พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    หุ หุ พี่ใหม่ไฟแรงอ่านจาจบแล้วซิครับ หุ หุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 พฤศจิกายน 2008
  2. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ท่านปาทานสอบถามมาว่าผมหายไปไหน หุ หุตอบง่ายๆสั้นๆครับ ไปตามหาพระฟ้าผ่าครับ ได้รับนิมนต์มาแค่ 6องค์เองครับ แจกเพื่อนไป 2 จาตามหาเพิ่มอีกเริ่มเกิดอาการหายากครับ หุ หุไม่เป็นไร สบายๆครับ หุ หุ
     
  3. สำรวจโลก

    สำรวจโลก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    553
    ค่าพลัง:
    +579
    วัตถุมงคล
    การแจกพระบางท่านอาจจะคิดว่าไม่มีผลหรือทำให้คนติดวัตถุ ถ้าถือว่าเป็นวัตถุก็น่าติ แต่ถ้าถือว่าเป็นพระก็ต้องคิด พระที่แจกไปมีความต้องการอยู่อย่างเดียวคือ ให้คนมีความรู้สึกว่ามีพระอยู่ที่ตัว อารมณ์ที่รู้สึกว่ามีพระอยู่กับตัว อารมณ์ย่อมเป็นกุศล กุศลนิดหน่อยถ้ามีความรู้สึกบ่อยๆ สามารถทำให้คนที่ตายไปแล้ว จิตนึกถึงพระอยู่เสมอ อย่างเบาก็เกิดเป็นเทวดา อย่างกลางก็เกิดเป็นพรหม อย่างสูงก็ไปนิพพาน
    อีกอย่าง พระที่พ่อแจกนั้น เพื่อสงเคราะห์คนบารมีอ่อน คนที่มีบารมีเป็นปรมัตถบารมี พ่อไม่ห่วง พวกนั้นท่านไม่ต้องเกาะราวหรือไม้เท้าก็เดินไหว สำหรับคนที่มีบารมีอ่อน ยังต้องเกาะราวและไม้เท้า จึงต้องอาศัยวัตถุ คือพระพุทธรูปสงเคราะห์
    นั่นเป็นกุศโลบายอย่างหนึ่งของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน ที่จะช่วยน้อมนำเราให้มีจิตที่เป็นกุศลอยู่เสมอ

    [​IMG]
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    http://palungjit.org/showthread.php?p=1672775#post1672775

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    คุณะพระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ขอร่วมเชิญบริจาค ซื้อ อภิญญาใหญ่ Server เพื่อเว็บพลังจิต

    ตามรายนามดังต่อไปนี้
    1.คุณ คีตา<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1668194", true); </SCRIPT> จำนวน 50 $
    2.คุณ nongnooo จำนวน 500 บาท
    3.คุณ ake7440<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1669030", true); </SCRIPT> จำนวน 500 บาท
    4.คุณ :::เพชร::: จำนวน 500 บาท
    5.คุณ Shinray01<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1670537", true); </SCRIPT> จำนวน 100 บาท
    6.คุณ newcomer<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1670680", true); </SCRIPT> จำนวน 200 บาท
    7.คุณ sithiphong จำนวน 500 บาท
    8.คุณ dragonlord<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1667294", true); </SCRIPT> จำนวน 500 บาท
    9.คุณ สำรวจโลก จำนวน 500 บาท
    10.คุณ ชวภณ ศ. จำนวน 500 บาท
    11.คุณ tawatd จำนวน 500 บาท
    12.คุณ พรสว่าง_2008 จำนวน 300 บาท
    13.คุณ gnip<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1671391", true); </SCRIPT> จำนวน 100 บาท

    วันนี้(19 พย.51 เวลา 9.06น.) ผมโอนเงินจำนวน 2,800 บาท (คุณ nongnooo จำนวน 500 บาท ,คุณ ake7440<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1669030", true); </SCRIPT> จำนวน 500 บาท ,คุณ :::เพชร::: จำนวน 500 บาท ,คุณ sithiphong จำนวน 500 บาท ,คุณ พรสว่าง_2008 จำนวน 300 บาท,คุณ ชวภณ ศ. จำนวน 500 บาท ) เข้าบัญชี นาย ณัฐพัชร จันทรสูตร บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 134 - 7 - 02014 - 9 ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
    สาขาสะพานใหม่ ดอนเมือง เรียบร้อยแล้ว
    [​IMG]


    คุณ คีตา<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1668194", true); </SCRIPT> จำนวน 50 $ โอนเงินร่วมทำบุญแล้ว

    ส่วนคุณ dragonlord จำนวน 500 บาท และ น้อง Shinray01<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1670537", true); </SCRIPT> จำนวน 100 บาท ,คุณ tawatd จำนวน 500 บาท ,คุณ สำรวจโลก จำนวน 500 บาท ,คุณ newcomer<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1670680", true); </SCRIPT> จำนวน 200 บาท ,คุณ gnip<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1671391", true); </SCRIPT> จำนวน 100 บาท จะโอนเข้าบัญชีคุณตั้มโดยตรงครับ

    ทางโอนเงินเข้าบัญชี

    นายณัฐพัชร จันทรสูตร เพื่อพระไตรปิฎกฉบับเว็บเวอร์ชั่น
    บัญชีเงินฝากออมทรัพย์
    เลขที่บัญชี 081 - 2 - 47448 - 7
    ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
    สาขา สะพานใหม่ดอนเมือง


    หรือ

    นาย ณัฐพัชร จันทรสูตร
    บัญชีเงินฝากออมทรัพย์
    เลขที่บัญชี 134 - 7 - 02014 - 9
    ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
    สาขาสะพานใหม่ ดอนเมือง



    โมทนาบุญกับทุกๆท่านครับ

    <!-- / message --><!-- attachments -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ____________________________________

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ newcomer [​IMG]

    ผมโอนเงิน 200.09 บาท วันที่ 19/11/2551 เวลา 11:40 น.
    เข้าบัญชีนาย ณัฐพัชร จันทรสูตร
    บัญชีเงินฝากออมทรัพย์
    เลขที่บัญชี 134-7-02014-9
    เรียบร้อยแล้วครับ

    ขออนุโมทนาบุญครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ____________________________________

    มีเพิ่มเติมครับ
    จากชมรมพระวังหน้า
    http://palungjit.org/group.php?groupid=6


    <LI class=floatcontainer id=gmessage11756>[​IMG]
    วันนี้ 05:04 PM
    channarong_wo

    ได้ส่งเงิน 200 บาท เวลา 16.35 น.เรียบร้อยนะครับ..โมทนาด้วยครับ




    <LI class=floatcontainer id=gmessage11735>[​IMG]
    วันนี้ 01:01 PM
    channarong_wo

    ขอร่วมด้วยช่วยกันครับท่านประธาน 200 บาท ในนามของชมรมพระวังหน้า



    โมทนาสาธุครับ
     
  5. narin96

    narin96 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    113
    ค่าพลัง:
    +28
    แจ้งการโอนเงินช่วยweb
    วันนี้ได้โอนเงิน ๒๐๐ บาท เข้าบัญชีแล้ว ในนามชมรมครับ
     
  6. สำรวจโลก

    สำรวจโลก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    553
    ค่าพลัง:
    +579
    เจ้าคุณนรรัตนฯ ถวายวิธีบริหารร่างกายประจำวัน

    เจ้าคุณนรรัตนฯ ถวายวิธีบริหารร่างกายประจำวันแด่สมเด็จพระพุทธญาณวริวสุทธมหาเถราจารย์เจ้า และสมเด็จพระพุทธญาณวรอมตวิสุทธิโลกุตราจารย์ ณ เทพศิรินทราสุทธาวาส

    กำหนดการบริหารร่างกายประจำวัน
    1. ตอนตื่นนอนก่อนลุกขึ้นจากที่นอน ดัดตน 4 ท่า ดังนี้
    1.1 ยืด
    1.2 แขม่วท้อง
    1.3 เตะขึ้น
    1.4 ขดท้อง

    2. เมื่อลุกขึ้นจากที่นอนแล้ว ไปยืนที่หน้าต่างที่เปิดตรงช่องลม หายใจยาว สูดอากาศสด ๆ เข้าปอดให้เต็มที่ 4 ท่า ดังนี้
    2.1 อัดลม
    2.2 หายใจยาว สูดลมเข้าปอดตอนบน
    2.3 หายใจยาว อัดลมดันให้ท้องโป่งพอง
    2.4 หายใจยาว สูดลมเข้าอกให้ซี่โครงกาง

    ในขณะที่ทำท่าเหล่านี้ควรหลับตาและใจตั้งเป็นสมาธิอยู่ในท่าที่กำลังกระทำอยู่นั้น เมื่อจบท่าแล้วจึงลืมตา เวลาลืมตานั้นต้องลืมจริง ๆ คือเพ่งมองจ้องออกไป แล้วค่อย ๆ หลับ กลอกไปกลอกมา ขึ้นข้างบน ลงข้างล่าง กลอกซ้าย กลอกขวา และกลอกเป็นวงกลม นี่เป็นการบริหารลูกตาอีกส่วนหนึ่ง

    3. ดื่มน้ำ 1 ถ้วยแก้วเต็ม ๆ น้ำที่จะใช้ดื่มนี้ สำหรับผู้ที่มีอายุล่วงเข้าเขตปัจฉิมวัยแล้วไม่ควรดื่มน้ำเย็นในตอนตื่นนอนเช้า ๆ ท้องว่าง ๆ ควรดื่มน้ำต้มเดือดแล้วอุ่น ๆ ถ้าดื่มน้ำเปล่า ๆ ไม่ได้ก็ควรเจือชานิดหน่อย พอมีกลิ่นชวนให้ดื่มได้ แต่อย่าให้มากนัก เพราะชามีธาตุที่ให้โทษแก่ร่างกายอยู่บ้าง ไม่เหมาะสำหรับดื่มในเวลาท้องว่างตื่นนอนใหม่ ๆ ตอนเช้า

    4. ไปถ่ายอุจจาระ ถ้าเกรงจะเสียเวลาช้าไป ควรเอาหนังสือติดมือไปอ่านด้วย

    ต่อนี้ไป ลงมือทำงานได้

    5. เมื่อหยุดงานแล้ว ก่อนรับประทานอาหาร ควรดัดตน 3 ท่า ดังนี้
    5.1 ยืนกางแขนบิดตัว เอามือแตะปลายเท้าทีละข้าง
    5.2 เขย่าตัว
    5.3 จ้องคางและปิดคอ

    แล้วดื่มน้ำ 1 ถ้วย ก่อนรับประทานอาหารสัก 15 นาที

    เมื่อรับประทานอาหารแล้วใหม่ ๆ ไม่ควรอ่านหนังสือหรือใช้สมองคิดเลย ควรคุยหรือเดินหยิบโน่น หยิบนี่ นิด ๆ หน่อย ๆ เป็นดี และไม่ควรดื่มน้ำ รอไว้จนรู้สึกว่าอาหารย่อยเรียบร้อยจนเบาท้องแล้วจึงดื่มน้ำได้มาก ๆ

    6. ก่อนอาบน้ำตอนจะเข้านอนกลางคืน ควรดัดตนอีกครั้งหนึ่ง 7 ท่า ดังนี้
    6.1 ยืด
    6.2 แขม่วท้อง
    6.3 เตะขึ้น
    6.4 ขดท้อง
    6.5 ยืนกางแขนปิดตัว เอามือแตะปลายเท้าทีละข้าง
    6.6 เขย่าตัว
    6.7 จ้องคางและบิดคอ

    ท่าดัดตนเหล่านี้ ถ้าทำให้มากเกินก็ให้โทษ หรือไม่ทำเลยก็ไม่ให้คุณ ที่จะให้คุณจริง ๆ คือ พอควร อยู่ระหว่างกลาง ไม่ไปทางที่สุดโต่งทั้งสองข้าง

    [​IMG]
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    คุณะพระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....
    ขอร่วมเชิญบริจาค ซื้อ อภิญญาใหญ่ Server เพื่อเว็บพลังจิต

    ตามรายนามดังต่อไปนี้
    1.คุณ คีตา<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1668194", true); </SCRIPT> จำนวน 50 $
    2.คุณ nongnooo จำนวน 500 บาท
    3.คุณ ake7440<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1669030", true); </SCRIPT> จำนวน 500 บาท
    4.คุณ :::เพชร::: จำนวน 500 บาท
    5.คุณ Shinray01<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1670537", true); </SCRIPT> จำนวน 100 บาท
    6.คุณ newcomer<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1670680", true); </SCRIPT> จำนวน 200 บาท
    7.คุณ sithiphong จำนวน 500 บาท
    8.คุณ dragonlord<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1667294", true); </SCRIPT> จำนวน 500 บาท
    9.คุณ สำรวจโลก จำนวน 500 บาท
    10.คุณ ชวภณ ศ. จำนวน 500 บาท
    11.คุณ tawatd จำนวน 500 บาท
    12.คุณ พรสว่าง_2008 จำนวน 300 บาท
    13.คุณ gnip<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1671391", true); </SCRIPT> จำนวน 100 บาท
    14.คุณ ตั้งจิต จำนวน 200 บาท
    15.คุณ channarong_wo จำนวน 200 บาท
    16.คุณ narin96<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1672813", true); </SCRIPT> จำนวน 200 บาท


    วันนี้(19 พย.51 เวลา 9.06น.) ผมโอนเงินจำนวน 2,800 บาท (คุณ nongnooo จำนวน 500 บาท ,คุณ ake7440<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1669030", true); </SCRIPT> จำนวน 500 บาท ,คุณ :::เพชร::: จำนวน 500 บาท ,คุณ sithiphong จำนวน 500 บาท ,คุณ พรสว่าง_2008 จำนวน 300 บาท,คุณ ชวภณ ศ. จำนวน 500 บาท ) เข้าบัญชี นาย ณัฐพัชร จันทรสูตร บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 134 - 7 - 02014 - 9 ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
    สาขาสะพานใหม่ ดอนเมือง เรียบร้อยแล้ว
    [​IMG]


    คุณ คีตา<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1668194", true); </SCRIPT> จำนวน 50 $ โอนเงินร่วมทำบุญแล้ว

    ส่วนคุณ dragonlord จำนวน 500 บาท และ น้อง Shinray01<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1670537", true); </SCRIPT> จำนวน 100 บาท ,คุณ tawatd จำนวน 500 บาท ,คุณ สำรวจโลก จำนวน 500 บาท ,คุณ newcomer<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1670680", true); </SCRIPT> จำนวน 200 บาท ,คุณ gnip<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1671391", true); </SCRIPT> จำนวน 100 บาท จะโอนเข้าบัญชีคุณตั้มโดยตรงครับ

    ทางโอนเงินเข้าบัญชี

    นายณัฐพัชร จันทรสูตร เพื่อพระไตรปิฎกฉบับเว็บเวอร์ชั่น
    บัญชีเงินฝากออมทรัพย์
    เลขที่บัญชี 081 - 2 - 47448 - 7
    ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
    สาขา สะพานใหม่ดอนเมือง


