ค. 50 | สมาชิกลานธรรมถาวร | ตอบ: 634 | ฝากข้อความ |โฮมเพจ |Yahoo | </TD></TR></TBODY></TABLE>
สมาชิกที่สมัครอ่าน ถ้าไม่ส่งการบ้านเป็นเวลานานจะถูกคัดชื่อออก ถ้าท่านสนใจอ่านจริงๆ กรุณาส่งพีเอ็มติดต่อพี่กบนะคะ