เรื่องเด่น พบ ไก่สดใน ซุปเปอร์มาร์เกตมี " เชื้อดื้อยา "

ในห้อง 'จิตวิทยา & สุขภาพ' ตั้งกระทู้โดย terryh, 1 มิถุนายน 2012.

  1. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    [​IMG] <FORM method=post action=/search><FIELDSET><INPUT value=Search type=submit name=yt0> </FIELDSET> </FORM>
    <STYLE type=text/css>IMG.heading { WIDTH: 600px}</STYLE>พบไก่สดในซุปเปอร์มาร์เกตมี “เชื้อดื้อยา”


    หน้าหลัก » การศึกษา

    [​IMG] อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เผย พบไก่สดในซุปเปอร์มาร์เกตมี “เชื้อดื้อยา”
    สูงถึงร้อยละ 40 หวั่นประชาชนได้รับเชื้อโดยที่ไม่รู้ตัว ...

    นพ.วิษณุ ธรรมลิขิตกุล อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

    ในฐานะประธานคณะกรรมการวิจัยและพัฒนาระบบการควบคุมและ
    ป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
    กล่าวภายหลังการประชุม “เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ : ภาวะวิกฤติต่อสุขภาพคนไทย” ที่
    รร.สยามซิตี้ ว่า 10 ปีที่ผ่านมา พบเชื้อดื้อยาปฏิชีวนะมากขึ้น โดยพบว่าคนไทยมี
    อาการติดเชื้อดื้อยากลุ่มนี้ถึง 100,000 คน อยู่โรงพยาบาลนานขึ้นมากกว่า 1 ล้านวัน
    และพบเสียชีวิตมากกว่า 30,000 ราย สาเหตุทั้งหมดมาจากการใช้ยาเกินความจำเป็น
    และจากข้อมูลที่ผ่านมาพบว่าเชื้อดื้อยาที่พบบ่อยในคนไทย คือ เชื้ออะซินีโต แบคเตอร์ บอมานีไอ
    หรือ เอ บอม (Acinetobacter baumannii) ซึ่งจะพบมากในโรงพยาบาลเป็นเชื้อที่ก่อให้เกิด
    การติดเชื้อในกระแสเลือดโลหิตเป็นพิษ ปอดอักเสบ เดิมทีใช้ยาปฏิชีวนะกลุ่มคาร์บาพีแนมส์ (Carbapenems)
    ใช้ฆ่าเชื้อดื้อยานี้ แต่ 10 ปีที่ผ่านมา พบว่าเชื้อกลุ่มนี้ดื้อต่อยาปฏิชีวนะดังกล่าวแล้วร้อยละ 80 ดังนั้น
    ขณะนี้ สวรส. กำลังรวบรวมข้อมูลวิชาการ และทำเป็นคำแนะนำในการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะ
    โดยจะเสนอสำนักงานคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เพื่อให้พิจารณาว่า
    อาจเพิ่มเงินเหมาจ่ายรายหัวให้กับโรงพยาบาลที่มีการดำเนินการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปีนี้

    นพ.ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ภาควิชาจุลชีววิทยา

    คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล กล่าวว่า จากการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาโท
    ภาควิชาจุลชีววิทยา ตรวจสอบเนื้อไก่สดที่แพ็กขายในซุปเปอร์มาร์เกต พื้นที่ใกล้เคียง
    รพ.ศิริราช จำนวน 200 แพ็ก พบว่ามีการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรีย เอสเชอริเชีย โคไล (Escherichia coli)
    และซัลโมเนลลา เอนเตอโรติก้า (Salmonella enteritica) เกินค่ามาตรฐานที่ 500 ตัว ต่อ 25 กรัมของเนื้อสัตว์ ถึงร้อยละ 56.7 และในจำนวนเชื้อที่ปนเปื้อนทั้ง 2 ชนิดเป็นเชื้อดื้อยาถึงร้อยละ 40 ซึ่งอาจจะทำให้ประชาชนทั่วไปได้รับเชื้อดื้อยาโดยไม่รู้ตัว ซึ่งรัฐบาลและผู้ที่เกี่ยวข้องควรที่จะเอาจริงเอาจังในการตรวจมาตรฐานอาหารในชุมชน เนื่องจากปัญหานี้ไม่ต่างจากกรณีที่มีสารเคมีตกค้างในอาหาร.