    หรือ

    นาย ณัฐพัชร จันทรสูตร
    บัญชีเงินฝากออมทรัพย์
    เลขที่บัญชี 134 - 7 - 02014 - 9
    ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
    สาขาสะพานใหม่ ดอนเมือง



    โมทนาบุญกับทุกๆท่านครับ

    <!-- / message --><!-- attachments -->
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 17 คน ( เป็นสมาชิก 2 คน และ บุคคลทั่วไป 15 คน ) </TD><TD class=thead width="14%">

    </TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>sithiphong, nongnooo+ </TD></TR></TBODY></TABLE>


    พยายามหน่อยครับ เดี๋ยวเพื่อนๆได้ไม่ครบอ่ะ
    จะมีโวยน๊ะครับ
    จริงหรือเปล่าครับคุณเพชร ,คุณตั้งจิต ,น้องหมอเอก ,น้องคีตา ,พี่ตุ่น ,คุณแด๋น ,พี่แอ๊ว ,พี่สองท่าน ,คุณnarin ,คุณnewcomer ,คุณdrogonload ,คุณชวภณ และท่านอื่นๆ หุหุหุ

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 พฤศจิกายน 2008
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เรื่องของสินสมรส
    http://women.kapook.com/wedding00060/

    [​IMG]

    ตามกฎหมาย เมื่อชายหญิงตกลงปลงใจเป็นสามีภรรยากัน และผ่านการจดทะเบียนสมรสแล้ว ความผูกพันนี้ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา 2 ลักษณะ คือ ความสัมพันธ์ส่วนตัว คือ อยู่กินกันแบบสามีภรรยา ต้องอุปการะเลี้ยงดูกัน และ ความสัมพันธ์ทางด้านทรัพย์สิน ซึ่งแยกเป็น
     
  10. สำรวจโลก

    สำรวจโลก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    553
    ค่าพลัง:
    +579
    เถระภาษิต 10 พระสุปฏิปันโน คำสอนโดนใจที่ไม่มีวันตาย
    จาก หลวงปู่มั่น หลวงปู่เสาร์ หลวงพ่อสิงห์ หลวงปู่ขาว หลวงปู่แหวณ หลวงปู่ตื้อ หลวงปู่อ่อน หลวงปู่ฝั้น หลวงปู่เทสก์และหลวงพ่อชา

    ชาวพุทธรุ่นใหม่น้อยคนนักที่จะได้รับรู้ หรือได้สัมผัสกับ "เถรภาษิต" หรือ "คำสอน" ดีๆ จากพระปฏิบัติดีปฏิบัติชอบระดับอาจารย์ใหญ่สายวิปัสสนากรรมฐาน หรือที่เรียกกันทั่วไปว่าสาย "พระป่า" ณ ที่นี้ จึงขอหยิบยกเอาส่วนหนึ่งของเถรภาษิต มานำเสนอพุทธศาสนิกชน เพื่อน้อมนำไปปฏิบัติและปรับใช้กับชีวิตประจำวัน เชื่อว่าจะมีประโยชน์อย่างยิ่ง

    หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
    ...."การปฏิบัติเป็นเครื่องยังพระสัทธรรมให้บริสุทธิ์ สติปัฎฐาน เป็นชัยภูมิคือสนามฝึกตน พลธรรม 5 ใครไม่เหินห่างไปอยู่ที่ไหนไม่ขาดทุนล่มจม"


    หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล
    ...."ให้พากันละบาป และบำเพ็ญบุญอย่าให้เสียชีวิตและลมหายใจไปเปล่าๆ ที่ได้มีวาสนาเกิดมาเป็นมนุษย์เราเกิดมาเป็นมนุษย์มีความสูงศักดิ์มาก แต่อย่านำเรื่องของสัตว์มาประพฤติ มนุษย์ของเราจะต่ำลงกว่าสัตว์และจะเลวกว่าสัตว์อีกมากเวลาตกนรก จะตกหลุมที่ร้อนกว่าสัตว์มากมาย อย่าพากันทำ"

    หลวงพ่อสิงห์ ขันตฺยาคโม
    ...."นักปฏิบัติในพุทธศาสนานี้ เมื่อเป็นผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบตามพระวินัย ดำเนินตามธรรมวินัย ตามหนทางอริยมรรคถูกต้อง ตลอดจิตประชุมอริยมัตถสมังคีเองแล้ว ย่อมบังเกิดอริยพลแจ้งประจักษ์ใจ"

    หลวงปู่ขาว อนาลโย "การทำความดี มีการให้ทานรักษาศีล ภาวนาเป็นต้น ครั้นเราทำความชั่ว มีกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เป็นต้น ครั้นเราทำความดี ความดีจะตามสนองให้เรามีความสุขมีสุคติเป็นที่ไป ครั้นเราทำความชั่ว ความชั่วจะตามสนองให้เรามีความทุกข์ มีทุคติเป็นที่ไป พวกเราได้อัตตาภาพร่างกายมาสมบูรณ์บริบูรณ์ก็เป็นเพราะ ปุพเพปุญญตา บุญของเราที่ได้ทำมาแต่ปางก่อน พวกเราจึงไม่ควรประมาท ควรรีบทำคุณงามความดี แล้วละความชั่วไปด้วย"

    หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ
    ...."ให้ภาวนา เอากายเป็นมรรค เอากายเป็นผล จงพากันละอุปาทาน ทั้ง 5 อนิจจังทั้ง 5 ทุกขังทั้ง 5 อนัตตาทั้ง 5 ละรูปธรรมนามธรรมนี้ วางได้มันก็เป็นธรรมนั่นแหละ วางไม่ได้ มันก็ยึดเอารูปธรรม เป็นตนเป็นตัว มันก็เป็นธรรมเถรอยู่นั่นเองรักษาศีล รักษาขา 2 แขน 2 ศีรษะ 1 ห้าอย่างนี้แหละ ไม่ให้ไปทำโทษ 5 ปานานั่นก็โทษ อทินนานั่นก็โทษ มุสานั่นก็โทษ กาเมนั่นก็โทษ สุรานั่นก็โทษ เรารักษากายของเรา รักษา 5 อย่างไม่ให้ไปทำโทษ 5 อย่างนี้ ก็รักษาศีล 5 ได้ให้พากันทำ"

    หลวงพ่อตื้อ อจลธมฺโม
    ."หมดลงแล้ว เรียกว่าตาย มีเงินมีทอง มีแก้วก็ตาย ละเสียจากเงินทองเหล่านั้น มีลูกสาวก็ตายจากลูกสาว มีลูกชายก็ตายจากลูกชาย มีผัว มีเมีย ก็ตายจากผัวจากเมีย มีพ่อมีแม่ก็ตายจากพ่อจากแม่จะมีเงินหมื่นเงินแสน เงินล้านก็เป็นแค่ของกลางเท่านั้นที่มีอยู่ในโลก เราตายเสียแล้วก็ทิ้งหมด ถ้าเมื่อเรายังไม่ตายจงมาพากันสร้างบุญสร้างกุศลให้ พอเมื่อเราตายไปแล้ว บุญนั้นก็จะได้เป็นที่พึ่งของเราสำคัญต้องรู้จักก่อนว่าบุญนั้นคืออะไร เราทำแต่เพียงทานเท่านั้นหรือเราทำแต่เพียงศีลพอแล้วหรือ หรือว่าเราทำทั้งทาน ศีล และภาวนา"

    หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ."นักบวชที่แท้จริง ต้องเป็นผู้ต่อสู้หรือปราบปรามกับกิเลส ถ้าเราไม่มีการต่อสู้กับมัน ปล่อยให้มันย่ำยีเราแต่ฝ่ายเดียวตัวเราเองจะย่ำแย่ลงไปทุกที ผลสุดท้ายเราก็เป็นผู้แพ้ ยอมเป็นทาสรับใช้กิเลสใช้การไม่ได้ ญาติโยมเราก็เหมือนกัน หากไม่มีการต่อสู้กับความโลภ โกรธ หลง ละก็ เป็นทาสกิเลสทั้งนั้น ผลก็เหมือนๆ กับนักบวชนั่นแหละ"

    หลวงปู่ฝั้น อาจาโร...."ให้พากันเข้าวัดนะ วัดดูจิตวัดดูใจของเราต้องวัดเสมอๆ นั่งก็วัด นอนก็วัด เดินยืนก็วัด วัดเพราะเหตุใด? ให้มันรู้ไว้ว่า จิตใจเรามันดีหรือไม่ดี ไม่ดีก็จะได้แก้ไข ต้องวัดทุกวันตัดเสื้อ ตัดผ้า เขาก็ต้องวัดไม่ใช่เหรอ ไม่วัดจะใช้ได้อย่างไรล่ะ"

    หลวงปู่เทสก์ เทสก์รังสี...."คำสอนของพระพุทธศาสนาทั้งหมดมาลงอยู่ที่สติอันเดียว ตั้งแต่เบื้องต้นก็สอนสติ ที่สุดก็สอนสติ เป็นศาสนาที่สอนถึงที่สุด อย่าให้จิตอยู่แต่ในอำนาจของกิเลส ให้จิตอยู่แต่ในอำนาจของสติสติเป็นตัวระมัดระวัง อันนั้นแหละเป็นประโยชน์ส่วนตัวโดยแท้ มีสติสมบูรณ์บริบูรณ์ก็เรียกว่าถึงศาสนา"

    หลวงพ่อชา สุภทฺโท...."พวกวัวควาย เราหัดได้ไม่นานก็ใช้งานได้ คนเราหัดตั้งนานก็ยังใช้ไม่ได้ยังเป็นสัตว์อยู่ เพราะมันหนามาก เราต้องพิจารณาให้ลึกๆ ให้เข้าถึงธรรม เกิดมาชาติใด กายวาจาใจไม่บกพร่องเพราะว่าเราจะถึงสุคติก็เพราะศีล มีโภคสมบัติก็เพราะศีล ถึงพระนิพพานก็เพราะศีล จะมีความสุขมีโรคน้อย วาจาที่พูดมีประโยชน์ไม่มีโทษ จิตใจนึกคิดไปในทางที่ดี ย่อมก่อให้เกิดความสงบสุข ประกอบไปด้วยกายสมบัติ โภคสมบัติ ทำให้กาย วาจา ใจ สงบเยือกเย็น เรากลับเห็นว่าศีลเป็นทุกข์ท่านว่างามตา เราเห็นว่าไม่งาม ผู้มาฟังธรรมะก็ยากจะทำตามก็ยาก เพราะยังไม่พร้อม พระให้บุญเวลาเราเป็นๆ อยู่ก็ไม่รับคอยรับและเห็นว่าเหมาะแต่เวลาตายแล้ว เพราะเรายังไม่เข้าใจลึกซึ้ง วัวควายอ่านหนังสือไม่ออกก็น่าอภัยเป็นพวกอบายภูมิต่ำๆ พูดกันด้วยค้อนด้วยแส้ ต้องตีต้องเฆี่ยนพระพุทธองค์สอนศีลสอนธรรมมิได้สอนแก่สัตว์ ท่านสอนคนเรานี่เอง"

    ทั้งหมดนี้คือ "เถรภาษิต" อันทรงคุณค่า ที่ไม่มีวันตาย


    [​IMG]
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ไม่ถึงที่ตาย ไม่วายชีวัน
    แต่ถ้าถึงที่ตาย ไม้จิ้มฟันแทงเหงือก ยังเสือกตาย

    ____________________________________

    เจ้าตูบน้อยสร้างปาฏิหาริย์

    http://hilight.kapook.com/view/31068

    [​IMG]


    นับเป็นเหตุการณ์เหลือเชื่อเหนือปาฏิหาริย์ แต่นี่เรื่องจริง เมื่อลูกสุนัขตัวหนึ่งรอด ตายหลังจากโดนรถเก๋งที่วิ่งด้วยความเร็ว 112 กม.ต่อ ชม. ชนตูม อย่างแรง

    นายมาร์โก้ เมนอ ซซี่ ไม่รู้ด้วยซ้ำว่าเจ้าตูบอายุปีเดียวที่ถูกชนนั้นติดคาหน้าหม้อรถ เลยไม่ได้หยุด คงบึ่งซิ่งสู่จุดหมายบนถนนในเมืองคอซซี่ ภาคใต้อิตาลี ระยะทางจาก จุดเกิดเหตุ 24 กิโลเมตร จอดรถนั่นแหละจึงเห็นภาพน่าสงสารดังปรากฏในรูป ประกอบ​

    "ลูกหมาเคราะห์ร้ายโดนชนแรง มาก จนผลุบเข้าไปติดตะแกรงใต้ฝากระโปรงรถเปอโยต์ รุ่น 207 ไอ้ตูบน้อย โชคดีบนความเคราะห์ร้าย มันปลอดภัยเพราะถูกชนแรงมาก หากชนเบากว่านี้มัน อาจกระเด็นกระดอนเข้าใต้ท้องรถล้อบดแบนแต๊ดแต๋" โฆษกตำรวจ สันนิษฐาน​

    สัตวแพทย์รักษา ขาลูกสุนัขพลัดหลง ซึ่งหักข้างหนึ่งและเยียวยาบาดแผลฟกช้ำ ขณะนี้พ้นขีดอันตราย แล้ว อยู่ระหว่างพักฟื้นรอผู้เมตตารับอุปการะเลี้ยงดู​


    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก
    [​IMG]
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
  13. gnip

    gnip สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2008
    โพสต์:
    144
    ค่าพลัง:
    +14
    [​IMG]

    ขอร่วมกิจกรรมด้วยคน นะคะ...
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5Cuser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:AngsanaUPC; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:222; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65536 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} p.MsoTitle, li.MsoTitle, div.MsoTitle {margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; text-align:center; mso-pagination:widow-orphan; font-size:16.0pt; font-family:AngsanaUPC; mso-ascii-font-family:AngsanaUPC; mso-fareast-font-family:"Cordia New"; mso-hansi-font-family:AngsanaUPC; mso-fareast-language:TH; layout-grid-mode:line; font-weight:bold; text-decoration:underline; text-underline:single;} p.MsoBodyText2, li.MsoBodyText2, div.MsoBodyText2 {margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; text-align:justify; text-justify:inter-cluster; mso-pagination:widow-orphan; font-size:16.0pt; font-family:"Cordia New"; mso-fareast-font-family:"Cordia New"; color:navy; layout-grid-mode:line;} a:link, span.MsoHyperlink {color:blue; mso-bidi-language:TH; text-decoration:underline; text-underline:single;} a:visited, span.MsoHyperlinkFollowed {color:purple; text-decoration:underline; text-underline:single;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]เริ่มเลยนะคะ....[/FONT]
    [FONT=&quot]
    ความรู้สึกเมื่อมองภาพเป็นแวบแรกจะเห็นภาพธรรมชาติต่างๆที่สวยงามเพลิดเพลิน หลังจากนั้นได้เกิดสมาธิดำดิ่งไปที่ภาพนั้นได้ จึงเกิดปัญญาพิจารณาเห็นภาพเป็นปริศนาธรรมได้ดังนี้ค่ะ
    <o>

