ประเทศไทยจะเกิดอุบัติภัยอย่างที่ทำนายกันจริงๆหรือไม่

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย koymoo, 25 มกราคม 2005.

  1. ลูกแก้ว

    ลูกแก้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    32
    ค่าพลัง:
    +705
    ในเช้ามืดวันที่เกิดคลื่นยักษ์สึนามินั้น ผมได้ออกจากบ้านและได้สังเกตเห็นพระจันทร์เป็นสีเข้มจัดเหมือนสีเลือดเลย ผมสะดุ้งใจเลยเพราะพระจันทร์ที่ผมเห็นวันนั้นดูน่ากลัวจริงๆ แต่ก็ไม่คาดฝันเลยว่าจะเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงนี้ขึ้นมา
     
  2. xyz

    xyz เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2005
    โพสต์:
    194
    ค่าพลัง:
    +533
    ที่บอกให้กลับบ้านนี่ บ้านอยู่ที่ จ. ไหนครับ
    แล้วบอกนานรึยังครับ
     
  3. Ong

    Ong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    2,501
    ค่าพลัง:
    +12,861
    คุณ เกษม มั่วมากๆ ครับ

    ตอนแรกคิดจะอ่านเพียงอย่างเดียว

    สุดท้าย ก้อขอออกความเห็นสักหน่อย

    การจับแพะ ชน แกะ ของคุณเกษม บอกได้เลยว่า มั่ว มากๆ

    ยิ่งไปอ้างอิง ตา เอกฯแล้วยิ่งไปใหญ่

    ใครอ่านกระทู้นี้ไม่ต้องไปตื่นหนกนะ

    สรรพสิ่งมันเป็นเช่นนี้ ทุกอย่างมี เกิด ขึ้น ตั้ง อยู่ดับไปเป็นธรรมดา

    อย่าไปตื่นข่าวบ้าๆ

    กับคนเพี้ยนๆเลย

    เลือกที่จะเสพข้อมูลหน่อย

    ความเพี้ยนของ เอกอิสโล ก้อมาจากคนเมืองบัว
     
  4. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    รับทราบครับ

    ความจริงผมก็ได้ทำใจไว้ตั้งแต่แรกที่เข้ามาตอบในกระทู้นี้แล้วว่า จะต้องเจอทั้งดอกไม้และก้อนอิฐแน่ จึงได้ตกลงกับเว็ปมาสเตอร์แล้วว่าถ้าเห็นว่าข้อความใดไม่เหมาะสมอนุญาตให้ลบทิ้งไปได้เลย..........

    เรื่องคำทำนายเหล่านี้มีมาตั้งแต่โบราณกาลนับเป็นพันปีแล้วก็ว่าได้ ทั้งจากศิลาจารึกที่ค้นพบที่วิหารพระเชตวัน ทั้งจากพระธรรมวิวรณ์ในคัมภีร์ของศาสนาคริสต์ ทั้งคำทำนายสัญญาณวันสิ้นโลกของศาสนาอิสลาม ล้วนกล่าวถึงเหตุการณ์เดียวกันทั้งสิ้น รวมทั้งคำบอกเล่าจากบรรดาพระภิกษุผู้มีญาณทัศนะเห็นเหตุการณ์ในอนาคต ก็ได้บอกกล่าวกับลูกศิษย์ให้เตรียมตัวรับกับภัยพิบัติที่จะมาถึงในไม่ช้านี้..........

    ผมได้ตั้งใจค้นหาข้อมูลจากทุกแหล่งเท่าที่จะหาได้มานำเสนอในที่นี้ ไม่ได้มีเจตนาให้ท่านตื่นตกใจไปกับคำทำนายเหล่านี้ เพียงแต่อยากให้ท่านได้ทราบว่ามีคำทำนายเหล่านี้อยู่ในโลกนี้จริงๆ นับเป็นพันๆ ปีมาแล้ว ส่วนท่านจะได้รับประโยชน์จากคำทำนายเหล่านี้หรือไม่อย่างไร จะเชื่อหรือไม่เชื่อก็แล้วแต่วิจารณญาณของตัวท่านเองไม่มีใครไปบังคับท่านได้..........

    ใครก็ตามที่เอาคำทำนายเหล่านี้มาเผยแพร่ ก็ต้องเจอแบบนี้ทุกคน ท่านที่ไม่อยากเปลืองตัวจึงพากันเงียบเฉยเสียถือว่าเป็นกรรมของสัตว์โลก ด้วยเหตุผลที่ว่าครูบาอาจารย์ที่ท่านมีญาณทัศนะรู้เรื่องราวเหล่านี้มักจะเตือนบรรดาเหล่าลูกศิษย์ว่าให้บอกกล่าวให้รู้กันเฉพาะในหมู่คณะเดียวกัน อย่าเอาไปบอกกล่าวกับคนที่เขาไม่เชื่อไม่ศรัทธาเพราะเขาจะหาว่าเราเสียสติ...............

    ข้อมูลที่ผมนำมาเสนอให้ท่านทั้งหลายได้รับรู้นี้ หากไปรบกวนจิตใจท่านก็ขอให้ต่อว่าผมแต่เพียงผู้เดียว อย่าไปต่อว่าผู้ให้ความรู้เหล่านี้เลย เพราะท่านเหล่านั้นเป็นผู้ทรงศีล ทรงธรรมทั้งสิ้นจะเป็นบาปเป็นกรรมติดตัวท่านไปเปล่าๆ ความจริงผมตั้งใจจะหยุดนำเสนอข้อมูลเหล่านี้นานแล้ว แต่เห็นว่ายังมีบางท่านให้ความสนใจคอยติดตามอ่านอยู่เสมอๆ จึงยังตามหาข้อมูลมานำเสนออยู่เป็นระยะๆ ด้วยหว้งว่าจะเกิดประโยชน์กับผู้เห็นคุณค่าของข้อมูลเหล่านี้......

    ขอคุณครับที่ติดตามอ่าน.......
     
  5. icom3fgx

    icom3fgx เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    34
    ค่าพลัง:
    +121
    ส่งกำลังใจช่วยครับ
     
  6. xyz

    xyz เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2005
    โพสต์:
    194
    ค่าพลัง:
    +533
    ขอเป็นกำลังใจให้คุณ เกษม ต่อไป
    ผมติดตามอ่านอยู่ตลอดครับ
     
  7. อืม

    อืม Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    39
    ค่าพลัง:
    +91
    ผมก็ขอเป็นกำลังใจให้นะครับ คุณเกษม
     
  8. Chayutt

    Chayutt รูปเดิมไม่เคยเปลี่ยนเลยครับ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    6,408
    ค่าพลัง:
    +50,772
    เรื่องจริงของจุดดับบนดวงอาทิตย์

    ข้อมูลเกี่ยวกับจุดดับบนดวงอาทิตย์ อ้างถึงความคิดเห็นที่ 25 ครับ
    "เหตุการณ์ต่างๆ ที่กล่าวมานั้น
    จะมีอยู่วันหนึ่งที่เกิดเหตุการณ์รุนแรงที่สุด
    คลื่นพลังมหาศาลจากจักรวาลจะกระแทกลงมายังโลก
    เป็นพลังงานที่เกิดจากลมพายุสุริยะ
    อันเนื่องมาจากจุดดับบนดวงอาทิตย์จุดที่ 11"

    คัดลอกมาจากhttp://thaiastro.nectec.or.th/library/solarstormfacts/solarstormfacts.html
    เรื่องจริงของพายุสุริยะ


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=460>รู้จักกับจุดดำ



    <DD>จุดดำบนดวงอาทิตย์ (sunspot) เป็นปรากฏการณ์บนพื้นผิว<WBR>ดวงอาทิตย์<WBR>ที่สังเกตได้ง่ายที่สุด จึงไม่น่าแปลกใจ<WBR>ที่มันจะถูกค้นพบมาตั้งแต่<WBR>สมัยของกาลิเลโอแล้ว จุดดำบนดวงอาทิตย์<WBR>เมื่อมองผ่านแผ่นกรองแสง<WBR>จะมีลักษณะเป็นจุดสีดำ<WBR>ขึ้นประปรายอยู่<WBR>บนผิวหน้า<WBR>ของดวงอาทิตย์ คล้ายกับดวงอาทิตย์<WBR>ตกกระ ซึ่งสามารถมอง<WBR>เห็นได้ง่าย ๆ โดยการใช้<WBR>ฉากรับภาพจาก<WBR>กล้องโทรทรรศน์<WBR>หรือกล้องสองตา <DD>จุดดำบนดวงอาทิตย์เกิดขึ้นที่ชั้นโฟโตสเฟียร์ เช่นเดียวกับ แกรนูล (ลักษณะที่เป็นเม็ด คล้ายฟองที่เดือนพล่าน<WBR>บนผิวของดวงอาทิตย์) ขนาดของจุดดำ<WBR>มีตั้งแต่เท่ากับ<WBR>แกรนูลฟองเดียว หรืออาจจะใหญ่กว่านั้น และอาจมีการ<WBR>รวมกลุ่มกันเป็นกระจุก<WBR>จนมีพื้นที่หลาย<WBR>พันล้านตารางกิโลเมตร โครงสร้าง<WBR>ของจุดดำบนดวงอาทิตย์<WBR>มิได้มีลักษณะดำ<WBR>มืดแต่เพียงอย่างเดียว หากพิจารณาดูดี ๆ แล้ว จะพบว่าแต่ละจุด<WBR>จะมีลักษณะ<WBR>ซ้อนกันสองชั้น โดย จุดดำชั้นใน (umbra) จะมีสีดำเข้ม ส่วนจุดดำชั้นนอก (penumbra) ซึ่งล้อมรอบอยู่<WBR>จะมีลักษณะจางกว่า<WBR>และมีริ้วลายเป็น<WBR>เส้นในแนวรัศมี ดูเผิน ๆ แล้วจุดดำ<WBR>ของดวงอาทิตย์จะคล้าย<WBR>กับลูกตาดำของคน โดยจุดดำชั้นใน<WBR>แทนรูม่านตาส่วน<WBR>ชั้นนอกแทนม่านตา โดยทั่วไปแล้ว<WBR>พื้นที่ส่วนจุดดำชั้นนอก<WBR>มักมีพื้นที่มากกว่า บางครั้งอาจมากถึง 80% ของพื้นที่<WBR>จุดดำทั้งหมด บริเวณจุดดำ<WBR>ชั้นนอกเป็นบริเวณ<WBR>ที่มีการไหล<WBR>ของแก๊สจากบริเวณ<WBR>จุดดำชั้นใน<WBR>ไปสู่พื้นที่นอกจุดดำ เมื่อแก๊สไหล<WBR>ออกไปนอกจุดดำชั้นนอก<WBR>แล้วก็จะเปลี่ยนทิศ<WBR>พุ่งขึ้นตั้งฉาก<WBR>กับผิวของดวงอาทิตย์<WBR>จนถึงชั้นโครโมสเฟียร์ (บรรยากาศ<WBR>ที่อยู่เหนือพื้นผิว<WBR>ของดวงอาทิตย์) หลังจากนั้น<WBR>จึงย้อนกลับพุ่ง<WBR>ลงในใจกลาง<WBR>ของจุดดำอีกครั้ง<WBR>เป็นวัฏจักรต่อไป</DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>จุดดำบนดวงอาทิตย์ที่รวมกลุ่มกันเป็นกระจุกใหญ่ สิ่งที่เห็นเป็นเม็ดละเอียดจำนวนมากในส่วนพื้นที่สว่างคือ แกรนูล (granule)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>การกระจายตัวของจุดดำนั้น มักพบว่าจุดดำมักเกิดขึ้นเป็นคู่<WBR>หรือรวมกลุ่มเป็น<WBR>กระจุกใหญ่<WBR>จำนวนมาก ๆ แต่จุดดำคู่<WBR>จะพบได้มากกว่า ส่วนจุดดำ<WBR>ที่ขึ้นเดี่ยว ๆ จะไม่พบ<WBR>มากนัก นอกจากนี้ยังพบว่าจุดดำบน<WBR>ดวงอาทิตย์มี<WBR>การเกิดขึ้นและ<WBR>สลายตัวตลอดเวลา โดยปรกติแล้ว<WBR>จุดดำแต่ละจุด<WBR>จะมีอายุประมาณ<WBR>ไม่เกินสองสัปดาห์ แต่ก็อาจมีบางจุด<WBR>ที่มีอายุยาวนาน<WBR>นับเดือนก็เป็นได้ <DD>ถึงแม้ว่าจุดดำชั้นในจะเป็นบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำที่สุด<WBR>บนดวงอาทิตย์<WBR>จนมองเห็น<WBR>เป็นสีดำสนิท แต่มันก็ยังมี<WBR>อุณหภูมิสูงถึง 4,000 เคลวิน ในความเป็นจริง แก๊สที่มีอุณหภูมิ<WBR>ขนาดนี้จะมี<WBR>ความสว่างมาก แต่สาเหตุที่เราเห็น<WBR>เป็นสีดำนั้นเนื่องจากพื้นผิว<WBR>ของดวงอาทิตย์โดยรอบจุดดำ<WBR>หรือโฟโตสเฟียร์<WBR>มีความสว่าง<WBR>มากกว่ามาก เพราะมีอุณหภูมิสูงถึง 6,000 เคลวินนั่นเอง ดังนั้นคำว่า "จุดดำ" คงจะไม่ตรงตาม<WBR>ความจริงเท่าใดนัก เพราะจุดมัน<WBR>ไม่ดำจริง ๆ ส่วนบริเวณ<WBR>จุดดำชั้นนอก<WBR>นั้นมีอุณหภูมิต่ำกว่า<WBR>โฟโตสเฟียร์เพียงเล็กน้อย คือประมาณ 5,600 เคลวิน <DD>ในขณะที่ความสว่างของจุดดำ<WBR>บนดวงอาทิตย์จะน้อยกว่าที่อื่น ๆ แต่สนามแม่เหล็ก<WBR>บริเวณนี้<WBR>กลับมีความเข้มข้น<WBR>สูงมาก เราพบว่าสนามแม่เหล็ก<WBR>จะมีทิศจะพุ่งออกจาก<WBR>จุดดำพร้อม ๆ กับนำเอาแก๊สร้อน<WBR>จัดจากภายใต้พื้น<WBR>ผิวดวงอาทิตย์ขึ้นมาด้วย สนามแม่เหล็ก<WBR>ที่จุดดำอาจมี<WBR>ความเข้มสูงถึง 0.2 - 0.4 เทสลา (1 เทสลาเท่ากับ 10,000 เกาสส์) รูปร่างและทิศทาง<WBR>ของสนามแม่เหล็ก<WBR>จะแตกต่างกันไป<WBR>ขึ้นอยู่กับลักษณะ<WBR>ของกลุ่มของจุดดำ<WBR>เหล่านี้ กล่าวคือ บริเวณที่มีจุดดำเป็นคู่ สนามแม่เหล็ก<WBR>จะพุ่งขึ้นออกจากจุดดำ<WBR>จุดหนึ่งสู่บรรยากาศชั้นบน<WBR>เหนือโฟโตสเฟียร์ แล้วเลี้ยวโค้งวกกลับ<WBR>ลงสู่จุดดำอีก<WBR>จุดหนึ่งที่อยู่คู่กัน จุดดำสองจุดนี้<WBR>จึงมีขั้วแม่เหล็ก<WBR>ที่ตรงข้ามกันเสมอ เหมือนกับแม่เหล็ก<WBR>แบบเกือกม้าที่ติดอยู่บน<WBR>ผิวดวงอาทิตย์ เราเรียกสนามแม่เหล็ก<WBR>รูปร่างแบบนี้ว่า สนามแม่เหล็กแบบ ไบโพลาร์ (bipolar) <DD>บริเวณที่มีจุดดำรวมกลุ่มกันเป็นกระจุกขนาดใหญ่<WBR>จะมีรูปร่างของ<WBR>สนามแม่เหล็ก<WBR>ที่ซับซ้อนมากขึ้น แต่ยังคงเป็น<WBR>สนามแม่เหล็กปิด<WBR>เช่นเดียวกับสนาม<WBR>แม่เหล็กแบบไบโพลาร์ ส่วนจุดดำที่<WBR>เป็นจุดเดียวโดด ๆ ไม่รวมกลุ่ม<WBR>หรือเข้าคู่กับจุดดำอื่น ๆ สนามแม่เหล็กจะพุ่งออกจาก<WBR>จุดดำชั้นในและสาด<WBR>ออกไปสู่อวกาศ<WBR>โดยไม่วกกลับเข้ามา เรียกว่าเป็นสนาม<WBR>แม่เหล็กเปิด ซึ่งเป็นช่องทาง<WBR>ที่มวลสารจำนวน<WBR>มากดวงอาทิตย์<WBR>พุ่งทะลักสู่อวกาศ และเป็นส่วนหนึ่ง<WBR>ของการเกิดลมสุริยะ</DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>จุดดำแบบคู่ที่อยู่ในซีกดาวเดียวกัน จะมีทิศทางสนามแม่เหล็กวางไปในทางเดียวกัน และซีกดาวแต่ละซีก จะมีทิศทางสนามแม่เหล็กของจุดดำแบบคู่ตรงข้ามกันเสมอ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>สนามแม่เหล็กแบบไบโพลาร์บนดวงอาทิตย์มีลักษณะ<WBR>เฉพาะที่น่าสนใจอย่างหนึ่งคือ ทุก ๆ คู่ของจุดดำ<WBR>จะเรียงกัน<WBR>ในแนวนอนเกือบ<WBR>ขนานกับเส้นศูนย์สูตร<WBR>ของดวงอาทิตย์ เนื่องจากดวงอาทิตย์<WBR>มีการหมุน<WBR>รอบตัวเองด้วย ดังนั้นจุดดำสองจุด<WBR>ในแต่ละคู่จึงมีชื่อ<WBR>เรียกว่า จุดนำ และ จุดตาม เรามักพบว่าจุดนำ<WBR>ของแต่ละคู่มัก<WBR>จะอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร<WBR>มากกว่าจุดตามเล็กน้อย นอกจากนี้ยังพบว่า สนามแม่เหล็ก<WBR>แบบไบโพลาร์ที่เกิดขึ้น<WBR>ในซีกดาวเดียวกัน<WBR>จะมีทิศทางตรงกัน<WBR>ทั้งหมด และทิศทางของ<WBR>สนามแม่เหล็กของซีกเหนือ<WBR>และซีกใต้ของดวงอาทิตย์<WBR>จะตรงข้ามกัน<WBR>เสมออีกด้วย <DD>นอกจากจุดดำบนดวงอาทิตย์ที่มักอยู่รวมกันเป็นกระจุกแล้ว ปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนดวงอาทิตย์เช่นแฟลร์ หรือการลุกจ้าอย่างรุนแรง แฟกคิวลา เพลจ ก็มักเกิดบริเวณใกล้ ๆ กับกระจุกของจุดดำอีกเหมือนกัน </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>แผนภูมิแสดงจำนวนของจุดดำ<WBR>บนดวงอาทิตย์<WBR>ในช่วงเวลาต่าง ๆ ตั้งแต่ปี 2518 จนถึงปัจจุบัน แสดงให้เห็น<WBR>การเปลี่ยนแปลง<WBR>จำนวนจุดดำ<WBR>ที่เป็นวัฏจักร</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460>วัฏจักรแห่งสุริยะ