    โดย: ทีมข่าวการศึกษา
    30 พฤษภาคม 2555, 05:30 น.

     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 3 มิถุนายน 2012
  2. kikinlala

    kikinlala เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    4,939
    ค่าพลัง:
    +8,843
    ต้องลองทดสอบในเนื้อสัตว์อื่น และก็ผักด้วยจะดีมาก :)
     
  3. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    ไก่ ปนเปื้อน เชื้อดื้อยา

    ไม่ประหลาดใจ ทำไม ๆ มีผู้ป่วย โรคโลหิตเป็นพิษ โรคมะเร็งตับอ่อน และ ปอดอักเสบ เพิ่มสูง ๆ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ใน หมู่กลุ่มวัยรุ่น และ วัยกลางคน

    ในผู้นิยม บริโภค เนื้อไก่ หมู ซึ่งพบสารปนเปื้อน สูงมาก

    สื่อ ต่างประเทศ มีการตรวจเข้ม อาหารบริโภคส่งออกจากทางเอเซีย และมีการสั่งแบน ตีกลับสินค้า เป็นจำนวนมาก
     
  4. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    ข่าว ตปท ลงข่าวครึกโครม เนื้อไก่ในซุปเปอร์มาร์เก็ตมี สารปนเปื้อน

    48% Chicken Has E. Coli</NYT_HEADLINE><NYT_BYLINE>
    By STEPHANIE STROM

    </NYT_BYLINE>Published: April 11, 2012

    • <NYT_REPRINTS_FORM><SCRIPT name="javascript"> function submitCCCForm(){ var PopUp = window.open('', '_Icon','location=no,toolbar=no,status=no,width=650,height=550,scrollbars=yes,resizable=yes'); var form = document.forms["cccform"]; // ensure that we are operating on the Form, not a NodeList if (form.nodeName == "FORM") { form.submit(); } else if (form[0] && form[0].nodeName == "FORM") { form[0].submit(); } } </SCRIPT>
    • <FORM name=cccform action=https://s100.copyright.com/CommonApp/LoadingApplication.jsp target=_Icon><INPUT value="48% of Chicken in Small Sample Has E. Coli" type=hidden name=Title> <INPUT value=http://www.nytimes.com/2012/04/12/health/in-small-sample-e-coli-found-in-48-of-chicken-in-stores.html type=hidden name=ContentID> </FORM>

    <SCRIPT src="http://www.nytimes.com/adx/bin/adx_remote.html?type=fastscript&page=www.nytimes.com/yr/mo/day/&posall=Frame6A&query=qstring&keywords=?"></SCRIPT>
    <!-- ADXINFO classification="Button120x60" campaign="FSL2012_ArticleTools_120x60_1787507b_nyt5"-->
    <NYT_TEXT><NYT_CORRECTION_TOP></NYT_CORRECTION_TOP>A recent test of packaged raw chicken products bought at grocery stores across the country found that roughly half of them were contaminated with the bacteria E. coli.

    <!--forceinline-->Enlarge This Image
    [​IMG] <META content=http://graphics8.nytimes.com/images/2012/04/12/business/Fowl/Fowl-articleInline.jpg itemprop="identifier"><META content=190 itemprop="height"><META content=127 itemprop="width"><META content="Daniel Acker/Bloomberg News" itemprop="copyrightHolder">
    Daniel Acker/Bloomberg News

    A report of E. coli in chickens at stores has ignited debate over potential health threats in poultry.