    </o>[/FONT] [FONT=&quot]ปริศนาธรรมที่ 1[/FONT][FONT=&quot] เมื่อมองไปที่ท้องฟ้าพิจารณาถึง การเกิดของโลกธาตุ จักรวาล ดวงดาว สวรรค์ชั้นฟ้าที่มีมากมาย ในภาพปริศนาธรรมยังได้เห็นดาวส่องสว่างแสดงถึงการเกิดขึ้นและตั้งอยู่ของดวงดาว แลเห็นดาวตกอันเป็นปริศนาธรรมให้ขบคิดถึงการแตกดับของทุกสรรพสิ่ง<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]ดังที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ใน "จูฬนีสูตร" พระไตรปิฎก หน้า ๒๑๕ เล่ม ๒๐ ว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]จักรวาล ประกอบด้วยดวงจันทร์ โลก ดวงอาทิตย์ และดาวเคราะห์ทั้งหลายโคจร ไปร่วมกัน[/FONT]
    [FONT=&quot]จะมีขุนเขาสิเนรุ (เขาพระสุเมรุ) (เป็นภูเขาทิพย์ที่เห็นได้เฉพาะผู้มีอภิญญา) ทวีปต่างๆ ที่ตั้งชื่อกันในสมัย[/FONT]
    [FONT=&quot]นั้นคือ ชมพูทวีป อปรโคยานทวีป อุตรกุรุทวีป และปุพพวิเทหทวีป มหาสมุทรทั้ง ๔ (นับกันได้ในสมัยนั้น)[/FONT]
    [FONT=&quot]มีนรกขุมต่างๆ สวรรค์ชั้นต่างๆ และพรหมโลกชั้นต่างๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]โลกธาตุ มี ๓ ขนาด คือ โลกธาตุอย่างเล็กมีจำนวนพันจักรวาล โลกธาตุอย่างกลางมีจำนวนล้านจักรวาล[/FONT]
    [FONT=&quot]โลกธาตุอย่างใหญ่มีจำนวน แสนโกฏิจักรวาล[/FONT]
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    [FONT=&quot]กำเนิดของโลกพระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ใน "อัคคัญญสูตร" พระไตรปิฎก หน้า ๖๑ เล่ม ๑๑ ว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]เกิดมีน้ำขึ้นในห้วงอวกาศอันมืดมิดก่อนแล้วนานๆไปเกิดการรวมตัวงวดเข้าเป็นง้วนดิน แล้วพัฒนาเป็นกระบิดิน[/FONT]
    [FONT=&quot]ต่อไปเป็นเครือดิน จากนั้นมีต้นข้าวและพืชทั้งหลายเกิดขึ้น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ หมู่ดาว[/FONT]
    [FONT=&quot]นรกขุมต่างๆ เทวโลก และพรหมโลกชั้นต่างๆ ก็เกิดขึ้นเอง[/FONT]
    <o></o>
    [FONT=&quot]ทั้งโลกธาตุอย่างเล็กก็ดี อย่างกลางก็ดี อย่างใหญ่ก็ดี ยังมีอีกจำนวนมากมาย[/FONT]
    "ทุกสิ่งทุกอย่างมีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และแตกดับไปในที่สุด" <o></o>
    <o></o>
    [FONT=&quot]เรื่องต่างๆที่เกี่ยวกับโลกและจักรวาล พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในพระสูตรต่างๆในพระไตรปิฎกหลายพระสูตร ช่น[/FONT]

    [FONT=&quot]๑. อัคคัญญสูตร ว่าด้วยเรื่องกำเนิดของโลก กำเนิดของมนุษย์ และวรรณะทั้ง ๔ หน้า ๖๑ เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๒. จูฬนีสูตร ว่าด้วยเรื่องจักรวาลหน้า ๑๒๕[/FONT] [FONT=&quot]เล่มที่ ๒๐[/FONT] [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก[/FONT] [FONT=&quot]อังคุตตรนิกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. สุริยสูตร ว่าด้วยเรื่องในอนาคตพระอาทิตย์จะเกิดขึ้นครบ ๗ ดวง[/FONT] [FONT=&quot]และการพินาศของโลกหน้า ๘๓ เล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๔. อุปสถสูตร ว่าด้วยสวรรค์ ๖ ชั้น หน้า ๑๙๕ เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๕. พาลบัณฑิตสูตร ว่าด้วยผลกรรมของคนชั่วและคนดี เรื่องนรกขุมต่างๆ[/FONT] [FONT=&quot]สัตว์เดียรัจฉานจำพวกต่างๆ และพระเจ้าจักรพรรดิ หน้า ๒๓๙ เล่มที่ ๑๔[/FONT] [FONT=&quot]พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๖. เทวทูตสูตร ว่าด้วยพญายมซักถามสัตว์นรก และนรกขุมต่างๆ[/FONT] [FONT=&quot]หน้า ๒๓๙[/FONT] [FONT=&quot]เล่มที่ ๑๔พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๗. สังขารูปปัตติสูตร ว่าด้วยสวรรค์ ๖ ชั้น รูปพรหม ๑๖ ชั้น อรูปพรหม ๔[/FONT] [FONT=&quot]ชั้น หน้า ๑๗๒ เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๘. ฌานสูตรที่ ๑[/FONT]–[FONT=&quot]๒ ว่าด้วยอายุของรูปพรหม๔ชั้นหน้า ๑๒๕ เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]๙. อาเนญชสูตร ว่าด้วยอายุของอรูปพรหม ๓ ชั้น หน้า ๒๕๔[/FONT] [FONT=&quot]เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย[/FONT]
    [FONT=&quot]ที่มา [/FONT]: http://www.watkhaohinturn.net/scoop_feb.html <o></o>
    [FONT=&quot]
    แต่จะขอยกมาเพียง 1 พระสูตรเพื่อสะดวกแก่การอ่านดังนี้<o></o>[/FONT]


    จูฬนีสูตร
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [๕๒๐] ครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้น แล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่าข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ได้สดับรับฟังมาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่า ดูกรอานนท์สาวกของพระสิขีสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งมีนามว่า อภิภู ยืนอยู่ในพรหมโลก ให้พันแห่งโลกธาตุรู้แจ้งได้ด้วยเสียง พระเจ้าข้า ส่วนพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเล่า ทรงสามารถที่จะทำโลกธาตุเท่าไรให้รู้แจ้งได้ด้วยพระสุรเสียง พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรอานนท์นั้นสาวก ส่วนพระตถาคตนับไม่ถ้วน ฯ<o></o>
    ท่านพระอานนท์ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเป็นครั้งที่ ๒ ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญข้าพระองค์ได้สดับรับฟังมาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่าดูกรอานนท์ สาวกของพระสิขีสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งมีนามว่า อภิภู ยืนอยู่ในพรหมโลก ทำให้พ้นแห่งโลกธาตุรู้แจ้งได้ด้วยเสียงพระเจ้าข้า ส่วนพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเล่า ทรงสามารถที่จะทำโลกธาตุเท่าไรให้รู้แจ้งได้ด้วยพระสุรเสียง ฯ<o></o>
    พ. ดูกรอานนท์ นั้นเป็นสาวก ส่วนพระตถาคตนับไม่ถ้วน<o></o>
    ท่านพระอานนท์ ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคแม้เป็นครั้งที่ ๓ ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญข้าพระองค์ได้สดับรับฟังมาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่าดูกรอานนท์ สาวกของพระสิขีสัมมาสัมพุทธเจ้าซึ่งมีนามว่า อภิภู สถิตอยู่ในพรหมโลก ทำให้พันแห่งโลกธาตุรู้แจ้งได้ด้วยเสียง พระเจ้าข้า ส่วนพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าเล่า ทรงสามารถที่จะทำโลกธาตุเท่าไรให้รู้แจ้งได้ด้วยพระสุรเสียง ฯ<o></o>
    พ. ดูกรอานนท์ เธอได้ฟังเรื่องพันโลกธาตุ เพียงเล็กน้อย ฯ<o></o>
    อา. ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ข้าแต่พระสุคต บัดนี้เป็นกาลเวลาแห่งเทศนาที่พระองค์จะพึงตรัส ภิกษุทั้งหลายได้สดับธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคแล้ว จักทรงจำไว้ ฯ<o></o>
    พ. ดูกรอานนท์ ถ้าอย่างนั้น เธอจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวท่านพระอานนท์ทูลรับสนองพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรอานนท์ จักรวาลหนึ่งมีกำหนดเท่ากับโอกาสที่พระจันทร์พระอาทิตย์โคจร ทั่วทิศสว่างไสวรุ่งโรจน์ โลกมีอยู่พันจักรวาลก่อน ในโลกพันจักรวาลนั้น มีพระจันทร์พันดวง มีอาทิตย์พันดวง มีขุนเขาสิเนรุพันหนึ่ง มีชมพูทวีปพันหนึ่ง มีอปรโคยานทวีปพันหนึ่ง มีอุตตรกุรุทวีปพันหนึ่งมีปุพพวิเทหทวีปพันหนึ่ง มีมหาสมุทรสี่พัน มีท้าวมหาราชสี่พัน มีเทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาพันหนึ่ง มีเทวโลกชั้นดาวดึงส์พันหนึ่ง มีเทวโลกชั้นยามาพันหนึ่ง มีเทวโลกชั้นดุสิตพันหนึ่ง มีเทวโลกชั้นนิมมานรดีพันหนึ่ง มีเทวโลกชั้นปรนิมมิตวสวัสตีพันหนึ่งมีพรหมโลกพันหนึ่ง ดูกรอานนท์ นี้เรียกว่าโลกธาตุอย่างเล็กมีพันจักรวาล โลกคูณโดยส่วนพันแห่งโลกธาตุ อย่างกลางมีล้านจักรวาลนั้น นี้เรียกว่าโลกธาตุอย่างใหญ่ประมาณแสนโกฏิจักรวาล ดูกรอานนท์ตถาคตมุ่งหมายอยู่ พึงทำโลกธาตุอย่างใหญ่ประมาณแสนโกฏิจักรวาลให้รู้แจ้งได้ด้วยเสียง หรือทำให้รู้แจ้งได้เท่าที่มุ่งหมาย ฯ<o></o>
    อา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็พระผู้มีพระภาคพึงทำโลกธาตุอย่างใหญ่ประมาณแสนโกฏิจักรวาล ให้รู้แจ้งด้วยพระสุรเสียง หรือทำให้รู้แจ้งได้เท่าที่พระองค์ทรงมุ่งหมายอย่างไร ฯ<o></o>
    พ. ดูกรอานนท์ พระตถาคตในโลกนี้ พึงแผ่รัศมีไปทั่วโลกธาตุอย่างใหญ่ประมาณแสนโกฏิจักรวาล เมื่อใด หมู่สัตว์พึงจำแสงสว่างนั้นได้ เมื่อนั้นพระตถาคตพึงเปล่งพระสุรเสียงให้สัตว์เหล่านั้นได้ยิน พระตถาคตพึงทำให้โลกธาตุอย่างใหญ่ประมาณแสนโกฏิจักรวาลให้รู้แจ้งได้ด้วยพระสุรเสียง หรือพึงทำให้รู้แจ้งได้เท่าที่พระองค์ทรงมุ่งหมาย ด้วยอาการเช่นนี้แล ฯ<o></o>
    เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสดังนี้แล้ว ท่านพระอานนท์ ได้กราบทูลว่า เป็นลาภของข้าพระองค์หนอ ข้าพระองค์ได้ดีแล้วหนอที่ข้าพระองค์มีพระศาสดาผู้มีฤทธิ์มีอานุภาพมากอย่างนี้เมื่อท่านพระอานนท์กราบทูลอย่างนี้แล้ว ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระอานนท์ว่า ดูกรอานนท์ในข้อนี้ท่านจะได้ประโยชน์อะไร ถ้าศาสดาของท่านมีฤทธิ์ มีอานุภาพมากอย่างนี้ เมื่อท่านพระอุทายีกล่าวอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระอุทายีว่า ดูกรอุทายี เธออย่าได้กล่าวอย่างนี้ ถ้าอานนท์ยังไม่หมดราคะเช่นนี้ พึงทำกาละไป เธอพึงเป็นเจ้าแห่งเทวดาในหมู่เทวดา๗ ครั้งพึงเป็นเจ้าจักพรรดิในชมพูทวีปนี้แหละ ๗ ครั้ง เพราะจิตที่เลื่อมใสนั้น ดูกรอุทายี<o></o>
    ก็แต่ว่าอานนท์จักปรินิพพานในอัตภาพนี้เอง ฯ<o></o>

    คัดลอกมาจาก พระไตรปิฎก ฉบับธรรมทาน
    http://www.dhammatan.org<!--[if !supportNestedAnchors]--><!--[endif]--><o></o>
     
  14. gnip

    gnip สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2008
    โพสต์:
    144
    ค่าพลัง:
    +14
    [FONT=&quot]ปริศนาธรรมที่ 2 ห้วงน้ำและสะพาน เมื่อพิจารณาไปที่ห้วงน้ำที่กว้างใหญ่ สวยงาม และลึก แสดงถึงปริศนาธรรม[FONT=&quot]โอฆะ อันเป็นสิ่งที่ทำให้มนุษย์[/FONT][FONT=&quot]เทพ พรหม และสัตว์ทั้งหลายต่างเกิดมัวเมาลุ่มหลงในกิเลส (ห้วงน้ำอันทอประกาย สวยงาม) ซึ่งก็ต่างหาทางข้ามไปสู่ฝั่งโพ้นได้ยากยิ่ง แต่ใครจะมีสะพานแห่งปัญญาและความเพียรพอที่จะก้าวผ่านข้ามไปนั้นได้...สู่นิพพาน<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot]ขออ้างอิงของหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช[FONT=&quot]นะคะอ่านแล้วตรงใจมาก[/FONT][/FONT]<o></o><o></o>
    [FONT=&quot]
    ถาม: เคยได้ยินหลวงพ่อเล่าพระสูตรหนึ่งว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]มีเทวดาไปถามพระพุทธเจ้าว่าพระองค์ข้ามโอฆะได้อย่างไ[/FONT] [FONT=&quot]ร[/FONT]
    [FONT=&quot]พระพุทธองค์ตอบว่าพระองค์ไม่พัก และพระองค์ไม่เพียร[/FONT]
    [FONT=&quot]อยากจะเรียนถามว่า[/FONT] [FONT=&quot]โอฆะคืออะไร[/FONT][FONT=&quot]คะ[/FONT]

    [FONT=&quot]กิเลสที่เราต้องข้ามให้ได้ เค้าเรียกว่าโอฆะ จะเรียกอาสวะก็ได้ มีอยู่ ๔ ตัว[/FONT]
    [FONT=&quot]โอฆะแปลว่าห้วงน้ำ หมายถึงกิเลสที่เหมือนเราหล่นลงไปแล้วจมน้ำตายอยู่ใน[/FONT] [FONT=&quot]นั้นเลย[/FONT]
    [FONT=&quot]พาให้เราจมตายอยู่ในสังสารวัฏ เวียนตายเวียนเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกนั่นเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]อาสวะเป็นกิเลสที่ยั่วย้อมใจทำให้กิเลสอย่างอื่นเข้า[/FONT] [FONT=&quot]มาครอบงำจิตใจได้[/FONT]