    <DD>ปริมาณของจุดดำบนดวงอาทิตย์บางช่วงเวลาอาจมี<WBR>เป็นจำนวนมาก แต่บางช่วงอาจ<WBR>จะไม่มีเลย<WBR>แม้แต่จุดเดียว ความผันแปร<WBR>นี้เป็นการผันแปร<WBR>ที่เป็นวัฏจักร มีคาบค่อนข้างสม่ำเสมอ อยู่ในช่วง 8 ปี ถึง 16 ปี มีค่าเฉลี่ย 11.1 ปี คาบนี้เรียกว่า วัฏจักรของดวงอาทิตย์ (solar cycle) หรือ วัฏจักรของจุดดำ (sunspot cycle) หากเราเขียน<WBR>แผนภูมิแสดง<WBR>ความสัมพันธ์ระหว่าง<WBR>จำนวนจุดดำ<WBR>บนดวงอาทิตย์<WBR>กับเวลา โดยให้เวลา<WBR>อยู่ในแนวนอน และจำนวนจุดดำ<WBR>เป็นแนวตั้ง จะพบว่ารูปกราฟ<WBR>ที่ได้คล้ายกับคลื่น<WBR>รูปฟันเลื่อย โดยช่วงขาขึ้น (จากช่วง<WBR>ที่มีจุดดำน้อยที่สุด<WBR>ไปสู่ช่วงที่มีจุดดำ<WBR>มากที่สุด) จะชันกว่า<WBR>ช่วงขาลงเล็กน้อย โดยเฉลี่ยแล้ว<WBR>ช่วงขาขึ้นจะใช้<WBR>เวลาประมาณ 4.8 ปี ส่วนขาลง<WBR>ใช้เวลาประมาณ 6.2 ปี</DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ในหนึ่งวัฏจักรของดวงอาทิตย์ จุดดำบนดวงอาทิตย์<WBR>จะเริ่มเกิดที่ละติจูด<WBR>สูงประมาณ 35 องศา ทั้งเหนือและใต้ ส่วนจุดดำในรุ่นต่อ ๆ มาจะเกิดขึ้น<WBR>ที่ละติจูดต่ำ<WBR>ลงมาเรื่อย ๆ จนถึงระดับ<WBR>ใกล้ศูนย์สูตร</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>ตำแหน่งการเกิดของจุดดำ<WBR>ก็มีลักษณะน่าสนใจ<WBR>อีกเช่นกัน หลังจากที่ดวงอาทิตย์<WBR>เพิ่งพ้นจากช่วง<WBR>ต่ำสุดมาและกำลัง<WBR>จะเริ่มวัฏจักรใหม่ จุดดำจะเกิดขึ้น<WBR>ที่บริเวณละติจูดประมาณ 35 องศาทั้งซีกเหนือ<WBR>และซีกใต้ หลังจากนั้น จุดดำก็จะเลื่อนไหลไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์<WBR>ตามการหมุนรอบ<WBR>ตัวเองของดวงอาทิตย์ พร้อม ๆ กับเคลื่อน<WBR>เข้าหาเส้นศูนย์สูตรอย่างช้า ๆ แต่ก็ไปไม่ถึง<WBR>เส้นศูนย์สูตรเพราะจุดดำ<WBR>นั้นสลายตัวไปเสียก่อน จุดดำที่<WBR>เกิดขึ้นในรุ่นต่อ ๆ มาก็จะเกิด<WBR>ขึ้นอีกที่ละติจูดเริ่มต้น<WBR>ต่ำกว่าระดับของ<WBR>จุดดำรุ่นที่แล้วเล็กน้อย แล้วก็เคลื่อนเข้า<WBR>หาเส้นศูนย์สูตร<WBR>ในลักษณะเดียวกัน จุดเริ่มต้น<WBR>ของการเกิดจุดดำ<WBR>จะเปลี่ยนตำแหน่ง<WBR>เช่นนี้เรื่อย ๆ จนกระทั่งใกล้<WBR>ถึงช่วงต่ำสุด<WBR>ของดวงอาทิตย์ ซึ่งเมื่อถึงช่วงนี้<WBR>ละติจูดเฉลี่ยของจุดดำ<WBR>จะอยู่ประมาณ 7 องศา (เหนือและใต้) เท่านั้น หากเราสังเกต<WBR>ตำแหน่งของ<WBR>จุดดำทุก ๆ จุดอย่างต่อเนื่อง<WBR>และยาวนานพอ แล้วนำตำแหน่ง<WBR>ของจุดดำมาเขียน<WBR>เป็นแผนภูมิ โดยให้แกนนอน<WBR>เป็นเวลา และแกนตั้ง<WBR>เป็นละติจูดของจุดดำ แผนภูมิที่ได้<WBR>จะมีลักษณะเหมือน<WBR>กับใบมะกอก หรือผีเสื้อ<WBR>มาเกาะเรียงต่อ ๆ กัน แผนภูมินี้<WBR>จึงมีเชื่อเรียกเฉพาะว่า แผนภูมิรูปผีเสื้อ (butterfly diagram) </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>(บน) แผนภูมิรูปผีเสื้อ แสดงตำแหน่งละติจูดที่เกิดจุดดำ ในช่วงเวลาหนึ่ง (ล่าง) แผนภูมิแสดงพื้นที่รวมของจุดดำบน<WBR>ดวงอาทิตย์ คิดเป็นเปอร์เซนต์<WBR>ต่อพื้นที่ผิวหน้า<WBR>ของดวงอาทิตย์ (เฉพาะด้านที่มองเห็น)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>ดังที่กล่าวมาแล้วว่า สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่บริเวณ<WBR>จุดดำบนดวงอาทิตย์<WBR>จะมีทิศทางเดียวกัน<WBR>ในแต่ละซีกดาว แต่ทิศทางของ<WBR>สนามแม่เหล็กนี้<WBR>จะไม่คงทิศเดิมตลอดไป เพราะทุก ๆ ครั้งที่ถึงช่วง<WBR>ต่ำสุด (sunspot minimum) นั้น จะมีการสลับขั้ว<WBR>ของสนามแม่เหล็ก<WBR>ทั้งซีกเหนือและซีกใต้<WBR>ของดวงอาทิตย์ สนามแม่เหล็ก<WBR>ในจุดดำของชุดใหม่<WBR>จะมีทิศทางตรงข้าม<WBR>กับชุดเดิม ดังนั้น วัฏจักรของ<WBR>สนามแม่เหล็กบนจุดดำ<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>จึงเป็นสองเท่า<WBR>ของวัฏจักรของจุดดำ คือประมาณ 22.2 ปี <DD>จากการสำรวจดวงอาทิตย์ของนักดาราศาสตร์อย่างต่อเนื่อง<WBR>เป็นเวลานาน นักดาราศาสตร์<WBR>ยังได้พบว่า ปรากฏ<WBR>วัฏจักรที่<WBR>ยาวประมาณ 80 ปีซ้อน<WBR>อยู่บนคาบ 11.1 ปีนี้อีกด้วย นอกจากนี้<WBR>วัฏจักรของจุดดำ<WBR>บนดวงอาทิตย์<WBR>ก็ไม่ได้เกิดขึ้น<WBR>อย่างสม่ำเสมอมาตลอด ในปี ค.ศ. 1645 ถึง 1715 วัฏจักร<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>ได้หยุดชะงักไปนานถึง 70 ปี เป็นช่วงที่รู้จักกัน<WBR>ในชื่อของ ช่วงต่ำสุดมอนเดอร์ (Maunder minimum) ซึ่งในช่วงเวลา<WBR>ดังกล่าวแทบ<WBR>จะไม่มีจุดดำเกิดขึ้นเลย</DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width=300></TD><TD width=460>| ตอนที่ 2 >></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width=300 bgColor=white><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=460>ลมสุริยะ



    <DD>ในขณะที่เกิดสุริยุปราเต็มดวง สิ่งที่เราเห็นเป็นเส้นรัศมีสว่างอยู่ล้อมรอบวงกลมสีดำนั้นคือบรรยากาศของดวงอาทิตย์ เรียกว่า คอโรนา (corona) คอโรนาเป็นบรรยากาศชั้นนอกสุดของดวงอาทิตย์ แม้ว่าคอโรนาที่เรามองเห็นขณะเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงจะมีรัศมีประมาณไล่เลี่ยกับรัศมีของดวงอาทิตย์ แต่แท้จริงแล้วคอโรนามีรัศมีกว้างไกลกว่านั้นมาก จากการศึกษาสเปกตรัมของคอโรนาพบว่าคอโรนามีอุณหภูมิสูงนับล้านองศาเซลเซียส พลังงานความร้อนที่สูงมากทำให้คอโรนาขยายตัวออกเรื่อย ๆ จนในที่สุดอนุภาคจะหลุดพ้นจากแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์และหนีออกจากดวงอาทิตย์ไปทุกทิศทุกทาง จนกระทั่งห่อหุ้มและครอบคลุมระบบสุริยะทั้งหมด เราเรียกกระแสธารของอนุภาคที่พัดออกมาจากดวงอาทิตย์ว่า ลมสุริยะ (solar wind) <DD>ลมสุริยะที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้จะมีความเร็วต่างกันตามละติจูดที่เกิด กล่าวคือ ลมสุริยุที่ขึ้นบริเวณ<WBR>ขั้วเหนือและใต้<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>จะมีความเร็วสูงมาก ซึ่งเรา<WBR>จะสังเกตได้ว่าบริเวณ<WBR>ขั้วเหนือและใต้มัก<WBR>มี โพรงคอโรนา (coronal hole) ขนาดใหญ่<WBR>ปรากฏอยู่ ซึ่งโพรงคอโรนา<WBR>เป็นที่ ๆ มีลมสุริยะ<WBR>ความเร็วสูงและรุนแรง<WBR>พัดออกมาจากดวง<WBR>อาทิตย์ใน<WBR>บริเวณนั้น ในขณะที่ลมสุริยะ<WBR>ที่เกิดขึ้นบริเวณ<WBR>แนวใกล้ศูนย์สูตร<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>จะมีความเร็วต่ำ ลมสุริยะ<WBR>ที่เกิดขึ้นจากการขยาย<WBR>ตัวของคอโรนา<WBR>ในแนวศูนย์สูตร<WBR>ดวงอาทิตย์นี้<WBR>มีความเร็วเริ่มต้น<WBR>โดยเฉลี่ยประมาณ 450 กิโลเมตรต่อ<WBR>วินาที หลังจากนั้น<WBR>จะเร่งความ<WBR>เร็วจนถึงราว 800 กิโลเมตร<WBR>ต่อวินาที <DD>การเร่งความเร็วของลมสุริยะนี้ เป็นอีกหนึ่งในปริศนา<WBR>ของดวงอาทิตย์ เพราะนักดาราศาสตร์<WBR>ได้ตั้งข้อสงสัยมาเป็น<WBR>เวลานานนับตั้งแต่<WBR>เริ่มรู้จักลมสุริยะ<WBR>แล้วว่า เพราะเหตุใด<WBR>ลมสุริยะจึงเร่ง<WBR>ความเร็วขึ้นมาได้ จนเมื่อปี 2541 นี้เอง ยานโซโฮ<WBR>และดาวเทียมสปาร์ตัน<WBR>ได้พบว่าสนามแม่เหล็ก<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>มีการกระเพื่อม<WBR>ตลอดเวลา ซึ่งอาจจะ<WBR>เป็นสาเหตุสำคัญ<WBR>ที่ทำให้ลมสุริยะ<WBR>มีการเร่ง<WBR>ความเร็วขึ้นก็ได้ <DD>แม้ลมสุริยะที่กล่าวมานี้จะมีความเร็วถึงเกือบพันกิโลเมตรต่อวินาที ใช้เวลา<WBR>ประมาณ 26 ชั่วโมง<WBR>ในการเดินทาง<WBR>ผ่านอวกาศ<WBR>เป็นระยะทางราว 150 ล้านกิโลเมตร<WBR>มาถึงโลก ถึงกระนั้น<WBR>ก็ยังจัดว่า<WBR>มีความเร็ว<WBR>และความรุนแรงต่ำ และไม่ใช่สาเหตุ<WBR>หลักที่ทำให้เกิด<WBR>ปรากฏการณ์<WBR>และผลกระทบต่าง ๆ บนโลก ลมสุริยะที่มีความรุนแรง<WBR>ผันผวนและ<WBR>มีอิทธิพลต่อโลก<WBR>อย่างมาก<WBR>จะเกิดจากปรากฏการณ์<WBR>อย่างอื่นที่มี<WBR>ความรุนแรง<WBR>เกรี้ยวกราด<WBR>มากกว่ามาก นั่นคือ แฟลร์ และ คอโรนัลแมสอีเจกชัน</DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ภาพดวงอาทิตย์<WBR>ในช่วงสูงสุด<WBR>ที่ถ่ายในย่าน<WBR>รังสีเอกซ์ แสดงจุดสว่าง<WBR>ของแฟลร์<WBR>เป็นจำนวนมาก ส่วนพื้น<WBR>ที่<WBR>มืดของดวงอาทิตย์<WBR>คือบรรยากาศ<WBR>ดวงอาทิตย์<WBR>หรือ<WBR>โฟโตสเฟียร์ เนื่องจาก<WBR>โฟโตสเฟียร์<WBR>มีอุณหภูมิ<WBR>ต่ำเพียง 6,000 องศา<WBR>เซลเซียส จึงดูมืด<WBR>ในภาพ<WBR>รังสีเอกซ์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460>แฟลร์



