วิเคราะห์ ยามสอง คืนปีใหม่ แผ่นดินไหว คนไทยเมา

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย พรนิพพาน, 28 พฤศจิกายน 2011.

  1. karan20

    karan20 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2010
    โพสต์:
    1,297
    ค่าพลัง:
    +2,379
    อาจถึงเวลาที่เราจะต้องศึกษาหรือทบทวนความรู้เกี่ยวกับการรับภัยพิบัติแผ่นดินไหวแล้ว


    ข้อมูลจากเด็กชายปลาบู่ ผ่านคำบอกเล่าของคุณลุงทองใบ คำศรี ท่านเล่าว่า......
    เขาถามผมว่า " รถไฟลอยฟ้ามันเหาะได้มั้ยพ่อ?" " รถไฟใต้ดินมันมุดน้ำได้มั้ยพ่อ?" (ปี พ.ศ.2517 ยังไม่มีรถไฟลอยฟ้าและรถไฟใต้ดิน) ใต้กรุงเทพฯ- ธนบุรีไม่มีลูกรัง-หิน มีแต่ทรายทับถมโคลนตมอยู่ลึกๆ คนโบราณก่อสร้างเมืองไม่ต้องตอกเสาเข็ม เอาซุงมาทำแพบก จึงทำได้มั่นคงแข็งแรง


    วิเคราะห์ว่ากรุงเทพมีอันตรายเพราะมีตึกสูงมากมายและพื้นดินไม่มั่นคง
    พื้นดินในกรุงเทพอาจมีสภาพคล้ายของเหลวเมื่อได้รับแรงกระเทือนจากแผ่นดินไหว




    พื้นดินกลายสภาพคล้ายของเหลว
    ข้อมูลจาก http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=201

    นอกจากจะทำให้อาคารโยกไหวแล้ว แผ่นดินไหวอาจทำให้พื้นดินมีสภาพคล้ายของเหลวและสูญเสียกำลังแบกทานโดยสิ้น เชิง สภาพการณ์เช่นนี้อาจเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวในบริเวณที่มีสภาพดินเป็น ดินทราย และมีระดับน้ำใต้ดินสูง การที่ดินมีสภาพคล้ายของเหลวเกิดจากการที่พื้นดินได้รับแรงกระแทก เช่น แรงระเบิด หรือแรงกระทำซ้ำ เช่น แผ่นดินไหว ภายใต้แรงกระทำดังกล่าว แรงดันน้ำระหว่างมวลดินจะสูงขึ้นจนเท่ากับแรงดันระหว่างมวลดิน ซึ่งทำให้ดินสูญเสียกำลังเฉือน ในสภาพเช่นนี้ อาจเกิดสภาวะทรายดูด หรือดินไหลในแนวราบเช่นเดียวกับของเหลว สิ่งก่อสร้าง อาจจมหรือทรุดตัวลง

    จากการศึกษาถึงความเสียหายของโครงสร้างที่เกิดจากการเกิดแผ่นดินไหว พบว่า มีโครงสร้างจำนวนมากเสียหายจากการที่พื้นดินกลายสภาพคล้ายของเหลวขณะเกิด แผ่นดินไหว ตัวอย่างเช่น แผ่นดินไหวที่ประเทศชิลีในเดือนพฤษภาคมพ.ศ. ๒๕๐๓ แผ่นดินไหวที่ประเทศเม็กซิโก ในวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ และแผ่นดินไหวที่มลรัฐอะแลสกา ประเทศสหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ. ๒๕๐๗


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 พฤศจิกายน 2011
  2. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    เพราะดินกรุงเทพมันเหลวเป๋ว โครงสร้างยวบยาบ อ. อาจอง ถึงเตือนแล้วเตือนเล่า ให้ย้ายเมืองหลวงไปที่ราบสูงไง แต่ก็หามีใครสนใจฟังไม่
     