    [FONT=&quot]องค์ธรรมของโอฆะหรือองค์ธรรมของอาสวะเป็นอันเดียวกัน[/FONT]
    [FONT=&quot]คือมีกาม มีทิฏฐิ มีภพ มีอวิชชา มี ๔ อย่างนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]มันเหมือนทะเลใหญ่ ๔ ทะเล เราจะต้องข้ามให้ได้ถ้าจะข้ามสังสารวัฏนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ข้ามห้วงมหรรณพอันใหญ่ ในทะเลใหญ่นี้มีทะเลย่อยๆ อยู่ ๔ อัน ต้องข้ามให้ได้[/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ละอันข้ามยากมากเลย[/FONT]

    [FONT=&quot]ทะเลอันที่ ๑ ชื่อว่าทิฏฐิ โอฆะอันที่ ๑ ชื่อ ทิฏฐิ[/FONT]
    [FONT=&quot]ทิฏฐิคือความเห็นผิด เช่น เราเห็นผิดว่าตัวเรามีอยู่จริงๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]พอร่างกายนี้ตายไป จิตใจที่ไปเกิดใหม่ ยังเป็นจิตใจคนเก่าอยู่[/FONT]
    [FONT=&quot]จิตใจดวงเดิมไปเกิดใหม่ อันนี้เป็นมิจฉาทิฏฐินะ ชื่อสัสสตทิฏฐิ[/FONT]
    [FONT=&quot]แท้จริงจิตไม่ได้ไปเกิดใหม่ จิตเกิดขึ้นตรงนี้ก็ดับตรงนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]เกิดตรงตาก็ดับที่ตา เกิดที่หูก็ดับที่หู เกิดที่ใจก็ดับที่ใจนั่นเอง จิตเกิดดับอยู่อย่างนี้ตลอด[/FONT]
    [FONT=&quot]เหมือนเวลาที่เราตาย จิตดวงสุดท้ายในชีวิตนี้เรียกว่าจุติจิตดับลงไปปั๊บ[/FONT]
    [FONT=&quot]มันเกิดจิตดวงใหม่ในชีวิตใหม่ เรียกว่า ปฏิสนธิจิต[/FONT]
    [FONT=&quot]มันเกิดสืบเนื่องไปเรื่อยๆ มันไม่ใช่จิตดวงเก่า ไม่ใช่ตัวนี้ถอดออกจากร่างนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ส่วนใหญ่ชอบคิดว่า วิญญาณเราออกจากร่างไปหาที่เกิดใหม่ อันนั้นเป็นมิจฉาทิฏฐิ[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าเราหัดภาวนาก็จะเห็นว่าจิตเกิดดับตลอดเวลา[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่มีหรอกจิตที่อยู่นานๆ ถึงขนาดถอดออกจากร่างไปเกิดใหม่ได้ ไม่มี[/FONT]
    [FONT=&quot]มิจฉาทิฏฐิอีกอย่างนึงคือคิดว่าถ้าตายแล้วสูญไปเลย[/FONT]
    [FONT=&quot]พวกนี้เชื่อทางวัตถุ คิดว่าตายแล้วสูญไปเลย มองไม่เห็นความสืบต่อของจิต[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าเราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิพวกนี้ได้ต้องมาดูที่กายที่ใจ[/FONT] [FONT=&quot]ของเรา[/FONT]
    [FONT=&quot]จนเห็นความจริงของกายของใจนี้ จึงจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ ข้ามความเห็นผิดได้[/FONT]

    [FONT=&quot]มิจฉาทิฏฐิมีเยอะนะ เช่น ไม่เชื่อเรื่องกรรมกับผลของกรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่เชื่อเรื่องการกระทำกับผลของการกระทำ ไม่เชื่อเรื่อง [/FONT]action [FONT=&quot]กับ [/FONT]reaction
    [FONT=&quot]พวกหนึ่งก็เชื่อว่าสัตว์มีเฉพาะที่เรามองเห็น เทวดา สัตว์นรก เปรต อสุรกาย พวกนี้ไม่มี[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะตัวเองไม่เห็นก็ว่ามันไม่มี พวกนี้เป็นมิจฉาทิฏฐิทั้งนั้นเลย[/FONT]
    [FONT=&quot]มันไม่เชื่อในปัญญาตรัสรู้ของพระพุทธเจ้านะ มันเป็นพวกมิจฉาทิฏฐิ[/FONT]
    [FONT=&quot]ทีนี้เราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ยังไง[/FONT]

    [FONT=&quot]มิจฉาทิฏฐิเป็นทะเลที่กว้างที่สุด ลักษณะของทะเลมิจฉาทิฏฐิคือทะเลที่กว้างมากเลย ไม่เห็นฝั่ง[/FONT]
    [FONT=&quot]คนทั้งหลายที่ตกอยู่ในมิจฉาทิฏฐิจะเวียนว่ายตายเกิดซ[/FONT] [FONT=&quot]้ำแล้วซ้ำอีกอยู่อย่างนั้นเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะไม่รู้ว่าฝั่งอยู่ตรงไหน ขึ้นฝั่งไม่ได้[/FONT]
    [FONT=&quot]พระพุทธเจ้าท่านถึงสอนบอกว่าเราตถาคตไม่เห็นว่าอะไรจ[/FONT] [FONT=&quot]ะมีโทษเท่ากับมิจฉาทิฏฐิเลย[/FONT]
    [FONT=&quot]มิจฉาทิฏฐิมีโทษมากที่สุด ตัวศาสนาพุทธแท้ๆ นั่นแหละคือตัวสัมมาทิฏฐิ[/FONT]

    [FONT=&quot]แล้วเราจะข้ามทะเลที่กว้างนี้นั้น เราไม่มีปัญญาจะข้ามด้วยตนเองเพราะเราไม่ใช่พระพุทธเ[/FONT] [FONT=&quot]จ้า[/FONT]
    [FONT=&quot]อาศัยพระพุทธเจ้าท่านบอกทางให้ เหมือนท่านอยู่บนบกนะ ท่านตั้งประภาคารขึ้นมา[/FONT]
    [FONT=&quot]เราเห็นแสงไฟแล้ว เรารู้ทิศทางแล้วว่าต้องเข้ามาทางนี้นะ ถึงจะเข้าฝั่งได้[/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้ที่ข้ามทะเลทิฏฐิที่กว้างขวางอันนี้ได้คือพระโสดา[/FONT] [FONT=&quot]บันเท่านั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]จะเป็นโสดาบันได้จะต้องเห็นความจริงของกายของใจ[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าเห็นความจริงก็จะล้างความเห็นผิดได้ เห็นความจริงของกายของใจ[/FONT]
    [FONT=&quot]มันไม่เที่ยง มันเป็นทุกข์ มันเป็นอนัตตานะ มันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป[/FONT]
    [FONT=&quot]มันเป็นสิ่งที่ถ้ามีเหตุมันก็เกิดอีก ถ้าไม่มีเหตุมันก็ไม่เกิดอีก มันจะเห็นอย่างนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้นมันจะไม่มีตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญหรอก[/FONT]
    [FONT=&quot]มันมีแต่ว่ามันสืบเนื่องไปเรื่อยๆ ถ้ามันมีเหตุ[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าไม่มีเหตุ คือไม่มีกิเลสแล้ว มันจะไม่สืบเนื่องไป[/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ก็ไม่ได้แปลว่าสูญนะ อย่าไปแปลว่าสูญนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]มันมีธรรมชาติอย่างหนึ่งซึ่งมีแต่ไม่มี หรือไม่มีความมี[/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นธรรมะอีกชนิดนึงซึ่งเรายังไม่รู้จัก มันไม่ใช่สาบสูญไปเลย[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้นให้คอยมาดูกายมาดูใจมากๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]วันนึงละความเห็นผิดได้ ได้โสดาบัน ข้ามทะเลอันที่หนึ่งได้แล้ว คือทะเลของทิฏฐิ[/FONT]

    [FONT=&quot]ทะเลตัวที่สองคือทะเลกาม ถ้าบอกว่าทะเลทิฏฐิคือทะเลที่กว้างหาขอบเขตไม่เจอนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ทะเลกามนี้มีขอบมีเขต ขอบเขตของกามอยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เอง[/FONT]
    [FONT=&quot]อยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แต่ทะเลกามเป็นทะเลน้ำวนนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]จิตเราจะวนเที่ยวแสวงหาอารมณ์อยู่ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่ตลอดเวลา[/FONT]
    [FONT=&quot]มันหิวตลอด มันหิวอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะหมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว อยู่ทั้งวัน[/FONT]
    [FONT=&quot]เดี๋ยวก็อยากได้อารมณ์ทางตา เดี๋ยวอยากทางหู เดี๋ยวอยากทางลิ้น ทางจมูก ทางกาย ทางใจ[/FONT]
    [FONT=&quot]จะหมุนจี๋ จี๋ จี๋ อยู่ทั้งวันทั้งคืน เป็นทะเลตัณหานั่นเอง ทะเลของกาม หมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว ไม่หยุด[/FONT]

    [FONT=&quot]คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้[/FONT]
    [FONT=&quot]เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู[/FONT]
    [FONT=&quot]จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้[/FONT]

    [FONT=&quot]แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้[/FONT]
    [FONT=&quot]กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด[/FONT]
    [FONT=&quot]ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว[/FONT]
    [FONT=&quot]บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ[/FONT]
    [FONT=&quot]เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์[/FONT]

    [FONT=&quot]ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ[/FONT]
    [FONT=&quot]จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย[/FONT]
    [FONT=&quot]ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน[/FONT]
    [FONT=&quot]ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที[/FONT]
    [FONT=&quot]ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว[/FONT]
    [FONT=&quot]มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย[/FONT]
    [FONT=&quot]จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง[/FONT]
    [FONT=&quot]เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆ ในสังสารวัฏนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา[/FONT]
    [FONT=&quot]เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล[/FONT]
    [FONT=&quot]เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา[/FONT]
    [FONT=&quot]เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ[/FONT]
    [FONT=&quot]เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง[/FONT]
    [FONT=&quot]เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง[/FONT]
    [FONT=&quot]เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม[/FONT]
    [FONT=&quot]จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย[/FONT]
    [FONT=&quot]นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก[/FONT]
    [FONT=&quot]การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น[/FONT]

    [FONT=&quot]ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว[/FONT][FONT=&quot]้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ[/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว[/FONT]
    [FONT=&quot]ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก[/FONT]
    [FONT=&quot]ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม[/FONT]
    [FONT=&quot]อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน[/FONT]
    [FONT=&quot]การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้[/FONT]
    [FONT=&quot]พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี[/FONT]