    <DD>แฟลร์ (flare) เป็นการระเบิดอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นที่ชั้นโครโมสเฟียร์ (chromosphere) และมัก<WBR>เกิดขึ้นเหนือ<WBR>รอยต่อระหว่าง<WBR>ขั้วของสนาม<WBR>แม่เหล็ก เช่นบริเวณ<WBR>กึ่งกลางของจุดดำ<WBR>แบบคู่หรือท่าม<WBR>กลางกระจุก<WBR>ของจุดดำที่มี<WBR>สนามแม่เหล็ก<WBR>ปั่นป่วนซับซ้อน <DD>แฟลร์ให้พลังงานสูงมาก โดยเฉพาะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใน<WBR>ย่านรังสีเอกซ์<WBR>และย่าน<WBR>อัลตราไวโอเลต พลังงาน<WBR>ที่ได้จากแฟลร์<WBR>ลูกหนึ่งอาจมากเท่า ๆ กับระเบิด<WBR>ไฮโดรเจนขนาด 100 เมกกะตัน 1 ล้านลูกรวมกัน แต่แฟลร์กลับ<WBR>ให้ความสว่าง<WBR>ไม่มากนักในย่าน<WBR>แสงขาวหรือแสง<WBR>ที่ตามองเห็น ดังนั้นจึงไม่ใช่<WBR>เรื่องง่ายนักที่จะถ่ายภาพ<WBR>ของแฟลร์ด้วย<WBR>การถ่ายภาพธรรมดา แม้ว่าแฟลร์<WBR>จะถูกค้นพบ<WBR>เป็นครั้งแรก<WBR>จากภาพถ่ายแสงขาว<WBR>ก็ตาม <DD>แฟลร์จะปรากฏในรูปของการเกิดแสงสว่าง<WBR>ลุกจ้าขึ้นมา<WBR>อย่างฉับพลัน ปล่อยพลังงาน<WBR>ออกมาอย่างรุนแรง<WBR> มีอุณหภูมิสูงถึง<WBR>หลายล้านเคลวิน พร้อม ๆ กับสาด<WBR>อนุภาคประจุไฟฟ้า<WBR>ออกมากอย่างรุนแรง<WBR>และรวดเร็ว ช่วยเสริม<WBR>กำลังให้กับลมสุริยะ<WBR>ให้เร็วและรุนแรง<WBR>ยิ่งกว่าในภาวะ<WBR>ปกติมาก ลมสุริยะ<WBR>ที่เกิดขึ้น<WBR>จากแฟลร์มี<WBR>ความเร็วสูงมาก และ<WBR>สามารถเดินทางมา<WBR>ถึงโลกภายใน<WBR>เวลาไม่กี่สิบ<WBR>นาทีเท่านั้น <DD><DD>ในสนามแม่เหล็กแบบไบโพลาร์ซึ่งจะเกิดขึ้นกับคู่ของจุดดำ<WBR>เป็นบริเวณ<WBR>ที่มักเกิด<WBR>แฟลร์ขึ้นเสมอ และอาจ<WBR>เกิดขึ้นได้บ่อย ๆ แม้ว่า<WBR>ดวงอาทิตย์จะไม่ได้<WBR>อยู่ในช่วงสูงสุด<WBR>ก็ตาม เมื่อ<WBR>เกิดแฟลร์ขึ้นก็<WBR>จะพัดลมสุริยะ<WBR>ออกมา<WBR>อย่างรุนแรง แต่ถึง<WBR>กระนั้นก็ยัง<WBR>ถือว่ายังไม่มากนัก<WBR>หากเทียบกับแฟลร์<WBR>ที่เกิดขึ้นท่าม<WBR>กลางกระจุก<WBR>ของจุดดำ เนื่องจาก<WBR>กระจุกของจุดดำ<WBR>มีสนามแม่เหล็ก<WBR>ซับซ้อนและ<WBR>เข้มข้นมากกว่า เมื่อเกิดแฟลร์<WBR>ขึ้นในบริเวณนี้<WBR>จึงกลายเป็น<WBR>แหล่งกำเนิด<WBR>ลมสุริยะที่<WBR>รุนแรงมาก ทำให้เกิด<WBR>ปรากฏการณ์ที่บางคน<WBR>เรียกว่า พายุสุริยะ นั่นเอง</DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ภาพพื้นผิวดวงอาทิตย์<WBR>แสดงการ<WBR>เกิดแฟลร์ เส้นสีน้ำเงิน<WBR>คือเส้นที่กึ่ง<WBR>กลางระหว่างขั้ว<WBR>แม่เหล็กสองขั้ว ขีดสั้น ๆ สีดำ<WBR>แสดงทิศทาง<WBR>และความเข้ม<WBR>ของสนาม<WBR>แม่เหล็ก ขีดยิ่ง<WBR>ยาวหมาย<WBR>ถึงสนาม<WBR>แม่เหล็ก<WBR>ยิ่งเข้มข้น บริเวณ<WBR>สีส้มเข้ม<WBR>คือบริเวณ<WBR>ที่เกิดจุดดำ และสีขาว<WBR>คือบริเวณ<WBR>ที่เกิดแฟลร์ จะเห็นว่า<WBR>แฟลร์มัก<WBR>เกิดขึ้นบริเวณ<WBR>กึ่งกลางระหว่าง<WBR>ขั้วแม่เหล็ก<WBR>สองขั้วและเกิดขึ้น<WBR>เมื่อสนาม<WBR>แม่เหล็ก<WBR>มีการตัดขาด<WBR>จากกันและ<WBR>เชื่อมต่ออีกครั้ง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460>แฟลร์เกิดขึ้นได้อย่างไร



    <DD>จนถึงปัจจุบัน นักดาราศาสตร์ยัง<WBR>ไม่ทราบกลไก<WBR>การเกิดแฟลร์<WBR>อย่างแน่ชัดนัก จากการ<WBR>สังเกตการณ์ พบว่า แฟลร์มัก<WBR>เกิดร่วมกับ<WBR>จุดดำ โดยจะ<WBR>อยู่กึ่งกลาง<WBR>ระหว่างจุดดำ<WBR>ที่มีขั้วแม่เหล็ก<WBR>ต่างกัน หรือเกิดขึ้น<WBR>ท่ามกลางกระจุก<WBR>จุดดำ<WBR>ที่มีสนาม<WBR>แม่เหล็ก<WBR>ปั่นป่วน ตามสมมติฐาน<WBR>ปัจจุบัน เชื่อว่า แฟลร์<WBR>น่าจะเกิด<WBR>จากการตัดขาด<WBR>และเชื่อมต่อ<WBR>อีกครั้ง<WBR>ของสนาม<WBR>แม่เหล็ก </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ภาพต่อเนื่องของการเกิดคอโรนัลแมสอีเจกชัน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460>คอโรนัลแมสอีเจกชัน



    <DD>ปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์ที่<WBR>เกี่ยวข้องกับ<WBR>ลมสุริยะอีกอย่าง<WBR>หนึ่ง<WBR>และมีความรุนแรง<WBR>ยิ่งกว่า<WBR>แฟลร์ก็คือ คอโรนัลแมสอีเจกชัน (Coronal Mass Ejection-CME) เป็นปรากฏการณ์<WBR>ที่มีการสาดมวลสาร<WBR>จำนวนมากออกมา<WBR>จากดวงอาทิตย์<WBR>ดูเหมือนฟอง<WBR>ขนาดมหึมาถูกเป่า<WBR>ออกมาจาก<WBR>ผิวดวงอาทิตย์ จนเกิด<WBR>เป็นโพรงคอโรนา<WBR>เกิดขึ้นในช่วง<WBR>เวลาหนึ่ง อิออน<WBR>จำนวนมหาศาล<WBR>จากดวงอาทิตย์<WBR>จะถูกเป่าออกสู่อวกาศ<WBR>ด้วยความเร็วสูง<WBR>นับพันกิโลเมตร<WBR>ต่อวินาที <DD>แม้ในปัจจุบัน<WBR>นักดาราศาสตร์ยัง<WBR>ไม่ทราบแน่ชัดว่า<WBR>คอโรนัลแมส<WBR>อีเจกชัน<WBR>มีสาเหตุ<WBR>มาจากอะไร แต่พบว่ามัน<WBR>มักเกิดขึ้นจาก<WBR>ปรากฏการณ์อื่น<WBR>ที่เกิดขึ้น<WBR>ระดับ<WBR>คอโรนาชั้นล่าง บ่อยครั้ง<WBR>ที่พบว่าเกิดขึ้น<WBR>ร่วมกับแฟลร์<WBR>หรือโพรมิเนนซ์ (prominence) แต่บางครั้ง<WBR>ก็อาจเกิดขึ้น<WBR>โดยไม่มี<WBR>ปรากฏการณ์<WBR>สองอย่างนี้เลย นอกจากนี้<WBR>ความถี่ใน<WBR>การเกิดยังแปรผัน<WBR>ตามวัฏจักร<WBR>ของดวง<WBR>อาทิตย์อีกด้วย ในช่วงใกล้เคียง<WBR>กับช่วงต่ำสุด<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>อาจเกิด<WBR>คอโรนัล<WBR>แมสอีเจกชัน<WBR>ประมาณ<WBR>สัปดาห์ละครั้ง หากเป็นช่วง<WBR>ใกล้กับจุด<WBR>สูงสุด<WBR>ของดวงอาทิตย์ ก็อาจเกิดขึ้น<WBR>บ่อยถึงประมาณ<WBR>สองหรือสามครั้ง<WBR>ต่อวัน </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width=300></TD><TD width=460><< ตอนที่ 1 | | ตอนที่ 3 >></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width=300 bgColor=white><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=460>ผลกระทบของวัฏจักรดวงอาทิตย์ที่มีต่อโลก