  3. ชัยธนันท์

    ชัยธนันท์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    859
    ค่าพลัง:
    +1,488
    จงอย่าประมาทคนแก่บอกเกิดมา 80 กว่าปีไม่เคยเจอน้ำท่วมหนักเหมือนปีนี้ อะไรก็เกิดขึ้นได้นับต่อจากนี้สิ่งที่ไม่ได้เห็นก็ได้เห็นมาหลายแบบแล้ว!ทั้งๆที่ก่อนหน้านี้เรามีความเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ เช่น สึนามิ
     
  4. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,558
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,034
    ค่าพลัง:
    +70,092
    สภาพดินของกรุงเทพ


    สามารถขยายแรงไหวของแผ่นดินที่มีศูนย์กลางไกลๆ แต่ส่งมาถึงกรุงเทพ ให้มีขนาดการไหว มากกว่าเดิม


    .เพราะดินที่กรุงเทพ และปริมณฑล ส่ว่นใหญ่เป็นดินอ่อน
     
  5. ปุญญ์

    ปุญญ์ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 เมษายน 2011
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +0
    ขนาดแผ่นดินไหวครั้งที่แรงที่สุดที่ผ่านมาของพม่าตั้งไกล อยู่เชียงใหม่ยังเวียนหัวเลย ถ้าไหวแรงๆที่พม่าแถบกาญจนบุรี คงจะเวฟมาแรงที่กทม.ได้แน่ๆเลย
     
  6. Aqua-ma-rine

    Aqua-ma-rine เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2008
    โพสต์:
    820
    ค่าพลัง:
    +1,242
    ดูจากน้ำท่วมคราวนี้ ก็ชัดเหมือนกันว่า การจัดการเรื่องภัยพิบัติบ้านเรายังไม่ดี ก็นะ อาจจะเพราะเราไม่เคยเจออะไรทำนองนี้ที่ผ่านมา เลยไม่รู้จะทำยังไง

    แต่สมมติ เกิดมีแผ่นดินไหวหนักๆ แถว กทม. ซึ่งมันเป็นภัยพิบัติที่รุนแรง ฉับพลันกว่าน้ำที่มันค่อยๆ เอ่อท่วมล่ะ คนไทยหรือรัฐบาลไทยจะตั้งรับได้มั้ยนะ
     
  7. Aqua-ma-rine

    Aqua-ma-rine เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2008
    โพสต์:
    820
    ค่าพลัง:
    +1,242
    ดูตัวอย่างจากการจัดการน้ำท่วมที่ผ่านมา คุณภาพชีวิตคนไทย ทั้งตอนกำลังเจอน้ำท่วม กับช่วงน้ำลด จะเรียกว่าแย่ก็แย่นะ เลยคิดว่า ถ้าเจอแผ่นดินไหว คงไม่หนีเฮติเท่าไร

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    เอาง่ายๆ ตั้งแต่ทางยกระดับ ทางด่วน ตึกทั่วไป จนถึงอาคารสูง มีซักแค่ไหน ที่ถูกสร้างมาให้ทนแรงแผ่นดินไหวได้ ยังไม่นับเรื่องก่อสร้างผิดเสป็ค

    ก็นั่นแหละ บ้านเราไม่เคยเจอภัยธรรมชาติมาก่อน ด้วยความที่อยู่รอดปลอดภัยมานานไง แต่ตอนนี้ โลกมันเปลี่ยนไปแล้วนะ

    อย่างน้อยๆ ก็กำลังเปลี่ยนแปลง เปลือกโลกขยับไปทั่ว
     
  8. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    จะเตือนต่อไป ว่ากรุงเทพไม่เหมาะเป็นเมืองหลวง ที่ปล่อยคนมาแออัดยัดเยียดกันมากมาย เพราะโครงสร้างดินมันหลวม เหลว เละ

    อยากให้คนมีอำนาจบริหารบ้านเมือง มีตาทิพย์มองเห็นสภาพดินใต้กรุงเทพจริง
     
  9. Aqua-ma-rine

    Aqua-ma-rine เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2008
    โพสต์:
    820
    ค่าพลัง:
    +1,242
    ความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร ต่อการเกิดแผ่นดินไหว
    images.thaiearthquake.multiply.multiplycontent.com/.../บทที่_1.doc?...