    [FONT=&quot]ที่มา [/FONT]: http://dungtrin.com/mag/?19.pra
    <o></o>

    พระไตรปิฏก เล่มที่ ๑๕พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    สังยุตตนิกาย สคาถวรรค[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นเทวตาสังยุต[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    นฬวรรคที่ ๑[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    โอฆตรณสูตรที่ ๑[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๑]ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้-[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล เมื่อปฐมยามล่วงไปแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เทวดาองค์หนึ่ง มีวรรณงาม ยังพระวิหารเชตวันทั้งสิ้นให้สว่าง เข้าไปเฝ้าพระผู้มี[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค แล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ควรส่วนข้างหนึ่ง ฯ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๒]เทวดานั้น ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กราบทูลคำนี้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    กะพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ไม่มีทุกข์ ข้าพระองค์ขอทูลถาม พระองค์[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ข้ามโอฆะได้อย่างไร ฯ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ท่านผู้มีอายุ เราไม่พักอยู่ ไม่เพียรอยู่[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ข้ามโอฆะได้แล้ว ฯ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o></o>[/FONT]
    หน้าที่๒.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ท. ข้าแต่พระองค์ผู้ไม่มีทุกข์ ก็พระองค์ไม่พักไม่เพียร ข้ามโอฆะได้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    อย่างไรเล่า ฯ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พ. ท่านผู้มีอายุ เมื่อใด เรายังพักอยู่ เมื่อนั้น เรายังจมอยู่โดยแท้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เมื่อใดเรายังเพียรอยู่ เมื่อนั้น เรายังลอยอยู่โดยแท้ ท่านผู้มีอายุ เราไม่พัก เรา[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ไม่เพียร ข้ามโอฆะได้แล้วอย่างนี้แล ฯ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เทวดานั้นกล่าวคาถานี้ว่า[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    นานหนอ ข้าพเจ้าจึงจะเห็นขีณาสวพราหมณ์ผู้ดับรอบแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ไม่พัก ไม่เพียรอยู่ ข้ามตัณหาเป็นเครื่องเกาะเกี่ยวในโลก ฯ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๓]เทวดานั้นกล่าวคำนี้แล้ว พระศาสดาทรงอนุโมทนา ครั้งนั้นแล[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เทวดานั้นดำริว่า พระศาสดาทรงอนุโมทนาคำของเรา จึงถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ทำประทักษิณแล้วก็หายไป ณ ที่นั้นแล ฯ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระไตรปิฏก เล่มที่ ๓๐พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ภัทราวุธมาณวกปัญหานิทเทส[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ว่าด้วยปัญหาของท่านภัทราวุธะ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๑๓][FONT=&quot] ([/FONT]ท่านภัทราวุธะทูลถามว่า)[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ข้าพระองค์ขออาราธนาพระองค์ผู้ละความอาลัย ตัดตัณหา[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เสียได้ ไม่มีความหวั่นไหว ละความเพลินเสีย ข้ามโอฆะแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พ้นวิเศษแล้ว ละความดำริ มีปัญญาดี. ชนทั้งหลายได้ฟัง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระดำรัสของพระองค์ผู้เป็นนาคแล้ว จักหลีกไปแต่ที่นี้.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๑๔]คำว่า ผู้ละความอาลัย ในอุเทศว่า โอกญฺชหํ ตณฺหจฺฉิทํ อเนชํ ดังนี้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ความว่า ความพอใจ ความกำหนัด ความเพลิน ความทะยานอยาก ความเข้าไปยึดถือด้วย[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ตัณหา ทิฏฐิและอุปาทาน อันเป็นที่ตั้ง เป็นที่ผูกพันและเป็นอนุสัยแห่งใจในรูปธาตุ. กิเลส-[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]*[/FONT]ชาติมีความพอใจเป็นต้นเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว ทรงละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ทรงทำไม่ให้มีที่ตั้ง ดังตาลยอดด้วน ทรงให้ถึงความไม่มี ไม่ให้เกิดขึ้นต่อไปเป็นธรรมดา[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว จึงชื่อว่า ผู้ละความอาลัย. ความพอใจ ความกำหนัด ...[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ. กิเลสชาติมีความพอใจเป็นต้น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เหล่านั้น พระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว ทรงละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทรงทำไม่ให้มีที่ตั้ง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ดังตาลยอดด้วน ให้ถึงความไม่มี ไม่ให้เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา เพราะเหตุนั้น พระผู้มี-[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]*[/FONT]พระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว จึงชื่อว่า ผู้ละความอาลัย.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธรรมตัณหา ชื่อว่า[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ตัณหา ในคำว่า ตณฺหจฺฉิทํ ดังนี้. ตัณหานั้นอันพระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว ทรงตัดแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ตัดขาดแล้ว ตัดขาดพร้อมแล้ว สงบแล้ว ระงับแล้ว ทำไม่ให้อาจเกิดขึ้น เผาเสียแล้วด้วยไฟ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คือญาณ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว จึงชื่อว่า ทรงตัดตัณหา.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ตัณหา ความกำหนัด ความกำหนัดนัก ฯลฯ อภิชฌา โลภะ อกุศลมูล ท่านกล่าวว่า[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ความหวั่นไหว ในคำว่า ผู้ไม่มีความหวั่นไหว. ตัณหาอันเป็นความหวั่นไหวนั้น อันพระผู้มี-[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]*[/FONT]พระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว ทรงละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทรงทำไม่ให้มีที่ตั้ง ดังตาลยอดด้วน ให้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o></o>[/FONT]
    หน้าที่๑๕๕.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ถึงความไม่มี ไม่ให้เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    จึงชื่อว่า ผู้ไม่มีความหวั่นไหว.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว ชื่อว่าผู้ไม่มีความหวั่นไหว เพราะพระองค์ทรงละความ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    หวั่นไหวเสียแล้ว. พระผู้มีพระภาคไม่สะทกสะท้าน ไม่ทรงหวั่น ไม่ทรงไหว ไม่พรั่น ไม่พรึง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    แม้ในเพราะลาภ แม้ในเพราะความเสื่อมลาภ แม้ในเพราะยศ แม้ในเพราะความเสื่อมยศ แม้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ในเพราะความสรรเสริญ แม้ในเพราะความนินทา แม้ในเพราะสุข แม้ในเพราะทุกข์ เพราะ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว จึงชื่อว่า ไม่มีความหวั่นไหว เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระองค์ผู้ละความอาลัย ตัดตัณหาเสีย ไม่มีความหวั่นไหว.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำว่า อิติ ในอุเทศว่า อิจฺจายสฺมา ภทฺราวุโธ ดังนี้ เป็นบทสนธิ. ฯลฯ คำว่า อิติ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    นี้ เป็นไปตามลำดับบท.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำว่า อายสฺมา เป็นเครื่องกล่าวด้วยความรัก เป็นเครื่องกล่าวโดยเคารพ. คำว่า อายสฺมา[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    นี้ เป็นเครื่องกล่าวเป็นไปกับด้วยความเคารพและความยำเกรง.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำว่า ภทฺราวุโธ เป็นชื่อ ฯลฯ เป็นคำร้องเรียกของพราหมณ์นั้น เพราะฉะนั้น จึง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ชื่อว่า ท่านภัทราวุธะทูลถามว่า.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๑๕]ตัณหา ความกำหนัด ความกำหนัดนัก ฯลฯ อภิชฌา โลภะ อกุศลมูล[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ท่านกล่าวว่า ความเพลิน ในอุเทศว่า นนฺทิญฺชหํ โอฆติณฺณํ วิมุตฺตํ ดังนี้. ตัณหาอันเป็น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ความเพลินนั้น พระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว ทรงละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทรงทำไม่ให้มีที่[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ตั้ง ดังตาลยอดด้วน ให้ถึงความไม่มี ไม่ให้เกิดขึ้นอีกต่อไปเป็นธรรมดา เพราะเหตุนั้น พระ-[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]*[/FONT]ผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว จึงชื่อว่า ผู้ละความเพลินเสีย.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำว่า ข้ามโอฆะแล้ว ความว่า พระผู้มีพระภาคทรงข้ามแล้วซึ่งกามโอฆะ ภวโอฆะ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ทิฏฐิโอฆะ อวิชชาโอฆะ ทรงข้ามแล้ว คือ ทรงข้ามขึ้นแล้ว ทรงข้ามพ้นแล้ว ทรงก้าวล่วง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    แล้ว ทรงล่วงเลยไปแล้ว ซึ่งคลองแห่งสงสารทั้งปวง. พระผู้มีพระภาคนั้น มีธรรมเป็นเครื่อง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    อยู่อันพระองค์อยู่จบแล้ว มีจรณะทรงประพฤติแล้ว ฯลฯ มิได้มีสงสาร คือชาติ ชราและมรณะ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ไม่มีภพใหม่ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ทรงละความเพลินเสีย ทรงข้ามโอฆะแล้ว.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำว่า พ้นวิเศษแล้ว คือ พระผู้มีพระภาคมีพระทัยพ้นแล้ว พ้นวิเศษแล้ว พ้นวิเศษ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ดีแล้ว จากราคะ โทสะ โมหะ ความโกรธ ความผูกโกรธ ฯลฯ อกุสลาภิสังขารทั้งปวง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ทรงละความเพลินเสีย ทรงข้ามโอฆะแล้ว พ้นวิเศษแล้ว.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o></o>[/FONT]
    หน้าที่๑๕๖.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๑๖]ความดำริ ในคำว่า กปฺป ในอุเทศว่า กปฺปชหํ อภิยาเจ สุเมธํ ดังนี้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    มี ๒ อย่าง คือ ความดำริด้วยอำนาจตัณหา ๑. ความดำริด้วยอำนาจทิฏฐิ ๑. ฯลฯ นี้เป็นความ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ดำริด้วยอำนาจตัณหา. ฯลฯ นี้เป็นความดำริด้วยอำนาจทิฏฐิ.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระผู้มีพระภาคตรัสรู้แล้ว ทรงละความดำริด้วยอำนาจตัณหา ทรงสละคืนความดำริด้วย[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    อำนาจทิฏฐิแล้ว. พระผู้มีพระภาคผู้ตรัสรู้แล้ว ชื่อว่า ทรงละความดำริ เพราะพระองค์ทรงละความ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ดำริด้วยอำนาจตัณหา เพราะพระองค์ทรงสละคืนความดำริด้วยอำนาจทิฏฐิ.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำว่า ขออาราธนา คือ ทูลอาราธนา ทูลเชื้อเชิญ ทูลยินดี ปรารถนารักใคร่ ชอบใจ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]([/FONT]คำของพระองค์).[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ปัญญา ความรู้ กิริยาที่รู้ ฯลฯ ความไม่หลง ความเลือกเฟ้นธรรม สัมมาทิฏฐิ ท่าน[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    กล่าวว่า เมธา ในคำว่า สุเมธํ.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระผู้มีพระภาคทรงเข้าไป เข้าไปพร้อม เข้ามา เข้ามาพร้อม เข้าถึง เข้าถึงพร้อม[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ประกอบด้วยปัญญาชื่อเมธานี้ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงชื่อว่ามีปัญญาดี เพราะฉะนั้น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    จึงชื่อว่า ข้าพระองค์ขออาราธนา ... ละความดำริ มีปัญญาดี.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๑๗]พระผู้มีพระภาคชื่อว่า เป็นนาค. ในคำว่า นาคสฺส ในอุเทศว่า สุตฺวาน[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    นาคสฺส อปนมิสฺสนฺติ อิโต ดังนี้.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระผู้มีพระภาคไม่ทรงกระทำความชั่ว เพราะฉะนั้น จึงทรงพระนามว่า นาค. ไม่เสด็จไปสู่[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ความชั่ว เพราะฉะนั้น จึงทรงพระนามว่า นาค. ไม่เสด็จมาสู่ความชั่ว เพราะฉะนั้น จึงทรง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระนามว่า นาค. ฯลฯ พระผู้มีพระภาคไม่เสด็จมาสู่ความชั่วอย่างนี้ เพราะฉะนั้น จึงทรง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระนามว่า นาค.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ข้อว่า ชนทั้งหลายได้ฟังพระดำรัสของพระองค์ผู้เป็นนาคแล้ว จักหลีกไปแต่ที่นี้ ความ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ว่า ชนเป็นอันมาก ได้ยิน ได้ฟัง ศึกษา ทรงจำ เข้าไปกำหนดแล้ว ซึ่งพระดำรัส คือ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระดำรัสที่เป็นทางเทศนา อนุสนธิ ของพระองค์แล้ว จักหลีก จักเลี่ยงไปแต่ที่นี้ คือ จักไป[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    สู่ทิศใหญ่และทิศน้อย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ชนทั้งหลายได้ฟังพระดำรัสของพระองค์ผู้เป็น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    นาคแล้ว จักหลีกไปแต่ที่นี้. เพราะเหตุนั้น พราหมณ์นั้นจึงกล่าวว่า[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ข้าพระองค์ขออาราธนาพระองค์ ผู้ละความอาลัย ตัดตัณหา[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เสีย ไม่มีความหวั่นไหว ละความเพลินเสีย ข้ามโอฆะแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o></o>[/FONT]