    <DD>แม้ในชีวิตประจำวัน เราอาจรู้สึกว่าดวงอาทิตย์<WBR>ไม่ว่าจะวันไหนปีไหน<WBR>ก็ร้อนเหมือน ๆ กันทุกวัน จนดูเหมือนกับว่า<WBR>ดวงอาทิตย์ในช่วง<WBR>สูงสุดกับช่วงต่ำสุด<WBR>ปล่อยพลังงาน<WBR>ออกมาไม่ต่างกัน แต่ในความ<WBR>เป็นจริงแล้ว วัฏจักร<WBR>ของดวงอาทิตย์ส่งผล<WBR>ให้<WBR>พลังงานจากดวงอาทิตย์<WBR>ในช่วงสูงสุด<WBR>และช่วงต่ำสุด<WBR>แตกต่างกันมาก โดยเฉพาะ<WBR>ในย่านรังสีเอกซ์ ซึ่งต่างกัน<WBR>มากนับร้อยเท่า เหตุที่เรามัก<WBR>ไม่รู้สึกถึง<WBR>ความแตกต่าง<WBR>เนื่องจากแสง<WBR>และความร้อน<WBR>จากดวงอาทิตย์<WBR>ที่เราสัมผัสได้<WBR>นั้นเป็นเพียง<WBR>ส่วนแคบ ๆ ในช่วงพลังงาน<WBR>ทั้งหมดของ<WBR>ดวงอาทิตย์เท่านั้น พลังงานบาง<WBR>ช่วงความถี่เรา<WBR>ไม่สามารถสัมผัส<WBR>ได้และส่วนใหญ่<WBR>ก็ถูกดูดกลืน<WBR>ไปโดย<WBR>บรรยากาศโลก <DD>ผลกระทบที่เห็นเด่นชัดที่สุดคือ การเกิด<WBR>ปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้ (aurora) ซึ่งมีลมสุริยะ<WBR>เป็นปัจจัยหลัก<WBR>โดยตรง ในช่วงใด<WBR>ที่เกิดจุดดำ<WBR>บนดวงอาทิตย์มาก ก็จะเกิดแสงเหนือ-แสงใต้<WBR>บนโลกมาก หากช่วงใด<WBR>เกิดจุดดำบน<WBR>ดวงอาทิตย์น้อย ก็จะเกิด<WBR>แสงเหนือ-แสงใต้<WBR>บนโลกน้อย<WBR>ตามไปด้วย ในช่วงปี ค.ศ. 1645 ถึง 1715 ซึ่งเป็นช่วงต่ำ<WBR>สุดมอนเดอร์นั้น<WBR>แทบไม่มีรายงาน<WBR>การพบเห็น<WBR>แสงเหนือ-แสงใต้เลย </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>วงแหวนแวนอัลเลน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>นอกจาก<WBR>ปรากฏการณ์<WBR>แสงเหนือ-แสงใต้<WBR>แล้ว ยังพบว่าปรากฏการณ์<WBR>บนดวงอาทิตย์ยัง<WBR>มีความสัมพันธ์<WBR>กับอุณหภูมิ<WBR>และภูมิอากาศของโลกด้วย ดังตัวอย่างเช่น อุณหภูมิของ<WBR>บรรยากาศในชั้น<WBR>สตราโตสเฟียร์<WBR>พบว่ามีการเปลี่ยนแปลง<WBR>เป็นวัฏจักรที่มีคาบยาว 11 ปีเช่นเดียวกับ<WBR>วัฏจักรของ<WBR>ดวงอาทิตย์เช่นเดียวกัน <DD>ส่วนบรรยากาศชั้นล่างซึ่งเป็นชั้นที่เราสัมผัสอยู่นั้น การเปลี่ยนแปลง<WBR>บนโลกที่จะ<WBR>เกิดขึ้นตามวัฏจักร 11 ปีของ<WBR>ดวงอาทิตย์<WBR>อาจไม่เด่นชัดนัก สาเหตุอาจ<WBR>เป็นเพราะระบบ<WBR>บรรยากาศชั้นล่าง<WBR>มีความซับซ้อน<WBR>และมีตัวแปร<WBR>ของระบบมากกว่า<WBR>บรรยากาศชั้นบน นอกจากนี้<WBR>การที่ความเปลี่ยนแปลง<WBR>ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน<WBR>บรรยากาศ<WBR>ชั้นบนที่จะแพร่<WBR>กระจายลงมาถึง<WBR>บรรยากาศชั้นล่าง<WBR>ต้องใช้เวลานานหลายปี ความผันแปร<WBR>ที่มีคาบเพียง 11 ปีจึงมีการ<WBR>หักล้างลบหาย<WBR>ไปมากจนยาก<WBR>จะสังเกตได้ ดังนั้นความ<WBR>เปลี่ยนแปลงใน<WBR>บรรยากาศชั้นล่าง<WBR>ของโลกจึงมักขึ้น<WBR>กับความเปลี่ยนแปลง<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>ที่มีคาบยาว<WBR>กว่านั้น ดังเช่นใน<WBR>ช่วงต่ำสุดมอนเดอร์ อากาศใน<WBR>ยุคนั้นจะหนาว<WBR>เย็นผิดปรกติ เป็นที่<WBR>รู้จักกันในชื่อ "ยุคน้ำแข็งน้อย" (Little Ice Age) ภูเขาน้ำแข็งได้<WBR>แผ่กระจายออก<WBR>จากขั้วโลกเป็น<WBR>บริเวณกว้างที่สุด<WBR>นับจากยุคน้ำแข็ง<WBR>ครั้งล่าสุด แม่น้ำเทมส์<WBR>ในประเทศอังกฤษ<WBR>ถึงกับจับตัวเป็น<WBR>น้ำแข็งในฤดูหนาว<WBR>เลยทีเดียว นอกจาก<WBR>นี้ยังมีหลักฐาน<WBR>ว่าในช่วง<WBR>ศตวรรษที่ 12 เป็นช่วง<WBR>ที่มีปรากฏการณ์<WBR>บนดวงอาทิตย์<WBR>รุนแรงต่อเนื่องกัน<WBR>เป็นเวลานาน ซึ่งสอดคล้อง<WBR>กับช่วงเวลาที่ดินแดน<WBR>ตอนเหนือของโลก<WBR>มีอุณหภูมิอบอุ่น<WBR>เป็นพิเศษจนมี<WBR>คนไปตั้งรกรากอาศัย<WBR>อยู่บนแผ่น<WBR>ดินกรีนแลนด์ได้ แม้แต่<WBR>ทุกวันนี้ยัง<WBR>มีอุณหภูมิหนาวกว่า<WBR>ในยุคนั้นเสียด้วยซ้ำ <DD>ในช่วงจุดสูงสุดของดวงอาทิตย์ นอกจากลมสุริยะ<WBR>จะมีความเข้มข้น<WBR>และรุนแรงมาก<WBR>กว่าในช่วงอื่น ๆ แล้ว ยังมี<WBR>ความผันผวน<WBR>มากกว่าในช่วงอื่น ๆ อีกด้วย การเปลี่ยนแปลง<WBR>ความเข้ม<WBR>ของประจุไฟฟ้า<WBR>บริเวณรอบ ๆ โลกทำ<WBR>ให้สนามแม่<WBR>เหล็ก<WBR>โลกมี<WBR>การเปลี่ยน<WBR>แปลงตาม การเปลี่ยนแปลง<WBR>ความเข้ม<WBR>สนามแม่เหล็กนี้<WBR>อาจทำให้เกิด<WBR>การเหนี่ยวนำ<WBR>ไฟฟ้าขึ้นบน<WBR>วัตถุใด ๆ บนผิวโลก<WBR>ที่เป็นตัวนำไฟฟ้า<WBR>และมีความยาวมาก ๆ เช่น ท่อส่งน้ำมัน หรือสาย<WBR>ไฟฟ้าแรงสูง เป็นต้น ซึ่งกรณี<WBR>หลังอาจทำให้หม้อ<WBR>แปลง<WBR>ไฟฟ้าระเบิด<WBR>และระบบส่ง<WBR>จ่ายไฟฟ้า<WBR>ขัดข้องได้ เหตุการณ์ไฟดับ<WBR>ครั้งใหญ่<WBR>หลายครั้ง<WBR>ในอดีต ดังเช่น<WBR>ในปี 2532 ที่จังหวัด<WBR>ควิเบก<WBR>ของแคนาดา และที่<WBR>เมืองหนึ่ง<WBR>ในรัฐนิวเจอร์ซี<WBR>ของสหรัฐอเมริกา ก็คาดว่า<WBR>เป็นผลจากพายุ<WBR>สุริยะเหมือนกัน แต่อย่างไร<WBR>ก็ตาม เหตุการณ์นี้<WBR>มักจะเกิดกับพื้นที่ ๆ ใกล้กับ<WBR>ขั้วโลก สำหรับประเทศ<WBR>ไทย<WBR>ซึ่งตั้งอยู่แถบ<WBR>ศูนย์สูตร จะมีโอกาส<WBR>เกิดไฟฟ้าดับ<WBR>จากสาเหตุนี้<WBR>น้อยมาก ระบบอื่น<WBR>ที่อาจมีปัญหา<WBR>ก็คือ ระบบการสื่อสาร<WBR>ที่ใช้การสะท้อน<WBR>ของสัญญาณ<WBR>กับบรรยากาศ<WBR>ชั้นไอโอโนสเฟียร์ เพราะ<WBR>บรรยากาศชั้น<WBR>ไอโอโนสเฟียร์<WBR>นี้อาจเกิดการปั่นป่วน<WBR>เมื่อถูกโจมตี<WBR>จากการระเบิด<WBR>บนดวงอาทิตย์ <DD>แม้สิ่งที่ดวงอาทิตย์<WBR>จะสาดออกมากระหน่ำโลก<WBR>จะเป็นอนุภาคประจุไฟฟ้า แต่ตัวอนุภาค<WBR>เหล่านั้นแทบจะ<WBR>ไม่มีผลทางตรง<WBR>ต่อมนุษย์เลย เพราะโลก<WBR>ของเรามีสนาม<WBR>แม่เหล็กที่เข้มข้น<WBR>เป็นเกราะคุ้มกันอย่างดี ไม่ให้อนุภาค<WBR>พลังงานสูงเหล่านั้น<WBR>ทะลุเข้ามาถึงบรรยากาศ<WBR>โลกหรือทำอันตราย<WBR>ต่อสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลกได้ เมื่ออนุภาคประจุไฟฟ้า<WBR>จากลมสุริยะ<WBR>เข้าใกล้โลก จะเปลี่ยนทิศทาง<WBR>และวิ่งตีเกลียวไป<WBR>ตามเส้นแรงแม่เหล็ก<WBR>โลกจนดูเหมือน<WBR>กับอนุภาคเหล่านั้น<WBR>ถูกกักเอาไว้ในรูป<WBR>ของวงแหวน<WBR>ขนาดใหญ่รอบโลก เรียกว่า วงแหวนแวนอัลเลน (Van Allen Belt) มีอนุภาคเพียงส่วนเล็ก<WBR>น้อยเท่านั้น<WBR>ที่เล็ดลอด<WBR>ตามแนวที่เส้นแรง<WBR>แม่เหล็กตั้ง<WBR>ฉากกับพื้นโลก<WBR>เข้ามาถึงชั้น<WBR>บรรยากาศได้ แต่ถึงกระนั้น<WBR>ก็ยังไม่สามารถ<WBR>ทะลุถึงพื้นโลกได้อยู่ดี เพราะเมื่อ<WBR>อนุภาคเหล่านี้<WBR>กระทบถูกบรรยากาศ<WBR>โลกก็ถูกดูดกลืน<WBR>พลังงานไป ซึ่งเป็นสาเหตุ<WBR>ให้เกิดการเรือง<WBR>แสง<WBR>ขึ้นเป็นปรากฏการณ์<WBR>แสงเหนือ-แสงใต้<WBR>นั่นเอง </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom></TD><TD vAlign=bottom></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>สิ่งที่ดูจะเสี่ยงต่ออันตราย<WBR>ที่จะเกิดจาก<WBR>พายุสุริยะที่สุดคือ ดาวเทียมทั้งหลาย<WBR>ที่ลอยอยู่เหนือ<WBR>ชั้นบรรยากาศโลก เพราะพายุสุริยะ<WBR>ที่พัดมากระทบ<WBR>กับดาวเทียม<WBR>จะทำให้เกิด<WBR>ประจุไฟฟ้า<WBR>ขึ้นบนผิวของดาวเทียม ประจุไฟฟ้า<WBR>นี้ทำให้เกิด<WBR>สัญญาณไฟฟ้า<WBR>ไปรบกวน<WBR>กับอุปกรณ์<WBR>อิเล็กทรอนิกส์<WBR>ภายใน และอาจทำ<WBR>ให้ดาวเทียม<WBR>ทำงานผิดพลาดได้ เมื่อครั้งที่เกิด<WBR>พายุสุริยะในราวปี 2532 ก็เคยเกิด<WBR>เหตุการณ์ในลักษณะ<WBR>นี้มาแล้ว โดยดาว<WBR>เทียมดวงหนึ่ง<WBR>ได้เกิดจุด<WBR>ทรัสเตอร์ (จรวด<WBR>ขนาดเล็กข้าง ๆ ดาวเทียม<WBR>ที่ใช้สำหรับการ<WBR>ปรับทิศทาง<WBR>และตำแหน่ง<WBR>ของดาวเทียม) ขึ้นมาเอง ทำให้ดาวเทียม<WBR>เคลื่อนที่<WBR>ไปจาก<WBR>ตำแหน่งปกติ นอกจากนี้<WBR>ดาวเทียม<WBR>อีกหลายดวง<WBR>ก็ได้ขาด<WBR>การติดต่อไป ผู้ต้อง<WBR>สงสัยว่า<WBR>เป็นต้นเหตุใน<WBR>ครั้งนั้น<WBR>ก็คือพายุ<WBR>สุริยะนั่นเอง </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width=300></TD><TD width=460><< ตอนที่ 2 | | ตอนที่ 4 >></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width=300 bgColor=white><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width=460>การพยากรณ์พายุสุริยะ



    <DD>ดังจะเห็นได้ชัดแล้วว่า ลมสุริยะ<WBR>หรือพายุสุริยะ<WBR>มีฤทธิ์เดช<WBR>และอิทธิพล<WBR>ต่อโลกมาก<WBR>พอสมควร และสามารถ<WBR>สร้างความเสียหาย<WBR>แก่โลกได้ระดับหนึ่ง ดังนั้น<WBR>จึงต้องมีการเฝ้าติด<WBR>ตามดวงอาทิตย์<WBR>เพื่อพยากรณ์พายุ<WBR>ที่อาจเกิด<WBR>ขึ้นล่วงหน้า เพื่อจะได้เตรียมการ<WBR>รับมือกับปัญหา<WBR>ที่อาจเกิดจากลมสุริยะ<WBR>ได้อย่างทันท่วงที <DD>เราสามารถคาดการณ์สภาพลมฟ้าอากาศ<WBR>บนโลกและบรรยากาศชั้นล่างได้ จากการพยากรณ์<WBR>ของกรมอุตุนิยมวิทยา ถึงแม้ว่าวิทยาการ<WBR>ด้านอุตุนิยมวิทยา<WBR>มีการพัฒนามาเป็น<WBR>เวลานานและมี<WBR>ความก้าวหน้าความ<WBR>แม่นยำสูงมาก แต่สำหรับ<WBR>การพยากรณ์ลมฟ้าอากาศ<WBR>ในชั้นบรรยากาศเบื้องสูง<WBR>หรือสภาพต่าง ๆ เหนือชั้น<WBR>บรรยากาศของโลกไปนั้น ยังเป็นศาสตร์<WBR>ที่เพิ่งเริ่มต้น<WBR>ตั้งไข่เท่านั้น ประสิทธิภาพ<WBR>ในการพยากรณ์ขึ้น<WBR>อยู่กับความเข้าใจ<WBR>กลไกทั้งหมดของ<WBR>ระบบบรรยากาศเบื้องสูงและสภาพ<WBR>เหนือบรรยากาศโลก<WBR>ขึ้นไปรวมทั้ง<WBR>ปรากฏการณ์<WBR>บนดวงอาทิตย์ซึ่งยังมี<WBR>ข้อจำกัดอยู่มาก การพยากรณ์<WBR>บรรยากาศชั้นสูง<WBR>ในปัจจุบันนี้<WBR>จึงเป็นการสังเกตการณ์<WBR>จากการเกิดแฟลร์<WBR>และโพรงคอโรนา<WBR>เป็นสำคัญ </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>สัญญาณอันตราย เมื่อใดที่<WBR>พบแฟลร์มี<WBR>การบิดตัว<WBR>เป็นรูป<WBR>ตัวเอส (S) อย่างนี้<WBR>บนดวงอาทิตย์ มัก<WBR>จะตามมา<WBR>ด้วยการปะทุ<WBR>อย่างรุนแรง<WBR>ของลมสุริยะ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>ตามที่เราได้ทราบแล้วว่า การประทุ<WBR>ของลมสุริยะจะเกิด<WBR>จากแฟลร์ขนาดใหญ่<WBR>ที่มักเกิดบริเวณ<WBR>กระจุกของจุดดำ<WBR>หรืออาจเกิดจาก<WBR>คอโรนัลแมสอีเจกชัน ดังนั้น<WBR>การจะรู้ว่าจะมี<WBR>ลมสุริยะรุนแรงพัด<WBR>มาถึงโลก<WBR>อาจพอคาดการณ์<WBR>ได้จากแฟลร์<WBR>ขนาดใหญ่หรือ<WBR>กระจุกจุดดำ หาก<WBR>กระจุกจุดดำมี<WBR>ตำแหน่งที่จะพาด<WBR>ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ และหาก<WBR>มีการปะทุของแฟลร์<WBR>ในช่วงที่หันมา<WBR>ทางโลกพอดี ก็มีโอกาส<WBR>มากที่โลกจะถูก<WBR>กระหน่ำโดย<WBR>พายุสุริยะ <DD>รูปร่างของแฟลร์บริเวณกระจุกจุดดำ<WBR>ก็อาจถือเป็นสิ่งบอกเหตุ<WBR>ได้ว่าจะทำให้เกิด<WBR>การระเบิดใหญ่ นักดาราศาสตร์<WBR>ได้สังเกตพบว่า เมื่อใด<WBR>ที่แฟลร์มีการ<WBR>บิดตัวอย่างรุนแรง อาจ<WBR>เป็นจุดเริ่มต้น<WBR>ของการตัดขาด<WBR>และลัดวงจรของ<WBR>สนามแม่เหล็ก ซึ่งเป็น<WBR>จุดกำเนิดของ<WBR>การระเบิด<WBR>อย่างรุนแรงได้ </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD><DD>ดาวเทียมโซโฮอาศัยการสังเกต<WBR>การเรืองแสงอัลตรา<WBR>ไวโอเลต<WBR>ที่ผิวของฟอง<WBR>ไฮโดรเจน<WBR>ที่ล้อมรอบ<WBR>ระบบสุริยะ<WBR>ชั้นใน ทำให้นักดาราศาสตร์<WBR>สามารถมองเห็น<WBR>บริเวณปั่นป่วน<WBR>ของดวงอาทิตย์ได้<WBR>ตั้งแต่ตอนที่<WBR>ยังอยู่ที่ด้าน<WBR>ไกลของ<WBR>ดวงอาทิตย์ <DD>ภาพชุดนี้เป็นภาพถ่ายในย่าน<WBR>รังสีอัลตราไวโอเลต<WBR>ที่ถ่ายโดยกล้อง SWAN ของโซโฮ ครอบคลุม<WBR>พื้นที่ทั่วทั้งท้องฟ้า วงกลมสีฟ้า<WBR>ทางขวาคือภาพ<WBR>ท้องฟ้าซีกฟ้า<WBR>ที่ตรงกับด้านหลัง<WBR>ของดวงอาทิตย์ วงกลมสีฟ้า<WBR>ทางซ้ายคือภาพท้อง<WBR>ฟ้า<WBR>ซีกที่ตรง<WBR>กับด้านหลังโลก ส่วนวงกลม<WBR>สีเขียวทางขวา เป็นภาพ<WBR>ดวงอาทิตย์ด้านใกล้โลก<WBR>ในขณะนั้น<WBR>ที่ถ่ายโดยกล้อง EIT (Extreme ultraviolet Imaging Telescope)</DD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>ขณะนี้มีดาวเทียมหลายดวงที่มีหน้า<WBR>ที่คอยเฝ้าสังเกตการณ์<WBR>ดวงอาทิตย์<WBR>ตลอดเวลา ทำให้<WBR>สามารถแจ้งเหตุ<WBR>การกระโชก<WBR>ของลมสุริยะที่เกิด<WBR>จากคอโรนัล<WBR>แมสอีเจกชัน<WBR>ล่วงหน้าได้<WBR>ประมาณ 1 หรือ 2 วันก่อน<WBR>ที่จะพัด<WBR>มาถึงโลก ส่วนลมสุริยะ<WBR>ที่แรงและเร็วที่สุด<WBR>จะสามารถเตือนล่วงหน้า<WBR>ได้ประมาณครึ่งชั่วโมง เวลาเท่านี้<WBR>ถือว่าเพียงพอ<WBR>สำหรับโรงไฟฟ้า<WBR>ที่จะเตรียมการ<WBR>ระบบจ่ายไฟ<WBR>หรือระบบป้อง<WBR>กัน<WBR>ฉุกเฉิน เพื่อรับมือ<WBR>กับความแปรปรวน<WBR>ที่จะเกิดขึ้น<WBR>จากสนาม<WBR>แม่เหล็ก และยัง<WBR>นานพอที่จะเตือน<WBR>นักดาราศาสตร์<WBR>และประชาชน<WBR>ให้ตื่นขึ้น<WBR>มาดูแสงเหนือ-แสงใต้<WBR>ได้ <DD>ระยะเวลาล่วงหน้าของการพยากรณ์นี้ถูกจำกัดจากหลายปัจจัย เช่นโดย<WBR>ธรรมชาติ<WBR>ที่มีอายุสั้น<WBR>ของแฟลร์ และโดย<WBR>ความที่ยังไม่เข้าใจ<WBR>อย่างถ่องแท้<WBR>ถึงกลไกการเกิด<WBR>แฟลร์<WBR>และ<WBR>คอโรนัล<WBR>แมสอีเจกชัน ตำแหน่ง<WBR>การสังเกตการณ์<WBR>ยังเป็นอุปสรรค<WBR>สำคัญในการ<WBR>พยากรณ์<WBR>อีกด้วย การ<WBR>สังเกตการณ์จากโลก<WBR>และดาวเทียมบริเวณโลก<WBR>จะมองเห็นผิว<WBR>ของดวงอาทิตย์ได้<WBR>เฉพาะด้านที่<WBR>หันเข้าสู่โลกเท่านั้น แต่<WBR>ไม่สามารถมองเห็น<WBR>สิ่งที่เกิดขึ้นบน<WBR>ผิวดวงอาทิตย์ด้าน<WBR>ตรงข้ามได้เลย หาก<WBR>สามารถมอง<WBR>เห็นสิ่งที่เกิดขึ้น<WBR>บนดวงอาทิตย์<WBR>ฝั่งตรงข้ามได้แล้ว นัก<WBR>ดาราศาสตร์<WBR>คงจะสามารถ<WBR>พยากรณ์การเกิด<WBR>พายุสุริยะล่วง<WBR>หน้าได้นานขึ้น <DD>ความหวังของนักดาราศาสตร์เริ่มสดใสขึ้นเมื่อดาวเทียมโซโฮ (SOHO) สามารถมอง<WBR>เห็นสภาพของดวงอาทิตย์<WBR>ฝั่งตรงข้ามได้ ทั้ง ๆ ที่ตัว<WBR>ดาวเทียมเองอยู่ใน<WBR>ตำแหน่งด้านหน้า<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>เช่นเดียวกับโลก <DD>เคล็ดลับของโซโฮอาศัยหลักการว่า ลมสุริยะ<WBR>ที่พัดออกจากดวงอาทิตย์<WBR>จะพัดพาอะตอมไฮโดรเจน<WBR>ที่กระจัดกระจายอยู่บริเวณสุริยะชั้น<WBR>ในไปรวมตัวเป็น<WBR>ชั้นของไฮโดรเจน<WBR>โดยรอบ จนดูเหมือนกับ<WBR>ว่ามีฟองก๊าซไฮโดรเจน<WBR>ล้อมรอบระบบสุริยะ<WBR>ชั้นใน ฟองไฮโดรเจน<WBR>นี้มีความหนาแน่น<WBR>ประมาณ 100 อะตอม<WBR>ต่อลิตร ถึงแม้ว่า<WBR>จะเบาบางมาก แต่ก็ยัง<WBR>หนาแน่นพอที่<WBR>จะเรืองแสงอัลตราไวโอเลต<WBR>ได้ เมื่อรังสี<WBR>ที่ปล่อยจากบริเวณ<WBR>กลุ่มจุดดำหรือแฟลร์<WBR>บนดวงอาทิตย์<WBR>กระทบถูกผนังของฟองนี้ จะกระตุ้น<WBR>ให้มีการเรืองแสง<WBR>อัลตราไวโอเลตบริเวณ<WBR>ที่ตรงกับด้าน<WBR>ที่เกิดแฟลร์<WBR>บนดวงอาทิตย์<WBR>ซึ่งตรวจจับได้<WBR>โดยกล้องสวอน (SWAN-Solar Wind Anisotropies) ของโซโฮ ดังนั้นจึงเป็นไปได้<WBR>ที่เราสามารถรับรู้<WBR>ถึงการปะทุของ<WBR>แฟลร์บนดวง<WBR>อาทิตย์ที่อยู่<WBR>ด้านตรงข้าม<WBR>กับโลกได้ โดยการ<WBR>สังเกตการ<WBR>เรืองแสง<WBR>ของฟองไฮโดรเจน<WBR>นี้ ภาพของจุดเรืองแสง<WBR>ที่ปรากฏบน "จอ" นี้จะ<WBR>เคลื่อนที่ไป<WBR>ตามการหมุน<WBR>รอบตัวเองของ<WBR>ดวงอาทิตย์ </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ภาพชุดถ่ายเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2539 ในภาพนี้ วงกลมซ้าย<WBR>ซึ่งแสดงซีกท้อง<WBR>ฟ้า<WBR>ไกลของดวง<WBR>อาทิตย์<WBR>มีการเรือง<WBR>แสง<WBR>อัลตราไวโอเลต แสดงว่า<WBR>มีรังสีอัลตราไวโอเลต<WBR>เข้มข้นถูกสาด<WBR>ออกจากแฟลร์<WBR>ขนาดใหญ่<WBR>ที่อยู่ด้านไกล<WBR>ของดวงอาทิตย์ ในขณะเดียวกัน<WBR>ที่ภาพถ่าย<WBR>ดวงอาทิตย์ (สีเขียว) ยังไม่เห็น<WBR>แฟลร์ใหญ่นี้เลย</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ภาพถ่ายท้องฟ้า<WBR>และดวงอาทิตย์<WBR>ที่ถ่ายเมื่อ 10 วันหลังจากนั้น (ภาพชุดล่าง) บริเวณเรืองแสง<WBR>ของท้องฟ้าที่เคย<WBR>ปรากฏทางด้านไกล<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>ได้เคลื่อนมา<WBR>อยู่ที่ด้านใกล้<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>แล้ว ในขณะ<WBR>เดียวกันภาพถ่าย<WBR>โดยตรงของดวงอาทิตย์ (สีเขียว) ก็ปรากฏแฟลร์<WBR>ขนาดใหญ่ที่เป็นต้นกำเนิด<WBR>ของการเรืองแสง<WBR>นั้นได้หมุน<WBR>มาปรากฏอยู่<WBR>ที่ด้านหน้าของ<WBR>ดวงอาทิตย์พอดี</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>