    Related in Opinion


    E. coli, which the study said was an indicator of fecal contamination, was found in 48 percent of 120 chicken products bought in 10 major cities by the Physicians Committee for Responsible Medicine, a nonprofit group that advocates a vegetarian diet among other things. The study results were released Wednesday.
    “Most consumers do not realize that feces are in the chicken products they purchase,” said Dr. Neal D. Barnard, president of the group. “Food labels discuss contamination as if it is simply the presence of bacteria, but people need to know that it means much more than that.”
    Food safety specialists said the findings were a tempest in a chicken coop, particularly because the test was so small and the E. coli found was not a kind that threatened public health.
    “What’s surprising to me is that they didn’t find more,” said Dr. Michael Doyle, director of the Center for Food Safety at the University of Georgia. “Poop gets into your food, and not just into meat — produce is grown in soil fertilized with manure, and there’s E. coli in that, too.”
    Dr. Doyle emphasized that the findings by the nonprofit group were different from the recent uproar over “pink slime,” the inexpensive filler containing ammonia gas or citric acid that is often added to ground beef products to kill E. coli and other bacteria. “That’s an additive,” he said.
    Eight billion to nine billion chickens annually are processed for food in the United States, and the Department of Agriculture requires processors to do an E. coli test on one of every 22,000 birds slaughtered, or, for small producers, at least one a week.
    The National Chicken Council, a trade group representing chicken producers, said the Physicians Committee’s test was “disingenuous,” given that it identified only 57 questionable samples out of about 42 million pounds of ready-to-cook chicken products in grocery stores every day.
    “These findings, not a ‘peer-reviewed’ study, are another misleading attempt by a pseudo-medical group to scare consumers in hopes of advancing their goal of a vegan society,” said Dr. Ashley Peterson, vice president of science and technology at the National Chicken Council.
    Dr. Peterson said chicken processing plants “strictly” abide by the Department of Agriculture’s zero tolerance for visible fecal matter and use many measures to reduce bacteria levels throughout processing. “When a product moves through the plant, bacteria levels are reduced many hundreds of times to a fraction of what was naturally on the bird when it arrived,” she said.
    Dirk Fillpot, of the Food Safety and Inspection Service of the Department of Agriculture, said the study’s findings were not supported by any science or facts. “It assumes that the presence of generic E. coli could only come from contact with feces, when that is simply not the case,” he said. “Additionally, the E. coli identified in the study is not a type that would make consumers ill.”
    Dr. Barnard, who is vegan, insisted that it does. Asked what public health issues, if any, the testing had exposed, he said: “It’s hard to know. Some problems caused by fecal contamination can be unexpected.”
    He cited recent Canadian research that found that E. coli bacteria from chickens had caused urinary tract infections that had previously been attributed to individuals’ own E. coli.
    In the physicians study, the samples came from a wide variety of processors, including Perdue and Pilgrim’s. They were bought in stores including Kroger, Safeway and Albertsons.
    “We have stringent food safety policies in place to maintain the quality of fresh raw poultry, and these policies are designed to insure we adhere to proper temperature control, sanitation, hygiene and date marking practices,” said Mike Siemienas, of Supervalu, which owns an Albertsons in San Diego where some of the chicken was bought.
    Some samples showed higher levels of E. coli than the Department of Agriculture considers acceptable for carcasses when tested at processing plants.
    But Dr. Catherine N. Cutter, an associate professor and food safety extension specialist at Pennsylvania State University, said that it was impossible to know if the higher level of contamination came from the processing plants or developed as the chicken made its way into the grocery store or during testing.
    “There are a lot of things that could come into play that could have caused the higher microbial loads they found,” Dr. Cutter said. “Without more information like slaughter dates and shelf life, it’s hard to make a determination about how or where the higher counts came from.”
    If a package sat in a refrigerated case for two or three days, or spent more time on a loading dock than a processor had anticipated, low levels of E. coli bacteria could multiply, she said.
    “The main thing,” Dr. Cutter said, “is that consumers properly handle a raw chicken and avoid cross contamination as much as possible and cook it thoroughly.”
    <NYT_CORRECTION_BOTTOM>
    </NYT_CORRECTION_BOTTOM><NYT_UPDATE_BOTTOM></NYT_UPDATE_BOTTOM></NYT_TEXT>
    <!--cur: prev:-->A version of this article appeared in print on April 12, 2012, on page B2 of the