    หน้าที่๑๕๗.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พ้นวิเศษแล้ว ละความดำริ มีปัญญาดี. ชนทั้งหลายได้ฟัง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำของพระองค์ผู้เป็นนาคแล้ว จักหลีกไปแต่ที่นี้.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๑๘]ข้าแต่พระองค์ผู้กล้า ชนต่างๆมาแต่ชนบททั้งหลายประชุม[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    กันแล้ว หวังอยู่ซึ่งพระดำรัสของพระองค์. ขอพระองค์ทรง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พยากรณ์ด้วยดีแก่ชนเหล่านั้น. เพราะว่าธรรมนั้น พระองค์[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ทรงทราบแล้วอย่างแท้จริง.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๑๙]กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร คฤหสถ์ บรรพชิต เทวดาและมนุษย์ ชื่อว่า[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ชนต่างๆในอุเทศว่า นานาชนา ชนปเทหิ สงฺคตา ดังนี้.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำว่า มาแต่ชนบททั้งหลายประชุมกันแล้ว คือ มาแต่อังคะ มคธะ กาสี โกศล วัชชี[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    มัลละ เจดีย์ สาคระ ปัญจาละ อวันตี โยนะ และกัมโพช.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำว่า ประชุมกันแล้ว คือ ถึงพร้อม มาพร้อม มาร่วมประชุมกันแล้ว เพราะฉะนั้น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    จึงชื่อว่า ชนต่างๆมาแต่ชนบททั้งหลาย ประชุมกันแล้ว.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๐]พระผู้มีพระภาคทรงเป็นผู้กล้า จึงชื่อว่า วีระ ในอุเทศว่า ตว วีร วากฺยํ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    อภิกงฺขมานา ดังนี้ พระผู้มีพระภาคทรงมีความเพียร เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า วีระ. พระผู้มีพระภาค[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เป็นผู้องอาจ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า วีระ. พระผู้มีพระภาคทรงให้ผู้อื่นมีความเพียร เพราะฉะนั้น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    จึงชื่อว่า วีระ. พระผู้มีพระภาคผู้สามารถ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า วีระ. พระผู้มีพระภาคปราศจาก[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ความเป็นผู้มีขนลุกขนพอง เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า วีระ.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระผู้มีพระภาค ทรงเว้นแล้วจากบาปธรรมทั้งปวงในโลกนี้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ล่วงเสียแล้วซึ่งทุกข์ในนรก ทรงอยู่ด้วยความเพียร. พระองค์[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ทรงมีวิริยะ มีปธาน ทรงแกล้วกล้า เป็นผู้คงที่ ท่านกล่าว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ว่า มีพระหฤทัยเป็นอย่างนั้น.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ข้าแต่พระองค์ผู้กล้า ... ของพระองค์.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    คำว่า หวังอยู่ซึ่งพระดำรัส ความว่า พระดำรัส ทางแห่งพระดำรัส เทศนา อนุสนธิ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ของพระองค์.
    คำว่า หวังอยู่ คือ มุ่ง หวัง ปรารถนา ยินดี ประสงค์ รักใคร่ ชอบใจ เพราะฉะนั้น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    จึงชื่อว่า ข้าแต่พระองค์ผู้กล้า หวังอยู่ซึ่งพระดำรัสของพระองค์.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o></o>[/FONT]
    หน้าที่๑๕๘.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๑]คำว่า เตสํ ในอุเทศว่า เตสํ ตฺวํ สาธุ วิยากโรหิ ดังนี้ คือ กษัตริย์[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พราหมณ์ แพศย์ ศูทร คฤหัสถ์ บรรพชิต เทวดา มนุษย์เหล่านั้น พราหมณ์นั้นย่อมทูล[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    พระผู้มีพระภาคว่า ตุวํ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า ขอพระองค์ทรงพยากรณ์ด้วยดี คือ ขอพระองค์ตรัสบอก ... ขอทรงประกาศด้วยดี[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ขอพระองค์ทรงพยากรณ์ด้วยดี.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๒]คำว่า เพราะว่าธรรมนั้นอันพระองค์ทรงทราบแล้วอย่างแท้จริง ความว่า เพราะ[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ว่าธรรมนั้นอันพระองค์ทรงทราบ ทรงรู้ ทรงเทียบเคียง ทรงพิจารณา เจริญ ให้แจ่มแจ้งแล้ว[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    อย่างแท้จริง เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เพราะว่าธรรมนั้นอันพระองค์ทรงทราบแล้วอย่างแท้จริง.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เพราะเหตุนั้น พราหมณ์นั้นจึงกล่าวว่า[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ข้าแต่พระองค์ผู้กล้า ชนต่างๆมาแต่ชนบททั้งหลาย ประชุม[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    กันแล้ว หวังอยู่ซึ่งพระดำรัสของพระองค์. ขอพระองค์ทรง[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    พยากรณ์ด้วยดีแก่ชนเหล่านั้น เพราะว่าธรรมนั้นอันพระองค์[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ทรงทราบแล้วอย่างแท้จริง.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๓][FONT=&quot] ([/FONT]พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรภัทราวุธะ) หมู่สัตว์พึง[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    นำเสียซึ่งตัณหาเครื่องยึดถือทั้งหมด ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    หรือแม้ชั้นกลางส่วนกว้าง. เพราะว่าสัตว์ทั้งหลายย่อมเข้า[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ไปถือรูปาทิขันธ์ใดๆในโลก มารย่อมไปตามสัตว์ด้วย[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    อำนาจอภิสังขาร คือ กรรมนั้นนั่นแล.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๔]ตัณหาในรูป ตรัสว่า ตัณหาเครื่องยึดถือ ในอุเทศว่า อาทานตณฺหํ วินเยถ[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    สพฺพํ ดังนี้.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เหตุไร ตัณหาในรูปจึงตรัสว่า ตัณหาเครื่องยึดถือ. เพราะตัณหานั้น สัตว์ทั้งหลายจึง[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ยึดถือ เข้าไปยึดถือ ยึดไว้ จับต้อง ถือมั่น ซึ่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ คติ[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    อุปบัติ ปฏิสนธิ ภพ สงสาร วัฏฏะ เพราะเหตุนั้น ตัณหาในรูปจึงตรัสว่า ตัณหาเครื่องยึดถือ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า พึงนำเสียซึ่งตัณหาเครื่องยึดถือทั้งหมด ความว่า พึงนำเสีย ปราบเสีย ละเสีย[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    บรรเทาเสีย พึงทำให้สิ้นสุด ให้ถึงความไม่มี ซึ่งตัณหาเครื่องยึดถือทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    พึงนำเสียซึ่งตัณหาเครื่องยึดถือทั้งหมด.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o>:p></o>:p>[/FONT]
    หน้าที่๑๕๙.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพราหมณ์นั้นโดยชื่อว่า ภัทราวุธะ ในอุเทศว่า ภทฺราวุธาติ[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ภควา ดังนี้.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า ภควา นี้ เป็นเครื่องกล่าวโดยเคารพ ฯลฯ คำว่า ภควา นี้ เป็นสัจฉิกาบัญญัติ[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ว่า ดูกรภัทราวุธะ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๕]อนาคต ตรัสว่า เบื้องบน ในอุเทศว่า อุทฺธํ อโธ ติริยํ วาปิ มชฺเฌ ดังนี้.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    อดีต ตรัสว่า เบื้องต่ำ. ปัจจุบัน ตรัสว่า ชั้นกลางส่วนกว้าง. กุศลธรรมตรัสว่า เบื้องบน.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    อกุศลธรรมตรัสว่า เบื้องต่ำ. อัพยากตธรรมตรัสว่า ชั้นกลางส่วนกว้าง. เทวโลก ตรัสว่า[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เบื้องบน. อบายโลก ตรัสว่า เบื้องต่ำ. มนุษยโลก ตรัสว่า ชั้นกลางส่วนกว้าง. สุขเวทนา[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ตรัสว่า เบื้องบน. ทุกขเวทนา ตรัสว่า เบื้องต่ำ. อทุกขมสุขเวทนา ตรัสว่า ชั้นกลางส่วนกว้าง.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    อรูปธาตุ ตรัสว่า เบื้องบน. กามธาตุ ตรัสว่า เบื้องต่ำ. รูปธาตุ ตรัสว่า ชั้นกลางส่วนกว้าง.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เบื้องบนตั้งแต่พื้นเท้าขึ้นไป ตรัสว่า เบื้องบน. เบื้องต่ำตั้งแต่ปลายผมลงมา ตรัสว่า เบื้องต่ำ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ท่ามกลางตรัสว่า ชั้นกลางส่วนกว้าง. เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ หรือแม้[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ชั้นกลางส่วนกว้าง.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๖]คำว่า สัตว์ทั้งหลายย่อมเข้าไปยึดถือรูปาทิขันธ์ใดๆ ในโลก ความว่า สัตว์[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ทั้งหลายย่อมยึดถือ คือ เข้าไปยึดถือ ถือไว้ จับต้อง ถือมั่น ซึ่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    วิญญาณใดๆ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า ในโลก คือ ในอบายโลก ฯลฯ อายตนโลก เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า สัตว์ทั้งหลาย[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ย่อมเข้าไปยึดถือรูปาทิขันธ์ใดๆในโลก.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๗]คำว่า มารย่อมไปตามสัตว์ด้วยอำนาจอภิสังขาร คือ กรรมนั้นนั่นแล ความว่า[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ขันธมาร ธาตุมาร อายตนมาร คติมาร อุปบัติมาร ปฏิสนธิมาร ภวมาร สังสารมาร วัฏฏมาร[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    อันมีในปฏิสนธิ ย่อมไปตาม คือ ตามไป เป็นผู้ติดตามไป ด้วยอำนาจอภิสังขาร คือ กรรมนั้น[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    นั่นแล.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า ชนฺตุ คือ สัตว์ นระ มาณพ บุรุษ บุคคล ชีวชน ชาตุชน ชันตุชน อินทคูชน[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ผู้เกิดจากพระมนู เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า มารย่อมไปตามสัตว์ด้วยอำนาจอภิสังขาร คือกรรมนั้น[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    นั่นแล. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o>:p></o>:p>[/FONT]
    หน้าที่๑๖๐.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    หมู่สัตว์พึงนำเสียซึ่งตัณหาเครื่องยึดถือทั้งหมด ทั้งเบื้องบน[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เบื้องต่ำ หรือแม้ชั้นกลางส่วนกว้าง. เพราะว่าสัตว์ทั้งหลาย[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ย่อมเข้าไปถือรูปาทิขันธ์ใดๆในโลก มารย่อมไปตามสัตว์[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ด้วยอำนาจอภิสังขารคือกรรมนั้นนั่นแล.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๘]เพราะเหตุนั้น ภิกษุรู้อยู่ เมื่อเห็นซึ่งหมู่สัตว์นี้ผู้ข้องอยู่ใน[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    บ่วงแห่งมัจจุว่า เป็นผู้ติดอยู่ในรูปาทิขันธ์เครื่องยึดถือ พึง[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เป็นผู้มีสติไม่เข้าไปยึดถืออะไรๆในโลกทั้งปวง.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๙]คำว่า เพราะเหตุนั้น ... เมื่อรู้อยู่ ... ไม่พึงเข้าไปยึดถือ ความว่า เพราะเหตุนั้น[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คือ เพราะการณะนั้น เพราะเหตุนั้น เพราะปัจจัยนั้น เพราะนิทานนั้น ภิกษุเมื่อเห็นโทษนี้ใน[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ตัณหาเครื่องยึดถือ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เพราะเหตุนั้น.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า รู้อยู่ คือ รู้ รู้ชัด รู้ทั่ว รู้แจ้ง รู้แจ้งเฉพาะ แทงตลอด เมื่อรู้ รู้ชัด รู้ทั่ว[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    รู้แจ้ง รู้แจ้งเฉพาะ แทงตลอดว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ฯลฯ สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็น[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า ไม่พึงเข้าไปยึดถือ คือ ไม่พึงยึดถือ ไม่พึงเข้าไปยึดถือ ไม่พึงถือไว้ ไม่พึงจับต้อง[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ไม่พึงถือมั่น ซึ่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ คติ อุปบัติ ปฏิสนธิ ภพ สงสาร[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    วัฏฏะ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เพราะเหตุนั้น ... เมื่อรู้อยู่ ไม่พึงเข้าไปยึดถือ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๓๐]ภิกษุผู้เป็นกัลยาณปุถุชนก็ดี ภิกษุผู้เป็นพระเสขะก็ดี ชื่อว่า ภิกษุ ในอุเทศว่า[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ภิกฺขุ สโต กิญฺจนํ สพฺพโลเก ดังนี้ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภิกษุ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า เป็นผู้มีสติ ความว่า มีสติด้วยเหตุ ๔ ประการ คือ มีสติเจริญสติปัฏฐาน[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เครื่องพิจารณาเห็นกายในกาย ฯลฯ ภิกษุนั้นตรัสว่า มีสติ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภิกษุ ...[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เป็นผู้มีสติ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า อะไรๆคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อะไรๆ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า ในโลกทั้งปวง คือ ในอบายโลกทั้งปวง ในเทวโลกทั้งปวง ในมนุษยโลกทั้งปวง[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ในขันธโลกทั้งปวง ในอายตนโลกทั้งปวง ในธาตุโลกทั้งปวง เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ภิกษุ ...[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เป็นผู้มีสติ ... อะไรๆในโลกทั้งปวง.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<o>:p></o>:p>[/FONT]
    หน้าที่๑๖๑.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๓๑]คำว่า ... เมื่อเห็น ... ว่าติดอยู่ในรูปาทิขันธ์เครื่องยึดถือ ความว่า สัตว์เหล่าใด[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ย่อมยึดถือ เข้าไปยึดถือ ถือไว้ จับต้อง ถือมั่น ซึ่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คติ อุปบัติ ปฏิสนธิ ภพ สงสาร วัฏฏะ สัตว์เหล่านั้นตรัสว่า ติดอยู่ในรูปาทิขันธ์เครื่อง[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ยึดถือ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า อิติ เป็นบทสนธิ. ฯลฯ คำว่า อิติ นี้ เป็นไปตามลำดับบท.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    คำว่า เมื่อเห็น คือ เมื่อพบ เมื่อแลเห็น เมื่อตรวจดู เมื่อเพ่งดู เมื่อพิจารณาอยู่[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ... เมื่อเห็น ... ว่าติดอยู่ในรูปาทิขันธ์ เครื่องยึดถือ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๓๒]คำว่า ปชํ เป็นชื่อของสัตว์ ในอุเทศว่า ปชํ อิมํ มจฺจุเธยฺเย วิสตฺตํ ดังนี้.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    กิเลสก็ดี ขันธ์ก็ดี อภิสังขารก็ดี ตรัสว่า บ่วงแห่งมัจจุ ในคำว่า มจฺจุเธยฺเย. หมู่สัตว์[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ข้อง เกี่ยวข้อง เกาะเกี่ยว พัวพัน ในบ่วงแห่งมัจจุ คือ ในบ่วงแห่งมาร ในบ่วงแห่งมรณะ.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    สิ่งของข้องเกี่ยวอยู่ เกี่ยวเกาะ พันอยู่ที่ตาปูติดฝา หรือที่ไม้นาคพันธ์ (ท่อนไม้โอนเหมือน[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    งาช้าง) ฉันใด หมู่สัตว์ข้อง เกี่ยวข้อง เกาะเกี่ยว พัวพัน ในบ่วงแห่งมัจจุ คือ ในบ่วง[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    แห่งมาร ในบ่วงแห่งมรณะ ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ... หมู่สัตว์นี้ข้องอยู่ใน[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    บ่วงมัจจุ. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    เพราะเหตุนั้น ภิกษุรู้อยู่ เมื่อเห็นซึ่งหมู่สัตว์นี้ผู้ข้องอยู่ในบ่วง[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    แห่งมัจจุว่า เป็นผู้ติดอยู่ในรูปาทิขันธ์เครื่องยึดถือ พึงเป็นผู้มีสติ[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ไม่เข้าไปยึดถืออะไรๆ ในโลกทั้งปวง.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    พร้อมด้วยเวลาจบพระคาถา ฯลฯ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเป็นศาสดาของ[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    ข้าพระองค์. ข้าพระองค์เป็นสาวก ฉะนี้แล.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    จบ ภัทราวุธมาณวกปัญหานิทเทสที่ ๑๒.[FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
     