    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ภาพของฉากหลังของฟองไฮโดรเจน ถ่ายเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2540 ซึ่งเป็นช่วงที่<WBR>ดาวหางเฮล-บอพพ์<WBR>เข้ามาในระบบสุริยะ<WBR>ชั้นใน ชั้นไฮโดรเจน<WBR>ขนาดใหญ่<WBR>ดาวหางได้บัง<WBR>รังสีอัลตราไวโอเลต<WBR>จากดวงอาทิตย์<WBR>เอาไว้ จึงปรากฏเงา<WBR>ของดาวหางเฮล-บอพพ์<WBR>ในภาพนี้ด้วย (ขีดยาวสีดำด้านบน) </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom></TD><TD vAlign=bottom></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460>คาดหมายความเสียหายที่จะเกิดในรอบนี้

    <DD>ในขณะนี้ (ต้นปี 2543) จำนวนจุดดำบนดวงอาทิตย์<WBR>กำลังเพิ่มจำนวนขึ้น<WBR>ตามลำดับ<WBR>ตามวัฎจักร<WBR>ของดวงอาทิตย์ ช่วงสูงสุด<WBR>ของวัฏจักรสุริยะ<WBR>จะกินระยะเวลา<WBR>ยาวนานพอสมควร โดยอาจจะ<WBR>นานหลายเดือน<WBR>หรืออาจเกิน 1 ปี สำหรับช่วงสูงสุด<WBR>ในครั้งนี้คาดว่า<WBR>จะเกิดขึ้นใน<WBR>ช่วงตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2543 จนถึง<WBR>กลางปี 2544 <DD>คาดว่าการขึ้นถึงจุดสูงสุดของวัฎจักรรอบ<WBR>นี้น่าจะเป็นครั้งที่<WBR>สร้างความเสียหาย<WBR>มากที่สุด แต่สาเหตุ<WBR>ไม่ใช่เพราะว่า<WBR>ความปั่นป่วน<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>จะมีความรุนแรง<WBR>มากกว่า<WBR>รอบอื่น หากเป็นเพราะ<WBR>ในปัจจุบันมี<WBR>เทคโนโลยีใหม่ ๆ มากมาย<WBR>ที่อ่อนไหวต่อ<WBR>ลมสุริยะมากกว่าเมื่อ 11 ปีที่แล้วมาก อาทิเช่น โทรศัพท์มือถือ วิทยุติดตามตัว ระบบนำร่อง<WBR>ด้วยจีพีเอส เป็นต้น เทคโนโลยี<WBR>เหล่านี้ ล้วนต้องพึ่งพา<WBR>ระบบดาวเทียม<WBR>สื่อสาร ซึ่งลอยตัว<WBR>อยู่เหนือชั้น<WBR>บรรยากาศโลก<WBR>นับหมื่น<WBR>กิโลเมตร หากดาวเทียม<WBR>สื่อสารที่ใช้งานอยู่<WBR>เกิดเสียหาย<WBR>หรือขัดข้อง<WBR>จากการถูก<WBR>โจมตีของ<WBR>ลมสุริยะ ย่อมส่งผล<WBR>ให้เกิดความเสียหาย<WBR>อย่างมากทั้งทาง<WBR>เศรษฐกิจและ<WBR>ในด้านความ<WBR>ปลอดภัย ดังนั้นผู้<WBR>ที่ใช้เทคโนโลยี<WBR>ดาวเทียมจึง<WBR>จำเป็นต้อง<WBR>มีแผนสำรอง<WBR>เอาไว้ในช่วงเวลาดังกล่าว<WBR>เผื่อระบบดาวเทียม<WBR>เกิดขัดข้องจริง ๆ นักเดินเรือ<WBR>อาจจะต้องพกแผน<WBR>ที่<WBR>กับเข็มทิศ<WBR>ออกเดินเรือด้วย เพราะวิธี<WBR>บอกตำแหน่ง<WBR>แบบโบราณ<WBR>อย่างนี้<WBR>อาจจำเป็นต้อง<WBR>นำมาใช้ หากระบบ<WBR>จีพีเอสขัด<WBR>ข้องในระหว่าง<WBR>เดินเรือ เป็นต้น <DD>จะเห็นว่า ผลเสียที่เกิดขึ้นนั้น จะเกิดขึ้นกับดาวเทียม<WBR>เป็นส่วนใหญ่ซึ่งอยู่เหนือ<WBR>ชั้นบรรยากาศโลก แต่จะไม่มีผลร้าย<WBR>โดยตรงกับร่างกาย<WBR>หรือชีวิตของมนุษย์<WBR>ที่อยู่บนพื้นโลก เพราะ<WBR>อนุภาคอันตราย<WBR>จากดวงอาทิตย์<WBR>ไม่สามารถทะลุ<WBR>ทะลวงเข้ามาถึง<WBR>พื้นโลกได้ เนื่องจากโลก<WBR>ของเรามีเกราะ<WBR>กำบังหลายชั้น ทั้งวงแหวน<WBR>แวนอัลเลน<WBR>และบรรยากาศ<WBR>ของโลก แม้แต่<WBR>นักบินอวกาศ<WBR>ที่ปฏิบัติหน้าที่<WBR>อยู่บนอวกาศ ก็ยัง<WBR>คงปลอดภัยจาก<WBR>ลมสุริยะเพราะ<WBR>มียานอวกาศ<WBR>และชุดอวกาศ<WBR>เป็นสิ่งคุ้มกัน<WBR>อย่างดีอยู่แล้ว <DD>ถึงตอนนี้เราได้รู้จักกับลมสุริยะ พายุสุริยะ ตลอดจน<WBR>ปรากฏการณ์<WBR>ข้างเคียงต่าง ๆ รวมถึง<WBR>ธรรมชาติ<WBR>ของดวงอาทิตย์<WBR>ได้ในระดับหนึ่ง หวังว่า<WBR>เราคงจะประเมิน<WBR>ภาพคร่าว ๆ ของผล<WBR>กระทบ<WBR>จากพายุสุริยะ<WBR>ที่จะเกิดขึ้น<WBR>ในช่วงปี 2543-44 นี้ได้พอสมควร และสามารถ<WBR>พิจารณาได้ว่า<WBR>ควรจะตื่นกลัว<WBR>หรือตื่นเต้น<WBR>กับปรากฏการณ์<WBR>ธรรมชาตินี้<WBR>มากน้อยเพียงใด </DD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 สิงหาคม 2005
  9. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ติดตามค้นหาพระศรีอารย์ในตำนาน

    เรื่องของพระศรีอาริยเมตไตรย ที่ลงมาเกิดในช่วงกลางของพระพุทธศาสนานี้ (ตั้งแต่ พ.ศ.2500 ปีขึ้นไป) เพื่อช่วยสืบทอดอายุของพระพุทธศาสนาของพระสมณะโคดมให้ยืนยาวไปจนครบ 5,000 ปี ในฐานะพระเจ้าจักรพรรดิ์ปกครองโลกนี้ มีกล่าวถึงในคำทำนายต่างๆ มากมาย ทั้งในศาสนาพุทธ(พระศรีอารย์), ศาสนาคริสต์(พระเมษโปดก), ศาสนาอิสลาม(นบีอีซา) ว่าท่านจะลงมาเกิดช่วยเหลือมวลมนุษย์ให้รอดพ้นจากภัยพิบัติในช่วงกลียุคนี้

    ผมจึงเกิดความสนใจที่จะค้นหาพระศรีอารย์ในตำนานที่กล่าวถึงนี้ว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน และจะมาทำอะไรให้กับโลกในยุคสมัยนี้ พบว่ามีผู้กล่าวอ้างตัวว่าเป็นพระศรีอารย์กันอย่างมากมาย ซึ่งก็เป็นการยากที่จะระบุแน่ชัดลงไปว่าใครเป็นพระศรีอารย์ตัวจริงกันแน่ ผมจึงมุ่งเป้าประเด็นค้นหาลงไปที่ผลงานของแต่ละท่านที่ได้นำเสนอต่อสาธารณชน พบว่าส่วนใหญ่อ้างเอาคำสอนของพระพุทธเจ้ามาเป็นคำสอนที่ตัวเองค้นพบใหม่จึงไม่น่าสนใจ แต่ผมมาสดุดใจอยู่กับท่านหนึ่งที่ไม่ได้นำเสนอในแนวนั้น แต่ได้นำเสนอว่าตัวท่านเองมีแนวทางที่จะช่วยเหลือชาวโลกได้อย่างไร

    ท่านผู้นี้มีนามว่า ทลิททกะ เมษโปดก ท่านได้แต่งหนังสือไว้เล่มหนึ่งมีชื่อว่า "สิริอริยธรรมิกราชโพธิสัตต์" คิดว่าหลายๆ ท่านในที่นี้คงได้เคยอ่านหนังสือเล่มนี้กันแล้ว พบว่าในหนังสือเล่มนี้ได้บรรยายเรื่องราวของพระศรีอารย์ที่ลงมาเกิดในกึ่งกลางพุทธศาสนานี้ไว้อย่างน่าสนใจทีเดียว ผมจึงได้อีเมล์ไปสอบถามกับท่านทลิททกะผู้นี้ว่าตัวท่านเป็นพระศรีอารย์ใช่หรือไม่ และมีจุดประสงค์อันใดกับการแต่งหนังสือเล่มนี้ ก็ได้รับคำตอบกลับมาว่าตัวท่านเองก็ไม่ยืนยันว่าท่านจะเป็นพระศรีอารย์หรือไม่ แต่ยืนยันในเจตนารมย์ที่จะดำเนินการให้ได้ตามที่ท่านได้เขียนเอาไว้ในหนังสือนั้นจริงๆ ผมได้ส่งคำถามทางอีเมล์กับท่านทลิททกะอยู่ระยะหนึ่ง ได้รับทราบถึงแนวความคิดที่น่าทึ่งอีกมากมาย แต่ก็ไม่สามารถจะยืนยันกับท่านผู้อ่านว่าท่านทลิททกะผู้นี้จะเป็นพระศรีอารย์หรือไม่เพราะเกินวิสัยของข้าพเจ้าที่จะหยั่งรู้ได้ ได้แต่อาศัยกาลเวลาเท่านั้นที่จะเป็นเครื่องพิสูจน์

    เดิมทีผมคิดจะเก็บเรื่องในอีเมล์ที่ได้คุยกับท่านทลิททกะไว้เป็นการส่วนตัว แต่เมื่อมาคิดอีกทีว่าถ้าเรื่องนี้เป็นเรื่องจริง ก็จะเป็นข่าวสำคัญที่บอกให้ชาวโลกได้รับรู้ว่าพระศรีอารย์ได้มาบังเกิดในโลกนี้แล้ว ผมจึงได้คัดลอกบางส่วนของอีเมล์ที่น่าสนใจมานำเสนอให้ท่านผู้อ่านได้รับรู้ ส่วนท่านจะเชื่อหรือไม่ก็แล้วแต่วิจารณญาณของท่านเอง.............

