น้ำจืดของโลกกำลังเหลือน้อย ใช้สอยอย่างรู้ค่า-อย่าก่อมลพิษ

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย สัตบุรุษ, 12 เมษายน 2009.

  1. สัตบุรุษ

    สัตบุรุษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    733
    ค่าพลัง:
    +840
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>น้ำจืดของโลกกำลังเหลือน้อย ใช้สอยอย่างรู้ค่า-อย่าก่อมลพิษ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>11 เมษายน 2552 10:32 น.</TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9520000040861
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>แหล่งน้ำส่วนใหญ่ของโลกกำลังไม่สามารถใช้บริโภคได้ เพราะมนุษย์ทำลายทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ (ภาพรอยเตอร์)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>นอกจากเราจะทำลายแหล่งน้ำดีแล้ว ปัญหาน้ำก็กลายเป็นวิกฤติที่ต้องเผชิญ อย่างในภาพคือเหตุการณ์น้ำท่วมที่มีเป็นประจำทุกปีที่สหรัฐอเมริกา (ภาพเอเอฟพี)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>จริงอยู่ที่ว่าโลกเราประกอบด้วยน้ำถึง 97% แต่ส่วนใหญ่เป็นน้ำเค็ม และมีน้ำจืดเพียงแค่ 3% อีกทั้ง 3 ใน 4 ของจำนวนนี้ ก็เป็นน้ำแข็งที่ขั้วโลก ซึ่งน้ำที่มนุษย์เราบริโภคได้จริงนั้น มีอยู่เพียงน้อยนิดของสัดส่วนน้ำทั้งโลก

    ทว่าแหล่งทรัพยากรเพื่อหล่อเลี้ยงชีวิตมนุษย์ กลับถูกมนุษย์ทำลายลงทุกขณะ ตามการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรโลกที่ปัจจุบันมีมากกว่า 6.5 พันล้านคน และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 9 พันล้านคน ในช่วงประมาณปี ค.ศ.2050

    นั่นหมายความว่า จะมีความต้องการน้ำจำนวนมหาศาล มากกว่าปริมาณน้ำที่จะจัดหาได้ในปัจจุบัน

    ล่าสุดที่ประชุมสภาน้ำโลก (World Water Council : WWC) ชี้ว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่มีปัญหาน้ำอย่างรุนแรงนั้น คาดว่าจะสูงถึง 3.9 พันล้านคนในปี ค.ศ.2030 นับว่าเกือบครึ่งของประชากรทั่วโลก โดยส่วนใหญ่ผู้ที่ประสบปัญหาเหล่านี้จะอยู่ในจีน และเอเชียใต้

    นอกจากนี้ ข้อมูลจากกรีนพีซระบุถึงปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดมลพิษทางน้ำ 6 อันดับแรก คือ 1.ความลาดชันของพื้นที่ 2.โรงงานอุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษทางน้ำ 3.พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก 4.ปริมาณการใช้สารเคมีเกษตร 5.ปริมาณสารเคมีที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม และ 6.ความหนาแน่นประชากร

    อย่างไรก็ดี ในส่วนของประเทศไทยมีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางน้ำมากกว่า 92.68% ของพื้นที่ทั้งหมด หากพิจารณารายภาคพบว่า ภาคตะวันออกมีสัดส่วนพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูงมากที่สุดคือ 35.64% ของพื้นที่ทั้งหมด รองลงมาคือภาคกลาง 15.89% ส่วนจังหวัดที่มีเนื้อที่ความเสี่ยงต่อการเกิดมลพิษทางน้ำระดับสูงมากที่สุด คือ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และสมุทรสาคร มีมากถึง 100% ของพื้นที่

    ทั้งนี้ ประชากรไทยประมาณ 63 ล้านคน อาจได้รับผลกระทบจากมลพิษทางน้ำระดับสูงถึง 4,440,049 คน ระดับปานกลางจำนวน 3,687,738 คน และระดับต่ำ จำนวน 1,178,816 คน โดยภาคกลางจะมีประชากรที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษทางน้ำระดับสูงมากที่สุด คือประมาณ 3 ล้านคน รองลงมาคือภาคเหนือ 626,839 คน ภาคตะวันออก จำนวน 363,668 คนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 314,369 คน และภาคใต้ จำนวน 209,447 คน

    สำหรับการป้องกันและแก้ปัญหา คือพยายามลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมลพิษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงงานอุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษทางน้ำ ปริมาณสารเคมีที่ใช้ในโรงงานและในการทำเกษตรกรรมให้จูงใจในการลดมลพิษ รวมถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (Clean Production) รวมทั้งลดการทำลายแหล่งน้ำ อันเป็นสถานที่ก่อกำเนิดทรัพยากรที่สำคัญต่อชีวิต.


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right height=10>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. ปานเทพ

    ปานเทพ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2009
    โพสต์:
    34
    ค่าพลัง:
    +0
    ยังไงก็ใช้น้ำอย่างประหยัดกันด้วยนะครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...