  15. gnip

    gnip สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2008
    โพสต์:
    144
    ค่าพลัง:
    +14
    ปริศนาธรรมที่ 3 มนุษย์ เมื่อพิจารณาไปถึงมนุษย์(แทน รูป-นาม) แบ่งได้เป็น 2 ข้อตามความคิดเห็นส่วนตัวดังนี้ <!--[if !supportLists]-->3.1 กำเนิดชีวิตพระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ว่า "เพราะมีความอยาก จึงมีการเกิดเป็นสัตว์เป็นบุคคลขึ้นมา
    เมื่อไม่มีความอยากการเกิดเป็นสัตว์เป็นบุคคลก็ไม่มี"
    <!--[endif]--><o></o>
    [FONT=&quot]
    ดังพระอัคคัญญสูตร ว่าด้วยเรื่องกำเนิดของมนุษย์[/FONT]
    [FONT=&quot]หน้า ๖๑ เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก[/FONT][FONT=&quot]ทีฆนิกาย[/FONT]<o></o>

    ๔. อัคคัญญสูตร
    <o></o>
    [FONT=&quot]ว่าด้วยบุตรเกิดแต่พระอุระพระโอฐพระผู้มีพระภาค[/FONT]<o></o>

    [๕๕] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสต่อไปว่า ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ เธอทั้งสองคนมีชาติก็ต่างกัน มีชื่อก็เพี้ยนกัน มีโคตรก็แผกกัน มีตระกูลก็ผิดกัน พากันทิ้งเหย้าเรือนเสีย มาบวชเป็นบรรพชิต เมื่อจะมีผู้ถามว่า ท่านทั้งสองนี้เป็น พวกไหน เธอทั้งสองพึงตอบเขาว่าข้าพเจ้าทั้งสองเป็นพวกพระสมณศากยบุตร ดังนี้เถิด ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ก็ผู้ใดแลมีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดามาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระเกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรม เนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่าพรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต ฯ<o></o>
    [๕๖] ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ มีสมัยบางครั้งบางคราว โดยล่วง ระยะกาลยืดยาวช้านานที่โลกนี้จะพินาศ เมื่อโลกกำลังพินาศอยู่ โดยมากเหล่า สัตว์ย่อมเกิดในชั้นอาภัสสรพรหม สัตว์เหล่านั้นได้สำเร็จทางใจ มีปีติเป็นอาหาร มีรัศมีซ่านออกจากกายตนเองสัญจรไปได้ในอากาศ อยู่ในวิมานอันงาม สถิต อยู่ในภพนั้นสิ้นกาลยืดยาวช้านาน ดูกรวาเสฏฐะ และภารทวาชะ มีสมัยบางครั้ง บางคราว โดยระยะกาลยืดยาวช้านาน ที่โลกนี้จะกลับเจริญเมื่อโลกกำลังเจริญ อยู่โดยมาก เหล่าสัตว์พากันจฺติจากชั้นอาภัสสรพรหมลงมาเป็นอย่างนี้ และสัตว์นั้น ได้สำเร็จทางใจ มีปีติเป็นอาหาร มีรัศมีซ่านออกจากกายตนเอง สัญจรไปได้ในอากาศอยู่ในวิมานอันงาม สถิตอยู่ในภพนั้นสิ้นกาลยืดยาวช้านาน ก็แหละ สมัยนั้นจักรวาลทั้งสิ้นนี้แลเป็นน้ำทั้งนั้น มืดมนแลไม่เห็นอะไร ดวงจันทร์และ ดวงอาทิตย์ก็ยังไม่ปรากฎ ดวงดาวนักษัตรทั้งหลายก็ยังไม่ปรากฎ กลางวันกลาง คืนก็ยังไม่ปรากฎ เดือนหนึ่งและกึ่งเดือนก็ยังไม่ปรากฎฤดูและปีก็ยังไม่ปรากฎ เพศชายและเพศหญิงก็ยังไม่ปรากฎ สัตว์ทั้งหลาย ถึงซึ่งอันนับเพียงว่าสัตว์เท่า นั้น ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ครั้นต่อมา โดยล่วงระยะกาลยืดยาวช้านาน เกิดง้วนดินลอยอยู่บนน้ำทั่วไป ได้ปรากฎแก่สัตว์เหล่านั้นเหมือนนมสดที่บุคคลเคี่ยว ให้งวด แล้วตั้งไว้ให้เย็นจับเป็นฝาอยู่ข้างบน ฉะนั้นง้วนดินนั้นถึงพร้อมด้วยสี กลิ่น รส มีสีคล้ายเนยใสหรือเนยข้นอย่างดี ฉะนั้น มีรสอร่อยดุจรวงผึ้ง เล็กอันหาโทษมิได้ ฉะนั้น ฯ<o></o>
    ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ต่อมามีสัตว์ผู้หนึ่งเป็นคนโลนพูดว่า ท่านผู้เจริญทั้งหลายนี่จักเป็นอะไร แล้วเอานิ้วช้อนง้วนดินขึ้นลองลิ้มดู เมื่อเขาเอานิ้วช้อนง้วนดินขึ้นลองลิ้มดูอยู่ง้วนดินได้ซาบซ่านไปแล้ว เขาจึงเกิดความอยาก ขึ้น ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ แม้สัตว์พวกอื่นก็พากันกระทำตามอย่างสัตว์นั้น เอานิ้วช้อนง้วนดินขึ้นลองลิ้มดู เมื่อสัตว์เหล่านั้นพากันเอานิ้วช้อนง้วนดินขึ้นลองลิ้มดูอยู่ ง้วนดินได้ซาบซ่านไปแล้ว สัตว์เหล่านั้นจึงเกิดความอยากขึ้นต่อมาสัตว์ เหล่านั้นพยายามเพื่อจะปั้นง้วนดินให้เป็นคำๆ ด้วยมือแล้วบริโภค ดูกรเสฏฐะและภารทวาชะ ในคราวที่พวกสัตว์พยายามเพื่อจะปั้นง้วนดินให้เป็นคำๆ ด้วยมือแล้วบริโภคอยู่นั้น เมื่อรัศมีกายของสัตว์เหล่านั้นก็หายไปแล้ว ดวงจันทร์และดวง อาทิตย์ก็ปรากฏ เมื่อดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ปรากฏแล้ว ดวงดาวนักษัตรทั้งหลาย ก็ปรากฏ เมื่อดวงดาวนักษัตรปรากฏแล้ว กลางคืนและกลางวันก็ปรากฏ เมื่อ กลางคืนและกลางวันปรากฏแล้วเดือนหนึ่งและกึ่งเดือนก็ปรากฏ เมื่อเดือนหนึ่ง และกึ่งเดือนปรากฏอยู่ ฤดูและปีก็ปรากฏดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ด้วย เหตุเพียงเท่านี้แล โลกนี้จึงกลับเจริญขึ้นมาอีก ฯ<o>:p></o>:p>
    [๕๗] ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ครั้นต่อมาสัตว์เหล่านั้นพากันบริโภคง้วนดินรับประทานง้วนดิน มีง้วนดินเป็นอาหาร ดำรงอยู่ได้สิ้นกาลช้านาน ด้วยเหตุที่สัตว์เหล่านั้นมัวเพลินบริโภคง้วนดินอยู่ รับประทานง้วนดิน มีง้วนดิน เป็นอาหาร ดำรงอยู่ได้สิ้นกาลช้านาน สัตว์เหล่านั้นจึงมีร่างกายแข็งกล้าขึ้นทุกที ทั้ง ผิวพรรณก็ปรากฏว่าแตกต่างกันไป สัตว์บางพวกมีผิวพรรณงาม สัตว์บางพวกมี ผิวพรรณไม่งาม ในสัตว์ทั้งสองพวกนั้น สัตว์พวกที่มีผิวพรรณงามนั้นพากันดูหมิ่น สัตว์พวกที่มีผิวพรรณไม่งามว่า พวกเรามีผิวพรรณดีกว่าพวกท่าน พวกท่านมีผิวพรรณเลวกว่าพวกเรา ดังนี้ เมื่อสัตว์ทั้งสองพวกนั้นเกิดมีการไว้ตัวดูหมิ่นกันขึ้น เพราะทะนงตัวปรารภผิวพรรณเป็นปัจจัย ง้วนดินก็หายไป เมื่อง้วนดินหายไปแล้ว สัตว์เหล่านั้นจึงพากันจับกลุ่ม ครั้นแล้ว ต่างก็บ่นถึงกันว่า รสดีจริง รสดีจริง ดังนี้ ถึงทุกวันนี้ก็เหมือนกัน คนเป็นอันมากได้ของที่มีรสดีอย่างใดอย่างหนึ่ง มักพูดกันอย่างนี้ว่า รสอร่อยแท้ๆรสอร่อยแท้ๆ ดังนี้ พวกพราหมณ์ ระลึกได้ถึงอักขระ ที่รู้กันว่าเป็นของดี เป็นของโบราณนั้นเท่านั้นแต่ไม่รู้ชัดถึง เนื้อความแห่งอักขระนั้นเลย ฯ<o></o>
    [FONT=&quot]
    ว่าด้วยกระบิดินเป็นต้นเกิดขึ้น[/FONT]<o></o>


    [๕๘] ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ครั้นต่อมา เมื่อง้วนดินของสัตว์ เหล่านั้นหายไปแล้วก็เกิดมีกระบิดินขึ้น กระบิดินนั้นปรากฏลักษณะคล้ายเห็ด กระบิดินนั้นถึงพร้อมด้วยสี กลิ่นรส มีสีเหมือนเนยใส หรือเนยข้นอย่างดีฉะนั้น ได้มีรสอร่อยดุจรวงผึ้งเล็กอันหาโทษมิได้ฉะนั้นดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ครั้งนั้น สัตว์เหล่านั้นพยายามจะบริโภคกระบิดิน สัตว์เหล่านั้นบริโภคกระบิดินอยู่ รับประทานกระบิดิน มีกระบิดินเป็นอาหาร ดำรงอยู่ได้สิ้นกาลนาน ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ โดยประการที่สัตว์เหล่านั้นบริโภคกระบิดินอยู่ รับประทานกระบิดินมีกระบิดินเป็นอาหาร ดำรงอยู่ได้สิ้นกาลช้านาน สัตว์เหล่านั้นจึงมีร่างกายแข็งกล้า ขึ้นทุกทีทั้งผิวพรรณก็ปรากฏว่าแตกต่างกันไป สัตว์บางพวกมีผิวพรรณงาม สัตว์บางพวกมีผิวพรรณไม่งาม<o></o>
    ในสัตว์ทั้งสองจำพวกนั้น สัตว์พวกที่มีผิวพรรณงาม พากันดูหมิ่นสัตว์พวกที่มีผิวพรรณไม่งามว่าพวกเรามีผิวพรรณดีกว่าพวกท่าน พวกท่านมีผิวพรรณเลวกว่าพวกเรา ดังนี้ เมื่อสัตว์ทั้งสองพวกนั้น เกิดมีการไว้ตัวดูหมิ่นกันขึ้น เพราะทะนงตัวปรารภผิวพรรณเป็นปัจจัย กระบิดินก็หายไป เมื่อกระบิ ดินหายไปแล้ว ก็เกิดมีเครือดินขึ้น เครือดินนั้นปรากฏคล้ายผลมะพร้าวทีเดียว เครือดินนั้น ถึงพร้อมด้วยสี รส กลิ่น มีสีคล้ายเนยใส หรือเนยข้นอย่างดี ฉะนั้นได้มีรสอร่อยดุจรวงผึ้งเล็กอันหาโทษมิได้ฉะนั้น ฯ<o></o>
    ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ครั้งนั้น สัตว์เหล่านั้นพยายามจะบริโภค เครือดินสัตว์เหล่านั้นบริโภคเครือดินอยู่ รับประทานเครือดิน มีเครือดินเป็นอาหาร ดำรงมาได้สิ้นกาลช้านาน โดยประการที่สัตว์เหล่านั้นบริโภคเครือดินอยู่ รับประทานเครือดิน มีเครือดินนั้นเป็นอาหารดำรงมาได้สิ้นกาลช้านาน สัตว์เหล่านั้นจึงมีร่างกายแข็งกล้าขึ้นทุกที ทั้งผิวพรรณก็ปรากฏว่าแตกต่างกันไป สัตว์บางพวกมีผิวพรรณงาม สัตว์บางพวกมีผิวพรรณไม่งาม ในสัตว์ทั้งสองพวกนั้นสัตว์พวกที่มีผิวพรรณงาม พากันดูหมิ่นพวกที่มีผิวพรรณไม่งามว่า พวกเรามี ผิวพรรณดีกว่าพวกท่านพวกท่านมีผิวพรรณเลวกว่าพวกเราดังนี้ เมื่อสัตว์ทั้งสองพวกนั้นเกิดมีการไว้ตัวดูหมิ่นกันเพราะทะนงตัวปรารภผิวพรรณเป็นปัจจัย เครือดินก็หายไป เมื่อเครือดินหายไปแล้ว สัตว์เหล่านั้นก็พากันจับกลุ่ม ครั้นแล้วต่างก็บ่นถึงกันว่า เครือดินได้เคยมีแก่พวกเราหนอ เดี๋ยวนี้เครือดินของพวกเราได้สูญหายเสียแล้วหนอ ดังนี้ ถึงทุกวันนี้ก็เหมือนกัน คนเป็นอันมากพอถูกความระทมทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งมากระทบ ก็มักบ่นกันอย่างนี้ว่า สิ่งของของเราทั้งหลายได้เคยมีแล้วหนอ แต่เดี๋ยวนี้สิ่งของของเราทั้งหลายได้มาสูญหายเสียแล้วหนอดังนี้ พวกพราหมณ์ระลึกได้ถึงอักขระที่รู้กันว่าเป็นของดีเป็นของโบราณนั้นเท่านั้นแต่ไม่รู้ชัดถึงเนื้อความแห่งอักขระนั้นเลย ฯ<o></o>
    [๕๙] ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ครั้นต่อมา เมื่อเครือดินของสัตว์เหล่านั้นหายไปแล้ว ก็เกิดมีข้าวสาลีขึ้นเองในที่ที่ไม่ต้องไถ เป็นข้าวไม่มีรำ ไม่มี แกลบ ขาวสะอาด กลิ่นหอมมีเมล็ดเป็นข้าวสาร ตอนเย็นสัตว์เหล่านั้นนำเอา ข้าวสาลีชนิดใดมาเพื่อบริโภคในเวลาเย็นตอนเช้าข้าวสาลีชนิดนั้นที่มีเมล็ดสุกก็งอกขึ้นแทนที่ ตอนเช้าเขาพากันไปนำเอาข้าวสาลีใดมาเพื่อบริโภคในเวลาเช้า ตอนเย็นข้าวสาลีชนิดนั้นที่มีเมล็ดสุกแล้วก็งอกขึ้นแทนที่ ไม่ปรากฏว่าบกพร่อง ไปเลย ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ครั้งนั้นพวกสัตว์บริโภคข้าวสาลีที่เกิด ขึ้นเองในที่ที่ไม่ต้องไถ พากันรับประทานข้าวสาลีนั้น มีข้าวสาลีนั้นเป็นอาหาร ดำรงมาได้สิ้นกาล<o></o>
    ช้านาน ก็โดยประการที่สัตว์เหล่านั้นบริโภคข้าวสาลีอันเกิดขึ้นเองอยู่ รับประทานข้าวสาลีนั้นมีข้าวสาลีนั้นเป็นอาหาร ดำรงมาได้สิ้นการช้านาน สัตว์เหล่านั้นจึงมีร่างกายแข็งกล้าขึ้นทุกทีทั้งผิวพรรณก็ปรากฏว่าแตกต่าง กันออกไป สตรีก็มีเพศหญิงปรากฏ และบุรุษก็มีเพศชายปรากฏนัยว่า สตรีก็เพ่งดูบุรุษอยู่เสมอ และบุรุษก็เพ่งดูสตรีอยู่เสมอ เมื่อคนทั้งสองเพศต่างก็เพ่งดูกันอยู่เสมอ ก็เกิดความกำหนัดขึ้น เกิดความเร่าร้อนขึ้นในกาย เพราะความเร่าร้อนเป็นปัจจัยเขาทั้งสองจึงเสพเมถุนธรรมกัน ฯ<o>:p></o>:p>
    ดูกรวาเสฏฐะและภารทวาชะ ก็โดยสมัยนั้นแล สัตว์พวกใดเห็นพวกอื่นเสพเมถุนธรรมกันอยู่ ย่อมโปรยฝุ่นใส่บ้าง โปรยเถ้าใส่บ้าง โยนมูลโคใส่บ้าง พร้อมกับพูดว่าคนชาติชั่ว จงฉิบหาย คนชาติชั่ว จงฉิบหาย ดังนี้ แล้วพูดต่อไปว่า ก็ทำไมขึ้นชื่อว่าสัตว์จึงทำแก่สัตว์เช่นนี้เล่า ข้อที่ว่ามานั้น จึงได้ เป็นธรรมเนียมมาจนถึงทุกวันนี้ ในชนบทบางแห่งคนทั้งหลาย โปรยฝุ่นใส่ บ้าง โปรยเถ้าใส่บ้าง โยนมูลโคใส่บ้าง ในเมื่อเขาจะนำสัตว์ที่ประพฤติชั่วร้าย ไปสู่ตะแลงแกง พวกพราหมณ์มาระลึกถึงอักขระที่รู้กันว่าเป็นของดี อันเป็นของ โบราณนั้นเท่านั้น แต่พวกเขาไม่รู้ชัดถึงเนื้อความแห่งอักขระนั้นเลย ฯ<o></o>
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    <!--[if !supportLists]-->3.2<!--[endif]-->[FONT=&quot] ในเรื่องสังสารวัฏ[/FONT][FONT=&quot]หรือวัฏสงสารที่เป็นห้วงทุกข์ที่เราต่างท่องเที่ยวไปเป็นเวลานับชาติไม่ถ้วน สำหรับเรื่องนี้พระพุทธองค์ได้ตรัสไว้ดังนี้ค่ะ[/FONT]
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]--><o></o>


    " [FONT=&quot]สังสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้[/FONT][FONT=&quot]เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็นที่กางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบไว้[/FONT][FONT=&quot]ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฏ ฯ"[/FONT]
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    สังสารวัฏ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    สังสาร หรือ สงสาร แปลว่า ความท่องเที่ยวไป ในทางพุทธศาสนาหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด มิใช่หมายถึงความรู้สึกหวั่นไหวด้วยความกรุณาเมื่อเห็นผู้อื่นได้รับความทุกข์
    สังสารวัฏ แปลว่า ความท่องเที่ยวไปในอาการที่เป็นวัฏฏะ การหมุนวนอยู่ในสงสาร คือการเวียนว่ายตายเกิด เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัฏสงสาร
    สงสารวัฏ หมายถึงการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพภูมิต่างๆ ของสัตว์โลกด้วยอำนาจกิเลส กรรม วิบาก หมุนวนอยู่เช่นนั้นตราบเท่าที่ยังตัดกิเลส กรรม วิบากไม่ได้
    [แก้] วัฏฏะ