    จดหมายถึงท่านทลิททกะ ผมได้สอบถามเรื่องเมืองใหม่ในจินตนาการ

    สวัสดีครับ คุณทลิททกะ กระผมรู้สึกประทับใจมากเมื่อได้อ่านหนังสือ สิริอริยะ ธรรมิกราชโพธิสัตต์ในครั้งแรก และทึ่งกับความพากเพียรพยายามในการค้นหาตัวตนที่แท้จริงขององค์พระศรีอาริย์ และรู้สึกศรัทธาในความอดทนต่อคำดูหมิ่น ดูแคลนจากบุคคลทั้งหลายที่มาเกี่ยวพันกับตัวคุณ ครั้งแรกที่ได้อ่านนิยายเรื่องนี้รู้สึกอัศจรรย์ใจ ที่เด็กหนุ่มอายุไม่ถึง 30 ปีสามารถแต่งหนังสืออิงหลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนาได้ละเอียดละออ ลึกซึ้งมากถึงขนาดนี้ แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจจริงที่จะมาฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้กลับมาสะอาดบริสุทธิ์ดังเดิม เรื่องตำนานพระศรีอารย์นี้กระผมมีความเชื่อมานานแล้วว่าท่านจะต้องลงมาเกิดเพื่อรักษาพระศาสนาขององค์พระสมณะโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้าในกึ่งพุทธกาลนี้แน่นอน เมื่อมาได้อ่านหนังสือ สิริอริยะ ธรรมิกราชโพธิ์สัตต์ทำให้กระผมเกิดความมั่นใจว่าได้พบ กับบุคคลที่กระผมรอคอยมานานแล้ว
    และในโอกาสนี้กระผมขอสนธนาธรรมในเรื่องของพระศรีอารย์ต่อไปนะครับ จากตำนานพระศรีอารย์ที่คุณรหัสยญาณได้รวบรวมไว้ได้กล่าวว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2005
  10. tamsak

    tamsak ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2004
    โพสต์:
    7,857
    กระทู้เรื่องเด่น:
    22
    ค่าพลัง:
    +161,171
    ขอสนับสนุนและให้กำลังใจแก่คุณเกษมในการที่จะนำข้อมูลเกี่ยวกับคำทำนายเรื่องภัยพิบัติต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นแก่ประเทศไทย
    มาเผยแพร่ให้ได้อ่านกันต่อไป ส่วนใครจะเชื่อหรือไม่เชื่อก็สุดแท้แต่วิจารณญาณของแต่ละท่าน เรื่องเหล่านี้รับรู้รับทราบ
    ไว้ก็ไม่ใช่เรื่องเสียหายอะไร ถ้าผู้รับข้อมูลข่าวสารอ่านด้วยความมีสติและใช้วิจารณญาณเข้ามาพิจารณา....

    สู้ต่อไปครับ คุณเกษม.....
     
  11. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    คำทำนายวันเวลาที่ 11-11 โดย อ.ปริญญา ตันสกุล

    จักรวาลได้เผยให้มนุษย์ได้ทราบล่วงหน้าแล้วว่า วันแห่งหายนะซึ่งจะชำระโลกสถานหนักคือเวลาที่ 11-11

    ดวงอาทิตย์ดวงใหญ่นอกระบบเอกภพ พร้อมด้วยดวงจิตจักรวาลจำนวนมาก จะร่วมมือกันส่งคลื่นพลังงานความรักความถี่สูงพร้อมไอเย็นมายังดวงอาทิตย์ของระบบสุริยะ เพื่อสร้างปฎิกิริยาให้เกิดการระเบิดขึ้นบนพื้นผิวของดวงอาทิตย์ ก่อให้เกิดคลื่นความถี่วิทยุและพลังงานไฟฟ้าแม่เหล็กที่เข้มข้นสูงสุด ในรอบหนึ่งหมื่นสองพันปีแผ่กระจายออกมาจากจุดดับบนดวงอาทิตย์ เป็นพายุสุริยะมุ่งสู่ดวงจันทร์และโลก ด้วยอัตราความเร็ว 1 หนึ่งล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยคลื่นวิทยุความถี่สูง ซึ่งเป็นคลื่นไฟฟ้าแม่เหล็กเช่นกัน จะเป็นผู้นำทางให้พลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าที่เข้มข้นถึงเป้าหมายที่ต้องการได้

    ทันทีที่ดวงจันทร์ได้รับคลื่นพลังงานที่เข้มข้น ซึ่งแผ่ผ่านมาจากดวงอาทิตย์ พลังงานภายในระบบของดวงจันทร์จะถูกอัดกระแทกอย่างรุนแรง ก่อให้เกิดการรวมตัวกันเป็นคลื่นพลังงานไฟฟ้าแม่เหล็กที่เข้มข้น ยิ่งกว่าที่ถูกส่งมาจากจุดดับบนดวงอาทิตย์ มันจะดันทะลุจากด้านหนึ่งของดวงจันทร์ที่รับคลื่นพายุสุริยะ พุ่งผ่านมายังดาวโลกอีกทอดหนึ่ง ระหว่างเกิดกระบวนการนี้สามารถจะรับรู้แรงสั่นสะเทือนทางกายภาพของดวงจันทร์ได้ไม่น้อย

    พายุแม่เหล็กทั้งที่เดินทางมาจากดวงอาทิตย์โดยตรง และจากการเสริมพลังของดวงจันทร์บริวารของโลกมีความเข้มข้นสูงมากกว่าปรกติ ส่วนใหญ่จึงสามารถฝ่าแนวแม็กนิโตสเฟียหรือสนามแม่เหล็กโลก ซึ่งห่อหุ้มบรรยากาศโลกเข้ามาได้ เมื่อพายุจากฟ้าพุ่งผ่านเข้ามาสู่บรรยากาศโลกได้ มันจะพุ่งตัวเข้าอัดกระแทกกับพื้นโลกในทันที

    ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติอันเป็นผลลัพธ์ของกระบวนการที่เกิดขึ้น จากการกระทำทางเทคนิคต่อดาวเคราะห์โลกจากนอกระบบโลก จะก่อให้เกิดพายุแม่เหล็กในอากาศอย่างรุนแรง ท้องฟ้าวิปริตแปรปรวน และพายุฝนฟ้าคะนองบดบังแสงอาทิตย์อยู่ยาวนาน คลื่นทะเลจะปั่นป่วน ภาวะน้ำท่วมใหญ่จะเกิดขึ้นไปทั่ว ขณะที่สายฟ้าผ่าจะอัดกระแทกมายังพื้นโลกนับครั้งไม่ถ้วน ทุกสิ่งที่ถูกอัดกระแทกมันจะพังทลายลงมากองกับพื้นดินชั่วพริบตาเดียว ไม่ละเว้นแม้แต่สิ่งที่มีชีวิตที่จะต้องล้มลงกับกองเถ้าถ่าน ของซากปรักหักพังเหล่านั้น ผู้ที่เคยสบถสาบานขอให้ฟ้าผ่าตาย แต่ไร้สัจจะพึงระวังตนให้ดี

    นอกจากนั้น ผลการกระทำทางเทคนิคจากนอกระบบโลก ยังจะก่อให้เกิดพายุแม่เหล็กในอากาศกลายเป็นพายุหมุนทอร์นาโดรูปกรวยยักษ์พุ่งเข้ากระแทนพื้นโลกอย่างรุนแรงด้วยเช่นกัน มันจะกวาดชำระทุกสิ่งในเส้นทางการเคลื่อนตัวของมันให้กลายเป็นพื้นที่ราบ ตามอำนาจความรุนแรงของมันดังที่มนุษย์รู้กันอยู่ภายในชั่วพริบตาเดียวเหตุการณ์ร้ายแรงเหล่านี้ มันจะเกิดขึ้นเป็นระยะๆ และถี่ขึ้นเรื่อยๆ โดยไม่มีใครคาดเดาได้ล่วงหน้าว่ามันจะเกิดขึ้นที่ไหน เมื่อไหร่ ผู้ไม่ประมาทและมีสติเท่านั้น จึงจะมีชีวิตรอดได้ ในท่ามกลางความเลวร้ายที่กล่าวมาแล้ว มนุษย์โลกไม่อาจหลีกเลี่ยงการกระทำทางเทคนิคของจักรวาล อันเป็นปรากฎการณ์เหนือธรรมชาติที่กล่าวนี้ไปได้

    ดินแดนที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเต็มไปด้วยจิตวิญญาณของนักรบแห่งแสงสว่าง ผู้ปฎิบัติตนอยู่ในความดีงามตามคำสอนของพระศาสดาแท้จริงเท่านั้น จะเป็นดินแดนปลอดภัยบนโลกใบนี้หลังจากที่โลกเกิดภาวะวิกฤตอย่างต่อเนื่อง จนถึงการชำระโลกครั้งสุดท้าย พื้นแผ่นดินเป้าหมายที่ถูกกำหนดไว้จะเป็นอาณาเขตแห่งหายะภัยที่มนุษย์โลกคาดไม่ถึง ในวันเวลาที่ 11 นั้นวันเวลาดังกล่าว การกระทำทางเทคนิคจากนอกระบบโลกและการกระทำทางเทคนิคจากในระบบโลกเอง มันจะเกิดขึ้นพร้อมกัน คลื่นพลังงานไฟฟ้าแม่เหล็กความถี่สูงที่เป็นพลังเย็นในระดับ 7 จะถูกส่งผ่านเข้ามาพุ่งตรงเข้าหาเป้าหมาย มันจะก่อให้เกิดพายุความเย็นจัดอย่างรุนแรงครอบคลุมไปทั่วเป้าหมายนั้น ขั้วโลกเหนือและขั้นโลกใต้จะปั่นป่วนแนวแกนแม่เหล็กโลกในใจกลางโลก จะเกิดการบิดตัวอย่างรุนแรงขึ้นพร้อมกัน เพราะมันถูกกระตุ้นให้เกิดการระเบิดขึ้นบริเวณของไหลที่อยู่ด้านบน เพื่อเปลี่ยนทิศทางของแนวแกนไปสู่ตำแหน่งที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว มันจะทำให้แผ่นดินใหญ่ของทวีปซึ่งมีมหาสมุทรคั่นกลาง เกิดการบิดตัวอย่างรุนแรงตามไปด้วย ขณะที่โลกจะปลดปล่อยคลื่นพายุแม่เหล็กออกมาอย่างรุนแรง อันเกิดจากการระเบิดภายในนั้นโดยมันจะรวมตัวกันเป็นคลื่นพลังงานไฟฟ้าแม่เหล็กที่เข้มข้น ดันทะลุผ่านชั้นเปลือกโลกแต่ละชั้นขึ้นมายังพื้นผิวดิน ทำให้แต่ละชั้นของเปลือกโลกซึ่งกำลังบิดตัวอยู่จะถูกคลื่นพลังงานอันมหาศาลกระแทกอัดให้เกิดการสั่นสะเทือนที่รุนแรง ยิ่งกว่าแผ่นดินไหวครั้งใดๆปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นมันจะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง จากในใจกลางโลกออกมาสู่พื้นผิวด้านบน โดยใช้ระยะเวลาของกระบวนการเพียง 9 นาทีเท่านั้น แต่การสั่นสะเทือนของแผ่นดินจะต่อเนื่องยาวนานร่วม 8 ชั่วโมงเลยทีเดียว

    ผลที่ปรากฎคือ แผ่นดินบางส่วนของภาคพื้นทวีปจะแยกตัวออกจากกัน ตามรอยร้าวของเปลือกโลกแต่ดั้งเดิมน้ำทะเลจะถาโถมเข้ามาแทนที่ บริเวณที่ราบริมฝั่งทะเลของทวีปนั้นจะจมลงใต้น้ำ ขณะที่บริเวณบางแห่งของเมืองใหญ่ พื้นแผ่นดินจะยุบตัวจมหายลงไปเบี้องล่าง พร้อมวัตถุที่ปลูกสร้างฝุ่นฟุ้งเปลวไฟ หมอกควัน และเสียงกัมปนาทมันจะเกิดขึ้นอื้ออึง ภายในเวลาไม่นานนักความสงบเงียบจะเริ่มก่อตัวขึ้นหลังจากนั้น 3 วันเต็ม ทั้งหมดที่กล่าวไว้ไม่ใช่มายา.....ไม่ใช่มายา.... มันคือกระบวนการกระทำทางเทคนิคของจักรวาล เพื่อการชำระระบบโลกเป็นครั้งที่ 4 นับแต่มีมนุษย์ดำรงอยู่บนโลกใบนี้

    ที่มา:- หนังสือวันเวลาที่สิบเอ็ด รหัสแห่งหายะโลก ถ่ายทอดคลื่นความคิดจากจิตจักรวาลโดย อ.ปริญญา ตันสกุล MBA.,M.S. PARINYA TANSAKUL MBA .,M.S.
     
  12. Chayutt

    Chayutt รูปเดิมไม่เคยเปลี่ยนเลยครับ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    6,408
    ค่าพลัง:
    +50,772
    หนังสือชุดนี้ของ อ.ปริญญา ตันสกุล ผมก็ได้อ่านแล้วเช่นเดียวกันครับ ตอนนั้นหนังสือชุดนี้มี 16 เล่ม ผมอ่านไป 14 เล่ม เมื่อ 1-2 ปีที่แล้ว พบว่ามีทั้งแง่มุมที่น่าเชื่อถืออย่างมาก และที่ไม่น่าเชื่ออย่างมากด้วยในขณะเดียวกัน ตัวอย่างเช่น คำอธิบายเกี่ยวกับกลไกของการหยั่งรู้ของจิตตอนนั่งสมาธิเกี่ยวกับการทำงานของสมองซีกขวานำซ้ายนี่น่าสนใจมาก แต่กรณีของเรื่องน้ำหนักของจิตวิญญาณของมนุษย์ ที่บอกว่าหนัก 50 มิลลิกรัมพอดี กับน้ำหนักของพลังงานกรรมที่มนุษย์ทำขึ้นจะหนัก 10 มิลลิกรัมนี่ ผมว่ามันแปลกๆอยู่นะครับ เพราะนี่มันหนักมากเกินไปครับ และอีกประเด็นหนึ่งที่ขัดแย้งกับผลการศึกษาทางดาราศาสตร์อยู่มากคือเรื่องของมนุษย์ต่างดาวที่อาศัยอยู่บนดาวเคราะห์และดวงจันทร์บางดวงของดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาลของเรานี้ ผมอ่านแล้วก็ได้นำข้อมูลมาเทียบเคียงกับข้อมูลทางวิทยาศาสตร์รู้สึกว่าไม่สอดคล้องกันเลยครับ เช่นที่บอกว่าบนดาวอังคารมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ บนดาวพุทธมีต้นไม้และสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่และอีกมากมายทำนองนี้ ลองเทียบจากข้อมูลข้างล่างนี้นะครับ ไม่ใช่ว่าผมไม่เชื่อหรอก ผมอยากเชื่อจะตายไป อยากให้เป็นจริงอย่างที่เขียนไว้นั้น แต่ก็อดสงสัยไม่ได้เลยพยายามค้นคว้าข้อมูลทางวิทยาศาสตร์มาประกอบอยู่เรื่อยๆ แต่โดยรวมแล้วหนังสือชุดนี้อ่านแล้วตื่นเต้น และท้าทายความกระหายใคร่รู้ของผมเป็นอันมาก โดยรวมแล้วก็ชอบครับ
    <TABLE height=75 cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top background=marsmissions0.jpg>จาก http://thaiastro.nectec.or.th/library/marsmissions2003/marsmissions2003.html