    ในอดีตนั้น พื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นทะเลมาก่อนเรียกว่า “แอ่งกรุงเทพฯ” ทำให้ดินมีสภาพเป็นดินเหนียวอ่อนซึ่งมีคุณสมบัติขยายแรงสั่นสะเทือนของพื้นดินได้ถึง 3-4 เท่าของระดับปกติ ด้วยเหตุนี้ กทม. จึงเป็นพื้นที่เสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวมากกว่าภัยธรรมชาติรูปแบบอื่นๆ

    ถึงแม้ว่า จะมีการยืนยันจากนักวิชาการหลายท่านและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่าไม่พบรอยเลื่อนที่มีพลังใต้พื้นดินใน กทม. ทำให้พื้นที่นี้จึงไม่ใช่ศูนย์กลางของแผ่นดินไหว ความเสียหายที่เกิดขึ้นจึงมาจากแผ่นดินไหวในระยะไกลแทน


    แต่จากการสัมภาษณ์ รศ.ดร.<?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]ปัญญา จารุศิริ</st1:personName> หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐาน ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้ทราบว่า


    แท้จริงแล้ว ประเทศไทยยังไม่เคยมีการศึกษาและสำรวจโครงสร้างดินใน กทม.อย่างจริงจังมากกว่า


    นอกจากนี้ รศ.ดร.ปัญญา ได้ศึกษาโดยใช้ข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวในอดีตแล้วพบว่าเคยมีรอยเลื่อนพาดผ่านระหว่าง 4 จังหวัด ได้แก่ กทม. สมุทธปราการ สมุทธสาคร และชลบุรี เพียงแต่ยังไม่มีการพิสูจน์ว่ามันเป็นรอยเลื่อนที่มีพลังหรือไม่

    ข้อมูลด้านธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและธรณีพิบัติภัย ของกรมทรัพยากรธรณีได้เปรียบเทียบให้เห็นถึงขนาด ความรุนแรง และระยะทางที่มีผลกระทบเมื่อเกิดแผ่นดินไหว ดังนี้