    วัฏฏะ คือความวน หรือความเวียน ตามหลักธรรมในพุทธศาสนา มีสามอย่างคือ

    • [FONT=&quot]กิเลสวัฏฏะ วนคือกิเลส[/FONT]
    • [FONT=&quot]กรรมวัฏฏะ วนคือกรรม[/FONT]
    • [FONT=&quot]วิบากวัฏฏะ วนคือวิบาก ผลของกรรม[/FONT]
    อันหมายความว่า
    กิเลสก็เป็นเหตุให้ทำกรรม กิเลสจึงเป็นเหตุ กรรมจึงเป็นผลของกิเลส
    และกรรมนั้นเอง ก็เป็นตัวเหตุ ให้เกิดวิบากคือผล กรรมจึงเป็นเหตุ วิบากจึงเป็นผล
    และวิบากนั้นเอง ก็เป็นตัวเหตุ ก่อกิเลสขึ้นอีก เมื่อเป็นดังนี้ วิบากนั้นก็เป็นเหตุ กิเลสก็เป็นผลของวิบาก
    เพราะฉะนั้นกิเลส กรรม วิบาก จึงวนอยู่ดั่งนี้ ก็โดยที่บุคคลนี้เอง หรือจิตนี้เองที่วนอยู่ในกิเลส กรรม วิบาก แล้วก็กลับเป็นเหตุก่อกิเลส กรรม วิบากขึ้นอีก
    สัตว์และบุคคลจึงวนเวียนอยู่ในกิเลส กรรม วิบาก ทั้งสามนี้ เป็น วัฏฏะ
    กิเลส(แปลว่าสิ่งเกาะติด) และตัณหา(หมายถึงความติดใจอยาก) เป็นสิ่งที่แฝงติดอยู่ในใจ แล้วทำให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัว ตัณหาเป็นต้นเหตุทำให้เกิดทุกข์ เมื่อดับตัณหาเสียได้ ก็เป็นอันว่าหักวัฏฏะดังกล่าวได้ ดับกิเลส ดับทุกข์ทางจิตใจในปัจจุบัน และเมื่อดับขันธ์ในที่สุด ไม่เกิดอีก ดับรอบสิ้นทุกข์ด้วยประการทั้งปวง
    [แก้] อ้างอิง


    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น



    [FONT=&quot]อ่านเพิ่มเติมได้ที่พระสูตรดังนี้[/FONT]

    ๑. ติณกัฏฐสูตร[FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-[FONT=&quot]
    [/FONT]
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ภิกษุทั้งหลาย ... แล้วได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้น[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เบื้องปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็นที่กางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฏ ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหมือนอย่างว่า บุรุษตัดทอนหญ้า ไม้[FONT=&quot]
    [/FONT]
    กิ่งไม้ ใบไม้ ในชมพูทวีปนี้ แล้วจึงรวมกันไว้ ครั้นแล้ว พึงกระทำให้เป็น[FONT=&quot]
    [/FONT]
    มัดๆ ละ ๔ นิ้ว วางไว้ สมมติว่า นี้เป็นมารดาของเรา นี้เป็นมารดาของมารดา[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ของเรา โดยลำดับ มารดาของมารดาแห่งบุรุษนั้นไม่พึงสิ้นสุด ส่วนว่า หญ้า[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ไม้ กิ่งไม้ ใบไม้ ในชมพูทวีปนี้ พึงถึงการหมดสิ้นไป ข้อนั้นเพราะเหตุไร[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เพราะว่า สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชา[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เป็นที่กางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ที่สุดเบื้องต้น[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ย่อมไม่ปรากฏ พวกเธอได้เสวยทุกข์ ความเผ็ดร้อน ความพินาศ ได้เพิ่มพูน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ปฐพีที่เป็นป่าช้า ตลอดกาลนาน เหมือนฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เหตุเพียง[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เท่านี้ พอทีเดียวเพื่อจะเบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด พอเพื่อ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    จะหลุดพ้น ดังนี้ ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    จบสูตรที่ ๑[FONT=&quot]

    [/FONT]
    ๒. ปฐวีสูตร[FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๓] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ภิกษุทั้งหลาย ... แล้วได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้น[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เบื้องปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็นที่กางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฏ ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหมือนอย่างว่า บุรุษปั้นมหาปฐพีนี้ให้เป็น[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ก้อน ก้อนละเท่าเม็ดกระเบาแล้ววางไว้ สมมติว่า นี้เป็นบิดาของเรา นี้เป็นบิดา[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ของบิดาของเรา โดยลำดับ บิดาของบิดาแห่งบุรุษนั้นไม่พึงสิ้นสุด ส่วนมหาปฐพี[FONT=&quot]
    [/FONT]
    นี้ พึงถึงการหมดสิ้นไป ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่า สงสารนี้กำหนดที่สุด[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ ฯลฯ ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฏ พวกเธอได้เสวย[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ทุกข์ ความเผ็ดร้อน ความพินาศ ได้เพิ่มพูนปฐพีที่เป็นป่าช้า ตลอดกาลนาน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เหมือนฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เหตุเพียงเท่านี้ พอทีเดียวเพื่อจะเบื่อหน่าย[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด พอเพื่อจะหลุดพ้น ดังนี้ ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    จบสูตรที่ ๒[FONT=&quot]

    [/FONT]
    ๓. อัสสุสูตร[FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๕] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ภิกษุทั้งหลาย ... แล้วได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้อง[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ต้นเบื้องปลายไม่ได้ ฯลฯ พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน น้ำตาที่หลั่ง[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ไหลของพวกเธอผู้ท่องเที่ยวไปมา คร่ำครวญร้องไห้อยู่ เพราะประสบสิ่งที่ไม่พอ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ใจ เพราะพลัดพรากจากสิ่งที่พอใจ โดยกาลนานนี้ กับน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔[FONT=&quot]
    [/FONT]
    สิ่งไหนจะมากกว่ากัน ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ภิกษุเหล่านั้นทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พวกข้าพระองค์ ย่อมทราบ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ธรรมตามที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วว่า น้ำตาที่หลั่งไหลออกของพวกข้า-[FONT=&quot]
    [/FONT]
    พระองค์ ผู้ท่องเที่ยวไปมา คร่ำครวญร้องไห้อยู่ เพราะการประสบสิ่งที่ไม่พอใจ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เพราะการพลัดพรากจากสิ่งที่พอใจ โดยกาลนานนี้แหละ มากกว่า ส่วนน้ำใน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    มหาสมุทรทั้ง ๔ ไม่มากกว่าเลย ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๖] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถูกละๆ พวกเธอทราบธรรมที่เรา[FONT=&quot]
    [/FONT]
    แสดงแล้วอย่างนี้ ถูกแล้ว น้ำตาที่หลั่งไหลออกของพวกเธอ ผู้ท่องเที่ยวไปมา ฯลฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    โดยกาลนานนี้แหละ มากกว่า ส่วนน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔ ไม่มากกว่าเลย พวก[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เธอได้ประสบมรณกรรมของมารดาตลอดกาลนาน น้ำตาที่หลั่งไหลออกของเธอ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เหล่านั้น ผู้ประสบมรณกรรมของมารดา คร่ำครวญร้องไห้อยู่ เพราะประสบสิ่ง[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ที่ไม่พอใจ เพราะพลัดพรากจากสิ่งที่พอใจ นั่นแหละ มากกว่า ส่วนน้ำใน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    มหาสมุทรทั้ง ๔ ไม่มากกว่าเลย พวกเธอได้ประสบมรณกรรมของบิดา ... ของ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    พี่ชายน้องชาย พี่สาวน้องสาว ... ของบุตร ... ของธิดา ... ความเสื่อมแห่งญาติ ...[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ความเสื่อมแห่งโภคะ ... ได้ประสบความเสื่อมเพราะโรค ตลอดกาลนาน น้ำตา[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ที่หลั่งไหลออกของเธอเหล่านั้น ผู้ประสบความเสื่อมเพราะโรค คร่ำครวญร้องไห้[FONT=&quot]
    [/FONT]
    อยู่ เพราะประสบสิ่งที่ไม่พอใจ เพราะพลัดพรากจากสิ่งที่พอใจ นั่นแหละมาก[FONT=&quot]
    [/FONT]
    กว่า ส่วนน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔ ไม่มากกว่าเลย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่า[FONT=&quot]
    [/FONT]
    สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เหตุ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เพียงเท่านี้ พอทีเดียวเพื่อจะเบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด[FONT=&quot]
    [/FONT]
    พอเพื่อจะหลุดพ้น ดังนี้ ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    จบสูตรที่ ๓[FONT=&quot]

    [/FONT]
    ๔. ขีรสูตร[FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๗] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ภิกษุทั้งหลาย ... แล้วได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้น[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เบื้องปลายไม่ได้ ฯลฯ เธอทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน น้ำนมมารดาที่[FONT=&quot]
    [/FONT]
    พวกเธอผู้ท่องเที่ยวไปมาอยู่โดยกาลนานนี้ ดื่มแล้ว กับน้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ไหนจะมากกว่ากัน ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พวกข้าพระองค์ย่อม[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ทราบธรรมตามที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว น้ำนมมารดาที่พวกข้าพระองค์ผู้[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ท่องเที่ยวไปมาอยู่โดยกาลนาน ดื่มแล้วนั่นแหละ มากกว่า น้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ไม่มากกว่าเลย ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    [FONT=&quot][[/FONT]๔๒๘] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถูกละๆ พวกเธอทราบธรรมที่เรา[FONT=&quot]
    [/FONT]
    แสดงแล้วอย่างนี้ ถูกแล้ว น้ำนมมารดาที่พวกเธอผู้ท่องเที่ยวไปมาอยู่โดยกาลนาน[FONT=&quot]
    [/FONT]
    ดื่มแล้วนั่นแหละ มากกว่า น้ำในมหาสมุทรทั้ง ๔ ไม่มากกว่าเลย ข้อนั้นเพราะ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    เหตุไร เพราะว่า สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ ฯลฯ พอเพื่อจะ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    หลุดพ้น ดังนี้ ฯ[FONT=&quot]
    [/FONT]
    จบสูตรที่ ๔[FONT=&quot]

    [/FONT]
    จาก :[FONT=&quot]พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ สุตตันตปิฎกที่ ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค[/FONT]<o></o>
     
  16. gnip

    gnip สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 เมษายน 2008
    โพสต์:
    144
    ค่าพลัง:
    +14
    สรุป<o>

    </o>
    ปริศนาธรรมที่ 1 การเกิดของโลกธาตุ จักรวาล ดวงดาว สวรรค์ชั้นฟ้าที่มีมากมาย ในภาพปริศนาธรรมยังได้เห็นดาวส่องสว่างแสดงถึงการเกิดขึ้นและตั้งอยู่ของดวงดาว แลเห็นดาวตกอันเป็นปริศนาธรรมให้ขบคิดถึงการแตกดับของทุกสรรพสิ่ง ล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป


    ปริศนาธรรมที่ 2 ห้วงน้ำและสะพาน เมื่อพิจารณาไปที่ห้วงน้ำที่กว้างใหญ่ สวยงาม และลึก แสดงถึงปริศนาธรรม โอฆะ อันเป็นสิ่งที่ทำให้มนุษย์ เทพ พรหม และสัตว์ทั้งหลายต่างเกิดมัวเมาลุ่มหลงในกิเลส (ห้วงน้ำอันทอประกาย สวยงาม) ซึ่งก็ต่างหาทางข้ามไปสู่ฝั่งโพ้นได้ยากยิ่ง


    ปริศนาธรรมที่ 3 มนุษย์ทั้งหลายที่ต่างอยู่ในสังสารวัฏ(วัฏฏสงสาร)[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]


    ความคิดเห็นโดยสรุปของภาพนี้คือ

    โลกธาตุใหญ่น้อยต่างก็เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป รวมถึงมนุษย์ทั้งหลายที่ต่างอยู่ในสังสารวัฏ(วัฏฏสงสาร) ที่ต้องเผชิญกับกระแสแห่งห้วงน้ำแห่งกิเลส(โอฆะ) ที่ท่วมทับจิตใจของหมู่สัตว์ หมุนวนตามวัฏฏะที่ไม่รู้จบสิ้น แต่ใครจะมีสะพานแห่งปัญญาและความเพียรพอที่จะก้าวผ่านข้ามไปนั้นได้...โดยการมองภาพ เพื่อออกจากภาพ อันเกิดจากรู้เหตุแห่งทุกข์ สามารถดับกิเลสแห่งทุกข์ แล้วผู้นั้นสามารถเข้าสู่กระแสแห่งพระนิพพานได้
    <o></o>
     
  17. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ว่าแล้วเชียว....พอแจ้งปับต้องโดนทวงให้กับเพือนๆ ครับ หุ หุ
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เยี่ยมครับ

    โมทนาสาธุครับ
     
  19. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ของฝากจากคุณ katicat
    น่าจะยังไม่กลับมาจากเที่ยวครับ

    [​IMG]

    [​IMG]


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR vAlign=bottom><TD>[​IMG]</TD><TD> </TD><TD width="100%">PaLungJit.com > katicat's Profile > Albums </TD></TR><TR><TD class=navbar style="FONT-SIZE: 10pt; PADDING-TOP: 1px" colSpan=3>[​IMG] แมวหมียว </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://palungjit.org/album.php?albumid=874
     
  20. Shinray01

    Shinray01 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,675
    ค่าพลัง:
    +2,309
    วันที่ 181.สวดมนต์ไหว้2.ภาวนาทำสมาธิ3.รักษาศีลสมาทานศีล4.รับงับความโกรธกับความโลภอันเป็นกิเลส5.ช่วยแม่จัดของให้เป็นที่เป็นทาง6.ยินดีในบุญของผู้อื่น8.ทำบุญอธิฐานใส่บาตรกับแม่7.ศึกษาธรรมะต่างๆ9.เพียรที่ปิดกั้นระวังความชั่วต่างๆมิให้เกิด8.อธิษฐานร่วมตักบาตรกับแม่ตอนเช้า9.ขยันทำงานอ่านหนังสือตั้งใจเรียนทดแทนคุณพ่อแม่10.เพียรที่กำจัดบาปและอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว11.เพียรที่จะสร้างความดี12.เพียรรักษาความดี รักษาความดีอย่างตั้งมั่น13.แผ่เมตตาแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย14.เชื่อฟังพ่อแม่15.มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่สัญญากับเพื่อน16.ทดแทนพระคุณพ่อแม่โดยการตั้งใจเรียนอ่านหนังสือ17.เจริญพรหมวิหาร 4วันที่ 191.สวดมนต์ไหว้2.ภาวนาทำสมาธิ3.รักษาศีลสมาทานศีล4.รับงับความโกรธกับความโลภอันเป็นกิเลส5.ช่วยแม่จัดของให้เป็นที่เป็นทาง6.ยินดีในบุญของผู้อื่น8.ทำบุญอธิฐานใส่บาตรกับแม่7.ศึกษาธรรมะต่างๆ9.เพียรที่ปิดกั้นระวังความชั่วต่างๆมิให้เกิด8.อธิษฐานร่วมตักบาตรกับแม่ตอนเช้า9.ขยันทำงานอ่านหนังสือตั้งใจเรียนทดแทนคุณพ่อแม่10.เพียรที่กำจัดบาปและอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว11.เพียรที่จะสร้างความดี12.เพียรรักษาความดี รักษาความดีอย่างตั้งมั่น13.แผ่เมตตาแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย14.เชื่อฟังพ่อแม่15.มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่สัญญากับเพื่อน16.ทดแทนพระคุณพ่อแม่โดยการตั้งใจเรียนอ่านหนังสือ17.เจริญพรหมวิหาร 4
     

แชร์หน้านี้

Loading...