    มหกรรมสำรวจดาวอังคารปี 2546


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD align=right>วิมุติ วสะหลาย, วรเชษฐ์ บุญปลอด (wimut@hotmail.com, worachateb@hotmail.com)
    2 พฤศจิกายน 2546</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom></TD><TD vAlign=bottom></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เป็นช่วงเวลาที่สายตาของคนทั้งโลกเฝ้าจับตาด้วยความตื่นเต้นกับภาพดาวอังคารที่สุกสกาวเปล่งปลั่งไร้ผู้เทียมทานบนท้องฟ้าอย่างที่ไม่ได้เห็นมานานถึง 16 ปี ขณะนี้ดาวอังคารแม้ยังคงโดดเด่นอยู่บนท้องฟ้า แต่ก็หรี่ลงจากเมื่อเดือนสิงหาคมมาก และยังคงค่อย ๆ หรี่แสงลงเรื่อย ๆ จนนักดูดาวหลายคนเริ่มไม่ค่อยสนใจแล้ว บางคนอาจหันไปให้ความสนใจไปยังดาวเสาร์ที่เริ่มโดดเด่นขึ้นทุกวัน แต่สำหรับนักวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์แล้ว ช่วงเวลานี้นับเป็นช่วงที่เขาใจจดใจจ่อกับดาวอังคารด้วยใจจดจ่อ เนื่องจากขณะนี้มียานอวกาศที่อยู่ในระหว่างการเดินทางไปสู่ดาวอังคารถึง 4 ลำ <DD>ยานทั้งสี่นี้เป็นของนาซาสองลำ จากองค์การอวกาศยุโรปหนึ่งลำ และของญี่ปุ่นอีกหนึ่งลำ </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>
    [​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ยานมาร์สเอกซ์พลอเรชันโรเวอร์</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>ยานของนาซาทั้งสองลำเป็นยานฝาแฝด ลำหนึ่งชื่อ สปิริต และ ออปพอร์ทูนิตี อยู่ภายใต้ภารกิจเดียวกันชื่อมาร์สเอกซ์พลอเรชันโรเวอร์ ออกเดินทางไปตั้งแต่เดือนมิถุนายนและกรกฎาคมตามลำดับ ยานสปิริตมีกำหนดถึงดาวอังคารในวันที่ 4 มกราคม 2547 ส่วนยานออปพอร์ทูนิตี จะไปถึงในวันที่ 25 มกราคม 2547 </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>
    [​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ยานมาร์สเอกซ์เพรส</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>ในขณะที่นักวิทยาศาสตร์ของนาซาอาจมีประสบการณ์กับยานสำรวจดาวอังคารมาแล้วหลายลำ แต่สำหรับนักดาราศาสตร์ขององค์การอวกาศยุโรป ยานมาร์สเอกซ์เพรส ซึ่งได้ปล่อยสู่อวกาศไปเมื่อวันที่ 2 มิถุนายนนั้น กำลังจะสร้างประวัติศาสตร์เป็นยานสำรวจดาวอังคารลำแรกขององค์การ ยานลำนี้จะเดินทางไปถึงดาวอังคารก่อนใครเพื่อนในวันคริสต์มาสปีนี้ <DD>อย่างไรก็ตาม จากการทดสอบอุปกรณ์หลังจากมาร์สเอกซ์เพรสได้ขึ้นสู่อวกาศแล้วพบว่า มีปัญหาเกิดขึ้นกับระบบส่งกำลังของยาน แม้ปัญหานี้จะไม่ร้ายแรงถึงขั้นทำให้ภารกิจล้มเหลว แต่ก็ทำให้กำลังของยานลดลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์ </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=300><TABLE border=0><TBODY><TR width="100%"><TD align=middle><TABLE><TBODY><TR><TD vAlign=bottom>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom>
    [​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TR><TD>ยานโนะโซะมิขององค์การอวกาศญี่ปุ่น</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=460><DD>ในเดือนมกราคมปี 2546 หากไม่มีปัญหาใด ๆ ญี่ปุ่นก็จะเป็นประเทศแรกในเอเชียที่ส่งยานอวกาศไปสำรวจดาวเคราะห์เป็นผลสำเร็จ เมื่อยานโนะโซะมิเดินทางไปถึงดาวอังคาร ความจริงยานลำนี้ควรจะไปถึงดาวอังคารตั้งแต่ปี 2542 แล้ว แต่เกิดปัญหาระหว่างทาง ทำให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนงานใหม่รวมถึงเส้นทางการเดินทางใหม่ ปัญหาในครั้งนั้นร้ายแรงจนเกือบถึงกับเป็นหายนะเลยทีเดียว ไม่เพียงแต่เวลาที่ต้องเสียไปถึงสามเท่า งบประมาณที่ต้องใช้ในการดูแลก็มากขึ้นเป็นเงาตามตัว <DD>แต่อุปสรรคยังคงตามรังควาญโนะโซะมิอย่างไม่เลิกรา เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา การลุกจ้าของดวงอาทิตย์ครั้งหนึ่งได้ทำลายระบบสื่อสารและระบบส่งกำลังของโนะโซะมิไป พลังงานที่สูญเสียไปทำให้ระบบรักษาอุณหภูมิหยุดทำงาน เชื้อเพลิงจึงเริ่มเยือกแข็ง ขณะนี้เจ้าหน้าที่ภาคพื้นดินกำลังเร่งพยายามทำให้ระบบรักษาอุณหภูมิกลับมาทำงานเหมือนเดิมก่อนที่ยานจะเดินทางไปถึงดาวอังคาร หากทำไม่ทัน ยานจะไม่พลังงานมากพอที่จะปรับเส้นทางเข้าโคจรรอบดาวอังคารได้ <DD>หากมองในแง่ดีว่ายานทุกลำจะประสบความสำเร็จ เราจะมียานที่สำรวจดาวอังคารหลายลำที่ปฏิบัติงานในเวลาเดียวกัน การสำรวจดาวเคราะห์ดวงเดียวกันจากยานหลายลำ ณ ตำแหน่งต่าง ๆ กันมีประโยชน์มากกว่าการสำรวจต่างเวลากัน เพราะแต่ละลำจะสนับสนุนการทำงานซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการศึกษาปรากฏการณ์บางอย่างที่เป็นปรากฏการณ์พิสัยใหญ่เช่นพายุฝุ่น หรือการเปลี่ยนฤดูกาล ไม่เพียงแต่สี่ลำนี้เท่านั้น เพราะขณะนี้ก็มียานอวกาศปฏิบัติภารกิจบนดาวอังคารรออยู่แล้วถึงสองลำนั่นคือ ยานมาร์สโกลบัลเซอร์เวเยอร์กับยาน 2001 มาร์สโอดิสซีย์ รวมกันแล้วก็จะรวมเป็น 6 ลำ นับเป็นมหกรรมสำรวจดาวเคราะห์ที่คึกคักที่สุดครั้งหนึ่งนับตั้งแต่เริ่มยุคอวกาศเลยทีเดียว <DD>ต่อไปนี้คือรายละเอียดที่น่าสนใจของยานสำรวจ 4 ลำที่กำลังจะไปถึงดาวอังคาร </DD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width=300></TD><TD width=460>| ตอนที่ 2 : มาร์สเอกซ์เพรส >></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=10 width=760 bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD width=300 bgColor=white>.</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    เห็นด้วยกับคุณชยุตครับ ผลงานของ อ.ปริญญา ตันสกุล ผมก็ติดตามอ่านมาเกือบทุกเล่มเห็นว่ามีข้อมูลหลายอย่างไม่ถูกต้อง และขัดแย้งกับทางพุทธศาสนาอย่างมาก แต่ข้อมูลบางอย่างก็มีเหตุมีผลที่รับฟังได้ เนื่องจาก อ.ปริญญาได้บอกว่าท่านได้รับข้อมูลเหล่านี้ผ่านเข้ามาในความคิด ในขณะที่ใจเป็นสมาธิ จึงไม่อาจสรุปได้แน่นอนว่าผู้ส่งผ่านข้อมูลเหล่านี้มาเป็นใคร อาจจะเป็นมนุษย์ต่างดาวในกาแลคซี่อื่นๆ ก็ได้เพราะเท่าที่ผมอ่านผลงานของท่านมา ดูจะอธิบายเรื่อง ดวงดาว, เรื่องจักรวาล, เรื่องมนุษย์ต่างดาว,เรื่องโครงสร้างของร่างกายมนุษย์ทางกายภาพ โครงสร้างของจิตวิญญาณ อยู่มาก อย่างไรก็ดีข้อมูลเหล่านี้ก็ได้ตอบคำถามที่ทางวิทยาศาสตร์ในโลกของเรายังไปไม่ถึงอีกมาก ในทางต่างประเทศก็มีผู้ได้รับการติดต่อทางความคิดแบบ อ.ปริญญา อีกหลายท่าน และให้ข้อมูลทำนองเดียวกันนี้เช่นกัน ก็ขอให้เรารับฟังเอาไว้ก่อน แล้วค่อยเอามาพิจารณาว่ามีเหตุมีผลควรเชื่อถือมากน้อยเพียงไร......
     
  14. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    สัญญาณวันสิ้นโลก(เก่า)?

    ที่วัดพระนอน เมืองแพร่มีการค้นพบคัมภีร์ภาษาโบราณชุดหนึ่ง ซึ่งเชื่อว่าได้เขียนไว้ในสมัยก่อนกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2 ( พ.ศ. 2310) เมื่อนำมาแปลโดยพระครูนิภัทร กิจอาทร ปรากฎว่าเป็นเรื่องของคำทำนายชะตาของโลก ตรงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและตรงกับคำทำนายของนอสตราดามุส มีใจความบางตอนดังนี้:-<O:p</O:p

    <O:p</O:p
     
  15. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ติดตามค้นหาพระศรีอารย์ในตำนาน(ต่อ)

    การมาปรากฎตัวของพระศรีอารย์

    ศาสนาคริสต์ได้กล่าวถึง "วันพิพากษาโลก ( The Last of Judgement ) เพื่อให้มนุษย์ได้ตระหนักถึงอำนาจของพระผู้เป็นเจ้า และเกรงกลัวต่อการกระทำความชั่ว วันนี้เป็นวันสำคัญของศาสนาคริสต์ที่พระบุตรจะเสด็จกลับมาโลกนี้อีกครั้งหนึ่ง เพื่อพิพากษามนุษย์ในมาระโกบทที่ 13 ข้อ 24-27 ของหนังสือพระคริสตธรรมคัมภีร์ ( พระคริสตธรรมคัมภีร์. 1993 : 108) ได้กล่าวถึง วันสิ้นพิภพและการเสด็จมาพิพากษาโลกของพระเยซูคริสต์เจ้า ความว่า

    "............ ภายหลังเมื่อคราวลำบากนั้นพ้นไปแล้ว ดวงอาทิตย์จะมืดไป และดวงจันทร์จะไม่ส่องแสงดวงดาวทั้งปวงจะตกจากฟ้า และบรรดาสิ่งซึ่งมีอำนาจในท้องฟ้าจะสะเทือนสะท้าน เมื่อนั้นเขาจะเห็นบุตรมนุษย์เสด็จมาในเมฆ ทรงฤทธานุภาพ และพระสิริเป็นอันมาก เมื่อนั้นพระองค์จะทรงใช้เหล่าทูตสวรรค์ทั้งสี่ทิศนั้น ตั้งแต่ที่สุดปลายแผ่นดินโลกถึงที่สุดของฟ้า................"


    เราอาจกล่าวได้ว่า ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาแห่งประวัติศาสตร์การที่พระเยซูคริสต์เจ้าจะเสด็จกลับมาพิพากษาโลกอีกครั้งหนึ่งในวันสิ้นโลก ผู้ชอบธรรมเท่านั้น ที่จะถูกตัดสินให้ขึ้นสวรรค์ตลอดชั่วนิรันดร ส่วนคนอธรรมจะถูกปรับโทษให้ลงนรกนิรันดร​




    @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@​


    ในตำนานพระศรีอารย์จุติ ได้กล่าวไว้ว่า




    ผู้มีบุญนั้นเป็นคนหลายเชื้อชาติ เกิดในปีขาล บ้านเกิดอยู่ปลายหล้าน้ำ ที่เกิดมีเรือน๓หลัง ทางตะวันออกมีลำคลอง ทางตะวันตกมีภูเขารูปร่างคล้ายครกกระเดื่อง บิดามารดาเป็นชาวนาและช่างทอหูก เมื่อเริ่มเติบใหญ่ได้ศึกษาศิลปวิทยาการต่างๆแล้ว บัดนั้นไปก็บวชๆสึกๆอยู่๗หน เคยบวชเป็นฤาษีชีป่า







    เมื่อบวชอยู่เพื่อนนักบวชก็รุมชัง เมื่อสึกออกมาเป็นฆราวาส ฆราวาสก็รุมชัง สมณะชีพราหมณ์ตลอดจนฝูงท้าวพระยาที่มีใจหนาแน่นไปด้วยบาปต่างก็ไม่คบค้าสมาคมด้วย อยู่ที่ไหนไม่มั่นพลันหนีเพราะมีศีลธรรมและความประพฤติผิดกับคนทั้งหลาย จึงคบค้าสมาคมกับคนที่มีใจบาปหยาบช้าไม่ได้นาน

    เมื่อเป็นทารกนอนดั่งลิงลม เมื่อบวชเรียนอยู่นอนดั่งนกกาน้ำ เมื่อสึกออกมาเป็นฆราวาสแล้วนอนดั่งพญาช้างสาร และเมื่อปรากฏเป็นพระเจ้าบรมจักรธรรมิกราชแล้ว นอนดั่งพญาสีหะ

    ตำหนิรูปพรรณสัณฐานนั้น รูปร่างลักษณะท่าทางเหมือนดังครุฑ จมูกดังยักษ์ ใบหน้าดังครุฑ มีฟันเหมือนฟันม้า ตัวกลม ตาลึก ท้องใหญ่เล็กน้อย อกเต็ม ไหล่ขด มือและเท้ายาว นิ้วมือเบื้องซ้ายกิ่วคอดเป็นแผลเป็นหนึ่งแห่ง ที่ไหล่ซ้ายมีขนยาวหนึ่งเส้น ฝ่าเท้าเบื้องขวามีปานแดง บนศีรษะมีแผลเป็นลักษณะไม่สูงไม่ต่ำไม่ดำไม่ขาว สีผิวเนื้อขาวเหลือง ยามเจรจามีเสียงแลบออกจากไรฟัน พูดจามั่นเที่ยงไม่กลับกลอก กระแสเสียงแจ่มใสไพเราะและก้องกังวาน

    เมื่อบวชอยู่ในเพศบรรพชิตนั้นมักมีรัศมีพุ่งออกจากศีรษะเสมอ และมักมีดวงแสงสว่างขนาดลูกมะพร้าวบ้าง ส้มบ้าง เป็นท่อเป็นลำยาวบ้าง ปรากฏแก่สายตาประชาชนอยู่ไม่ขาด นอกจากนั้นก็มักมีเสียงดนตรีและฆ้องกลองประหลาดที่ไม่เห็นผู้บรรเลงปรากฏอยู่ครึ้มเครือ

    มีปัญญาดุจมโหสถ มีความเพียรดุจมหาชนก มีสัจจะดั่งวิธุรบัณฑิต มีขันติดุจขันติวาทีดาบส มีความกล้าหาญดุจสุรยักษ์ มีใจเบาและรวดเร็วดังลิงลม มีไมตรี รักคนใจบุญและสัตย์ซื่อ เมตตากรุณาต่อคนทุกข์ไร้อนาถา ไม่ถือตัวไม่ถือชั้นวรรณะ แก่กล้าด้วยศีลและทานจนตกทุกข์ได้ยาก เมื่อเริ่มจะปรากฏเป็นที่พึ่งแก่โลกนั้นจึงได้นามสมัญญาอีกอย่างว่า​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 สิงหาคม 2005
  16. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ขุมทรัพย์ทั้ง 4 ในตำนานพระศรีอาริย์ (โดยรหัสยญาณ)