    สารปนเปื้อน ยาปฎิชีวนะ และ เชื้อบางขนิด เพิ่มความเสี่ยง โรคมะเร็ง เลือดเป็นพิษ
     
  5. Chang_oncb

    Chang_oncb ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    12,276
    ค่าพลัง:
    +80,040
    [​IMG]
    ไม่ว่าเนื้อกุ้ง เนื้อหมู เนื้อเป็ด เนื้อไก่ เนื้อวัว เนื้อควาย ล้วนแล้วแต่มีสารปฏิชีวนะ มีสารเร่งการเจริญเิติบโต อันตรายทั้งนั้น มากินผ้ก กินผลไม้กันเถอะครับ อายุท่านจะยืนยาวปลอดสารพิษ ประการสำคัญ ตัดกรรม ปาณาติปาตาเวรมณี ศีลข้อที่ ๑ ไม่กินเนื้อสัตว์ ไม่ทำให้ตาย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มิถุนายน 2012
  6. babaecomputer

    babaecomputer Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    95
    ค่าพลัง:
    +77
    อยากมังสรัติ ได้มะคือ ยังอยากกินไข่อยู่
     
  7. Amuletism

    Amuletism เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2009
    โพสต์:
    5,779
    ค่าพลัง:
    +18,372
    ผมว่าสังคมไทย ยังขาดการปลูกฝังการรู้จักรับผิดชอบต่อสังคม
    นักการเมืองสร้างแบบอย่างความเห็นแก่ได้
    เป็นใหญ่แล้วไม่รู้จักดีชั่ว ร่ำรวยแล้วคนก็ก้มหัวให้
    พวกพ่อค้าจึงขาดความรับผิดชอบ เอาแต่ได้ ไม่สนใจชีวิตผู้อื่น
    ผมเชื่อในกฏแห่งกรรม ทำอะไรผิดๆไว้ ไม่ช้าผลกรรมย่อมตามสนองเอง
    แต่ที่ต้องตำหนิ คือ ภาครัฐที่ขาดความรับผิดชอบ หรือหย่อนยานในการควบคุมดูแล
    หรืออาจเพราะเรื่อง ???
     
  8. Chang_oncb

    Chang_oncb ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    12,276
    ค่าพลัง:
    +80,040
    ทานได้ครับ ไข่ยังทานได้ นะครับ ไม่ผิดกฏมังสะวิรัติ แต่ทานแล้วก็ต้องขอบพระคุณแม่ไก่ ที่ได้เสียสละเจ็บปวดจนออกมาเป็นไข่ให้เราได้ทาน ทานได้ครับ
     
  9. novoice

    novoice Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +87
    แย่งกันกิน แย่งกันใช้ ทำงานแทบเป็นแทบตาย อาหารที่กินเข้าไปก็เป็นพิษ ไม่มีการควบคุมการใช้ยาต่าง ๆ ในสัตว์ ส่วนอาหารเพื่อสุขภาพ เนื้อไก่ หมู ราคาแพงมาก พวกร้านค้าคงไม่มีใครเอามาทำขาย พวกเราต้องตายผ่อนส่งจริง ๆ นะนี่
     
  10. Chang_oncb

    Chang_oncb ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    12,276
    ค่าพลัง:
    +80,040
    จริงอย่างท่านพูด ข้าวก็มีสารพิษ ผักก็มีสารพิษ ผลไม้มีสารพิษ เนื้อสัตว์ก็มีสารพิษ ผู้บริโภครับประทานเข้าไปเป็นพิษต่อร่างกาย ก็ก่อให้เกิดมะเร็ง อายุก็สั้นลง ขอให้ทุกท่านใช้ปัญญาในการพิจารณา ใช้จิตเลือกเฟ้น ในการบริโภค แต่เลิกทานเนื้อสัตว์ดีที่สุด ในทางโลกก็ไม่ต้องได้รับสารพิษ ในทางธรรมก็เป็นการให้ทานด้วยชีวิต ต่อชีวิตให้สัตว์ ตัดกรรมของเราเอง
     
  11. khunfong

    khunfong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    462
    ค่าพลัง:
    +162

แชร์หน้านี้

Loading...