    เมื่อปรากฏภัย ๑๐ ประการ

    1. ราชภัย ท้าวพระยาจะบังคับเบียดเบียนพลเมือง
    2. โจรภัย จะบังเกิดโจรผู้ร้ายปล้นสะดมทั่วไป
    3. อัคคีภัย ไฟจะไหม้บ้านเมืองไม่ขาดสาย
    4. อสุนีบาต ฟ้าจะผ่าสัตว์และคนล้มตายบ่อย ๆ
    5. เมทนีภัย แผ่นดินจะไหวสะท้านและแยกออกจากกัน
    6. วาตภัย จะเกิดลมพายุพัดพาบ้านเมืองพินาศ
    7. อุทกภัย น้ำท่วมบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นา
    8. ทุพภิกขภัย จะเกิดข้าวยากหมากแพงและอดอาหาร
    9. พยาธิภัย จะเกิดโรคระบาดคนและสัตว์ล้มตาย
    10. สัตถภัย จะรบราฆ่าฟันกันล้มตายร้ายแรง

    หนาแน่นขึ้นก็จะปรากฏผู้เฒ่าผมขาวหนวดเครายาวขี่ม้าขาวเหาะลอยมายังท่ามกลางเมืองเชียงใหม่ นั่นคือองสมเด็จพระศรีอริยะเมตไตรยมาปรากฏเป็นที่พึ่งแก่โลกแล้ว อย่าสงสัยเลย

    หลังจากนั้นไม่นานขุมทรัพย์ทั้ง 4 ของพระศรีอาริย์ก็จะปรากฎเกิดขึ้นในสุวรรณภูมิ ระหว่างเชียงราย ฝาง เชียงใหม่ ลำพูน เพราะขุมทรัพย์อันมหาศาล คือแก้วแหวนเงินทองจะระเบิดออกในภาคเหนือของประเทศไทย ดอยเงินดอยคำและเพชรนิลจินดาจะแตกออกทั้งลูกดอย และจะมีหลายลูกด้วยกัน กองทัพจะเข้าแย่งชิงสมบัติเหล่านี้ มืดมัวไปทั้งสี่ทิศ ทหารของชาติต่างๆ จะล้มตายไปถึง 3 ใน 4 ส่วน คงเหลืออยู่เพียงส่วนเดียวเลือดจะไหลนองเป็นห้วยน้อย จนถึงกับพวกหนูต้องว่ายข้ามต่างก็จะยิงกันจนเหลวแหลก เพราะโลภตัณหา จะรบกันถึง 7 ชาติ แต่ขุนศึกสำคัญนั้นมี 3 คน คือ

    1.พญาลายตีนเป็นกงจักร
    2.พญาแขนสั้นราว (คืนแขนสั้นข้างยาวข้าง)
    3.พญาลิ้นกาฬ (ลิ้นดำ)

    ในตำนานพระศรีอาริย์จุติ ซึ่งพระอิศวรผู้เป็นเจ้าไปนิมนต์มาเกิดนั้นกล่าวไว้เป็นปัญหาว่า"ฤทธิ์เดชของพระยาแขนสั้นยาวนั้นมากมายเหลือหลาย เหล็กกลม 7 กำยาว 4 ศอก นั่งหย่องเยาะ เอามือซ้ายขว้างไปไกลได้ถึง 7 - 8 ไร่นา" ผู้เขียนขอวิจารณ์ว่า "เหล็กกว้าง 7 กำยาว 4 ศอกนั้นคงไม่ใช่เหล็กธรรมดา คงเป็นลูกระเบิดขนาดใหญ่นั่นเอง" แก้วแหวนเงินทองนั้นใครๆ ก็อยากได้ด้วยกันทุกคน ถ้ามันมีมากขนาดเท่าภูเขาเลากา และมันเกิดประเทศใด ประเทศนั้นก็ต้องตกเป็นจุดยุทธศาสตร์ขนาดล้างโลก และนั่นก็เป็นวันตัดสินโลก(Doomsday) ได้มาถึงแล้วโดยไม่มีปัญหา

    แหล่งที่มา หนังสือพระศรีอาริย์เจ้าโลก โดยรหัสยญาณ สำนักพิมพ์ลานอโศกเพรสกรุ๊ป โรงพิมพ์สหธรรมิก)

    สงครามแย่งชิงภูเขาทองคำ

    ท่านรซูลของอัลลอฮ ได้กล่าวไว้ว่า

    อบูฮุรอยเราะฮ รายงานว่า **ชั่วโมงสุดท้ายจะยังไม่มาถึง จนกว่า ยูเฟรติส
    จะเปิดเผยให้เห็น ภูเขาทองคำ ..อันจะทำให้ผู้คนต่อสู้กัน เก้าสิบเก้าในร้อยคนของพวกเขาจะถูกสังหาร แต่ทุกคนในหมุ่พวกเขาจะกล่าวว่า..บางทีฉันอาจเป็นคนหนีงที่หนีรอดไปได้**โดย มุสลิม

    คัดลอกมาจาก http://www.muslimthai.com/board/sho...f21780e19e792d7

    <!-- / message -->
    <!-- / message -->

    <!-- / message -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 สิงหาคม 2005
  17. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    พระโอวาทพระบิดา ครั้งที่ 17เรื่อง"พระบิดาแห่งจิตวิญญาณ"

    ประทานเมื่อวันที่ 6 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2543เวลา 14.00 น.- 18.00 น. สื่อการถ่ายทอดพระโอวาทโดย อ.ปริญญา ตันสกุล ณ. ห้องประชุมโรงพยาบาลสำโรง จ.สมุทรปราการ (คัดลอกมาเพียงบางส่วนโปรดใช้วิจารณญาณในการรับรู้)

    เพราะฉะนั้น ขั้วโลกเหนือที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่าน้ำแข็งละลาย ถูกต้องครับ ต่อไปอุณหภูมิของขั้วโลกเหนือจะไม่ติดลบต่ำกว่าศูนย์ครับ แต่มันจะเป็น 25.4 องศาเซลเซียส ขั้วโลกใต้จะกลายเป็นหนาแน่นด้วยน้ำแข็ง จะเย็นจัดแทนขั้วโลกเหนือ ต่อไปโลกเราจะหนาวอยู่ด้านเดียว คือ ด้านขั้วโลกใต้ ประเทศไทยประเทศญี่ปุ่นของเรา ประเทศญี่ปุ่นขณะนี้ที่ยังอยู่นะ แต่เราบอกแล้วว่ามันจะไม่อยู่ พูดอีกแล้วนะ จะร้อนขึ้นเพราะเราอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรถูกต้องหรือไม่ พอโลกก้มหัวลงให้กับดวงอาทิตย์มากขึ้น แน่นอนครับก็บริเวณของเราอยู่แถวหน้าผากโลก ใช่หรือเปล่าครับ พอก้มลงมาเป็นไงครับ หันหาดวงอาทิตย์เลยร้อนขึ้น เพราะฉะนั้นต่อไปดาวเคราะห์โลกเราจะหนาวครับ ปีหนึ่งแค่ครั้งเดียว เพราะต้องเวลาหมุนไปอยู่ตรงข้ามดวงอาทิตย์เท่านั้น ถึงจะเป็นฤดูหนาว

    เพราะฉะนั้นต่อไปประเทศไทยของเราจะได้ฤดูหนาวกลับคืนมา แถวยุโรปตอนกลางๆ แถวอังกฤษเดนมาร์กแถวนั้น ต่อไปจะมีแค่สองฤดูเท่านั้นก็คือ ฤดูร้อนกับฤดูหนาว จะไม่มีสปริงจะไม่มีอ็อดท่อมอีกต่อไป อุณหภูมิจะเริ่มเปลี่ยนเข้าสู่ระบบที่กล่าวนี้ และประเทศไทยเราจะไม่มีฤดูประหลาดๆ เช่นนี้เดี๋ยวร้อนเดี๋ยวหนาว ฤดูสลับร้อนสลับหนาวเรามี ต่อไปจะสมดุลแล้วนะ จะคืนความสมดุลกลับมาให้ ขณะเดียวกันพวกคุณก็ต้องช่วยกัน จิตสำนึกต้องดีด้วย อากาศวิปริตแปรปรวนเพราะจิตมนุษย์มัน "แปรปรวน"

    พระบิดาทรงเตือนผ่านธรรมชาติ แต่มนุษย์เราไม่รู้จักสังเกต ไม่รู้จักพิจารณาเองเพราะฉะนั้นตอนนี้โลกเรา ก้มหัวให้ดวงอาทิตย์มากขึ้น เพราะฉะนั้นใครบอกว่าระนาบการโคจรตามแกนหมุนของโลกทำมุมกับระนาบวงโคจร 66.5 องศาอยู่ดังเดิม แสดงว่าคนนั้นคิดผิด มันจะเป็น 32 องศาเหลือแค่ 32 องศา

    สิ่งดีงามที่จะเกิดขึ้นเมื่อสิ้นยุคพลังงานเก่า รหัส 11-11 คือ 11 พฤศจิกายน แล้วไปถามนักวิทยาศาสตร์โลกดูว่า เดี๋ยวนี้เขาค้นพบจุดดับบนดวงอาทิตย์กี่จุดครับ 11 จุด จริงๆ แล้วจุดดับบนดวงอาทิตย์ไม่ใช่จุดดับ พระบิดาบอกเอาเป็นว่าเรียกตามนักวิทยาศาสตร์โลกก่อน ไม่เช่นนั้นอธิบายแล้วยาว จริงๆ แล้วครั้งหนึ่งมีแค่ 6 จุดแค่นั้นเองครับ แต่ตอนนี้มีพิเศษต้องเพิ่มอีก 5 ครับเป็น 11 เพื่อกระทำต่อดาวเคราะห์โลก ชำระนะไม่ใช่ชำเรา ชำระโลกอย่าคิดผิดนะครับ

    ภายหลังจากการชำระโลก

    1. มนุษย์จะมีจิตใจดีงาม เปี่ยมด้วยคุณธรรม และมีเมตตาต่อกัน

    2. มนุษย์จะเลิกทานเนื้อสัตว์ จะเลิกเบียดเบียนกันโดยอัตโนมัติ

    3. มนุษย์จะใช้สมองซีกขวาสูการหยั่งรู้ ได้ด้วยปัญญาญาณง่ายขึ้น

    4. ประเทศไทยจะเป็นอู่ข้าวอู่น้ำของโลก

    5. ประเทศไทยจะสร้างยูเอฟโอท่องจักรวาล ได้เป็นชาติเดียวในโลก

    6. ศาสดาศรีอาริยะเมตไตรย จะปรากฎพระองค์ขึ้นบนแผ่นดินไทยในไม่เกิน 6 ปี หลังวันสิ้นยุคพลังงานเก่า

    ไม่เกิน 6 ปี ณ วันนี้ ( 6 สิงหาคม พ.ศ.2543 ) ถึงวันนั้นอาจจะมีการเปลี่ยนแปลง เพราะวันสิ้นยุคพลังงานเก่าก็เปลี่ยนมาเรื่อย เพราะว่างานด้านเทคนิคด้านพลังงานของพระบิดาเยอะมาก บางครั้งกำหนดไว้มนุษย์นั่นแหละเป็นตัวทำให้เปลี่ยนแปลง มันก็จะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ณ วันนี้ถือว่า 6 ปีแต่ถึงวันสิ้นสุดของวันนั้น อาจจะบวกไปอีกเล็กน้อยก็ได้ อย่าหาว่าอาจารย์กล่าวผิดสัจจะก็แล้วกัน เป็นสิ่งที่อยากจะบอกเครื่องยนต์แห่งกรรมของพวกคุณ ให้เห็นเป็นรูปธรรมเท่านั้น เพราะฉะนั้นใครที่บอกว่าอยากเกิดเป็นศิษย์ของพระศาสดาศรีอาริยะเมตไตรย ต้องทำบุญบารมีสูงๆ โอกาสดีมาถึงแล้ว รีบทำเสียครับพระองค์จะปรากฎพระองค์ขึ้น ในแผ่นดินไทยนี้และขณะนี้( พ.ศ.2543 ) พระองค์ก็มาจุติอยู่บนแผ่นดินไทยเรียบร้อยแล้ว แต่ไม่ใช่ผมนะครับรีบบอกก่อนเดี๋ยวหาว่าผมพูดเข้าตัว มนุษย์ชอบคิดอุตริ พระองค์จุติ ตอนนี้( พ.ศ.2543 )เป็นเณรอยู่ครับ

    เพราะฉะนั้น ถ้าไม่บอกอย่างนี้แล้วเดี๋ยวบอกว่า อาจารย์รู้ได้อย่างไร? ว่าอีก 6 ปีไม่รู้มาเกิดหรือยังก็ไม่รู้หลายคนคิด บอกแล้ว เกิดแล้วเป็นเณรอยู่อีก 6 ปีพระองค์ก็เป็นหนุ่มแล้ว ใช่ไหมครับ แต่ถึงแม้พระศาสดาศรีอาริยะเมตไตรย จะมาโปรดพวกเรามาเยียวยาหัวใจที่บอบช้ำ จากการที่ถูกชำระพี่ๆ น้องๆ ของเราที่เหลวไหลไม่เอาถ่านของเราถูกชำระก็จริง แต่พระศาสดาศรีอาริยะเมตไตรย พระองค์ท่านก็ต้องใช้คัมภีร์จักรวาลของพระบิดาเป็นแกนกลางหรือเป็นสื่อนำ ที่จะสื่อสอนมนุษย์ชาติต่อไป พระองค์จะไม่มาสร้างสิ่งอะไรใหม่ๆ นอกเหนือไปจากคัมภีร์ของพระบิดาทั้งสิ้น

    7. หน้าที่การบันทึกคัมภีร์เป็นหน้าที่ของผม หน้าที่ในการเยียวยาปลุกปลอบหัวใจของเพื่อนมนุษย์คือ พระศาสดาศรีอาริยะเมตไตรย โปรดรับทราบไว้ตามนี้ด้วย

    8. มนุษย์จะมีอายุยืนยาวมากขึ้นกว่าเดิม อำนาจแม่เหล็กโลกเพิ่มขึ้นจาก 14 เก๊าส์ เป็น 22 เก๊าส์ ร่างกายคุณแข็งแรง สุขภาพพลานามัยดีขึ้นโดยอัตโนมัติ

    คัดลอกมาจาก;- หนังสือพระโอวาทแห่งองค์จิตจักรวาล ครั้งที่ 17 เรื่องพระบิดาแห่งจิตวิญญาณ สื่อการถ่ายทอดพระโอวาทโดย อ.ปริญญา ตันสกุล MBA.,M.S. PARINYA TANSAKUL
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2005
  18. rin5297

    rin5297 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    103
    ค่าพลัง:
    +569
    อืมแล้วปู่ NiNe คิดว่าเป็นพระองค์ไหนล่ะ ปานนี้คงเป็นพระแล้วล่ะ ตอน 6 ปีก่อนเป็นเณร วารปู่นายตอบหน่อยครับ
     
  19. มดเขียววีสาม

    มดเขียววีสาม สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    6
    ค่าพลัง:
    +7
    เรียนคุณChayutt
    คุณกําลังพูดถึงหนังสือเล่มเดียวกับ rep #238
    ฉะนั้น
    กรุณากลับไปอ่าน rep238 กับrep 239 ในกระทู้นี้ด้วย
    ( คิดว่าได้ช่วยชีวิตคุณสุดๆแล้วนะ )
     
  20. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    การใช้คำพูดข่มขู่ให้ผู้อื่นเกิดความหวาดกลัว มันเป็นบาปนะคุณมดเขียววีสาม เรื่องของคุณนฤดลนั้นผมเคยนำมาโพสไว้จริง แต่เมื่อทราบว่าเจ้าของบทประพันธ์ไม่อนุญาติให้นำมาเผยแพร่ ผมก็ได้ลบข้อความที่โพสนั้นไปแล้ว เรื่องที่คุณชยุตนำบทประพันธ์นี้มาโพสไว้อีกก็ด้วยไม่ทราบเรื่องดังกล่าว คุณมดเขียววีสามควรบอกด้วยความสุภาพว่าเจ้าของไม่อนุญาตให้นำมาเผยแพร่ ก็จะเป็นการรักษาน้ำใจกัน เนื่องด้วยความจริงที่ว่าผู้ไม่รู้ย่อมไม่ผิด หรือเจตนาคือตัวกรรมนั่นเอง...........
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 สิงหาคม 2005

แชร์หน้านี้

Loading...