    <TABLE class=MsoNormalTable style="WIDTH: 107.36%; mso-cellspacing: 0cm; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="107%" border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">ตารางแสดงการเปรียบเทียบให้เห็นถึงขนาด ความรุนแรง และระยะทางที่มีผลกระทบ เมื่อเกิดแผ่นดินไหว
    <O:p</O:p
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent"><TABLE class=MsoNormalTable style="BORDER-RIGHT: white 1pt outset; BORDER-TOP: white 1pt outset; BACKGROUND: #cccccc; MARGIN: auto 6.75pt; BORDER-LEFT: white 1pt outset; WIDTH: 445.1pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt outset; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-padding-alt: 1.5pt 1.5pt 1.5pt 1.5pt; mso-border-alt: outset white .75pt; mso-table-overlap: never; mso-table-lspace: 9.0pt; mso-table-rspace: 9.0pt; mso-table-anchor-vertical: paragraph; mso-table-anchor-horizontal: margin; mso-table-left: left; mso-table-top: 3.85pt" cellPadding=0 width=593 align=left border=1><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; BACKGROUND: #ffcc00; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 14.92%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; mso-border-alt: inset white .75pt" width="14%">
    ขนาด (ริกเตอร์)<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; BACKGROUND: #ffcc00; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 53.62%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; mso-border-alt: inset white .75pt" width="53%">
    ความรุนแรง (เมอร์คัลลี่)<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; BACKGROUND: #ffcc00; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 30.1%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; mso-border-alt: inset white .75pt" width="30%">
    ระยะทางที่มีผลกระทบ (กม.)<O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 14.92%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="14%">
    น้อยกว่า 3.0<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 53.62%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="53%">
    1-2 ประชาชนไม่รู้สึก ตรวจวัดได้เฉพาะเครื่องมือ <O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 30.1%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="30%">
    -<O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: yellow 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; BACKGROUND: #ffcc00; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 14.92%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; mso-border-alt: inset white .75pt; mso-border-top-alt: inset yellow .75pt" width="14%">
    ขนาด (ริกเตอร์)<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: yellow 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; BACKGROUND: #ffcc00; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 53.62%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; mso-border-alt: inset white .75pt; mso-border-top-alt: inset yellow .75pt" width="53%">
    ความรุนแรง (เมอร์คัลลี่)<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: yellow 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; BACKGROUND: #ffcc00; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 30.1%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; mso-border-alt: inset white .75pt; mso-border-top-alt: inset yellow .75pt" width="30%">
    ระยะทางที่มีผลกระทบ (กม.)<O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 14.92%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="14%">
    3.0 - 3.9<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 53.62%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="53%">
    3 คนอยู่ในบ้านเท่านั้นรู้สึก <O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 30.1%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="30%">
    24<O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 4"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 14.92%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="14%">
    4.0 - 4.9<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 53.62%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="53%">
    4-5 ประชาชนส่วนใหญ่รู้สึกได้ <O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 30.1%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="30%">
    48<O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 5"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 14.92%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="14%">
    5.0 - 5.9<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 53.62%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="53%">
    6-7 ประชาชนทุกคนรู้สึก และอาคารเสียหาย<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 30.1%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="30%">
    112<O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 6"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 14.92%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="14%">
    6.0 - 6.9 <O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 53.62%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="53%">
    7-8 ประชาชนตื่นตกใจ และอาคารเสียหายปานกลาง <O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 30.1%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="30%">
    200<O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 7"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 14.92%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="14%">
    7.0 - 7.9<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 53.62%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="53%">
    9-10 อาคารเสียหายอย่างมาก<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 30.1%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="30%">
    400<O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 8; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 14.92%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="14%">
    มากกว่า 8.0<O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 53.62%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="53%">
    11-12 อาคารเสียหายเกือบทั้งหมด <O:p></O:p>

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: white 1pt inset; PADDING-RIGHT: 1.5pt; BORDER-TOP: white 1pt inset; PADDING-LEFT: 1.5pt; PADDING-BOTTOM: 1.5pt; BORDER-LEFT: white 1pt inset; WIDTH: 30.1%; PADDING-TOP: 1.5pt; BORDER-BOTTOM: white 1pt inset; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: inset white .75pt" width="30%">
    720<O:p></O:p>


    </TD></TR></TBODY></TABLE><O:p></O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent"><O:p> </O:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BACKGROUND-COLOR: transparent">ที่มา : ปรับปรุงจากกรมทรัพยากรธรณี, ข้อมูลวิชาการด้านธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและธรณีพิบัติภัย www.dmr.go.th/

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <O:p></O:p>
    โดยสรุป ถึงแม้ผลสำรวจยังไม่พบว่าใต้ดินของ กทม.มีรอยเลื่อนมีพลังซ่อนอยู่ แต่การรู้ตำแหน่งของรอยเลื่อนมีพลังในประเทศ อย่างน้อยก็ทำให้สามารถประเมินผลกระทบและความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้ระดับหนึ่ง เพราะถ้าจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวตั้งอยู่บนรอยเลื่อนที่อยู่ห่างไกลจากกรุงเทพมาก ก็พอจะคาดการณ์ได้ว่าผลกระทบคงมีไม่มากนัก<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    เห็นได้ว่ารอยเลื่อนมีพลังส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณภาคเหนือและภาคใต้ของไทย แต่จากคำสัมภาษณ์ของนายวรวุฒิ ตันติวนิช ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ปรึกษาทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี

    ในการประชุมสัมมนาเรื่อง “แผ่นดินไหว : ธรณีพิบัติภัยใกล้ตัว” เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2551 พบว่ารอยเลื่อนบริเวณภาคตะวันตก เป็นรอยเลื่อนที่อาจสร้างความเสียหายต่อ กทม.ได้มาก โดยเฉพาะรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ เพราะเป็นรอยเลื่อนที่มีขนาดยาว อีกทั้งอยู่ใกล้ กทม. ซึ่งหากเกิดแผ่นดินไหวขนาดรุนแรงจะสร้างความเสียหายได้มาก (คมชัดลึก,3 ก.ค. 50)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ความเสียหายของอาคารสูง เมื่อเกิดแผ่นดินไหวใน กทม.<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    แม้ว่าผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยาจะย้ำว่าแผ่นดินไหวแบบรุนแรงจะไม่เกิดในประเทศไทย แต่ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติดังกล่าวได้สร้างความหวั่นไหวให้กับ "อาคารสูง" และ "ความรู้สึกของประชาชน" ใน กทม. ถึงความปลอดภัยของตัวโครงสร้างอาคารที่มีอยู่หลายพันแห่งทั่วกรุง
    <O:p></O:p>
    จากการสำรวจอาคารบ้านเรือนใน กทม. โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง พบว่า กทม. มีตึกรามบ้านช่องมากถึง 1.98 ล้านหลังคาเรือน จำนวนนี้เป็นตึกสูงเกินกว่า 9 ชั้น ประมาณ 5,000 หลัง แต่กลับพบว่ามีเพียง 3,000 กว่าหลังเท่านั้น


    ที่ส่งผลการตรวจสอบอาคารว่ามีการดูแลและปรับปรุงความมั่นคงแข็งแรงจนได้มาตรฐานแล้ว นาย<st1:personName w:st="on" ProductID="ทรงศักดิ์ นุชประยูร">ทรงศักดิ์ นุชประยูร</st1:personName> ผู้อำนวยการกองควบคุมอาคาร สำนักงานโยธา ให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์ผู้จัดการประจำวันที่ 14 พ.ค. 51 ว่า ขณะนี้เจ้าของตึกสูงส่งรายงานเข้ามาแล้ว 3,000 กว่าแห่ง


    คงเหลืออีก 1,000 แห่งที่ยังไม่ส่งผลการตรวจสอบอาคาร ซึ่งกองควบคุมอาคาร สำนักการโยธา ได้แจ้งเตือนไปเป็นครั้งที่ 2 แล้ว มีการปรับเงินเจ้าของอาคารวันละ 10,000 บาท ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร และจะแจ้งไปทางสำนักงานเขตให้ทำหนังสือดำเนินคดีตามกฎหมายต่อไป


    โดย “ตึกสูงในกรุงเทพฯ” ที่มีอยู่กว่า 3,000 แห่งนั้น ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ใน 11 เขตพื้นที่ ได้แก่ เขตสาทร บางรัก คลองเตย วัฒนา ปทุมวัน ราชเทวี ยานนาวา คลองสาน บางคอแหลม ห้วยขวาง และ ดินแดง
    <O:p></O:p>
    ด้วยโครงสร้างดินของ กทม. ที่เป็นดินเหนียวอ่อน ทำให้อาคารสูงจะได้รับผลกระทบจากการสั่นไหวมากกว่าอาคารเตี้ย จึงไม่แปลกที่เมื่อเกิดแผ่นดินไหวระยะไกล คนที่อยู่อาคารสูงจะรู้สึกโงนเงนและสั่นไหว


    เพราะยิ่งอยู่บนอาคารสูงมากเท่าไหร่ การรับรู้แรงสั่นสะเทือนก็จะยิ่งมีมากเท่านั้น ในเรื่องนี้ ผศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ หัวหน้าหมวดวิชาวิศวกรรมปฐพี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อธิบายว่า <O:p></O:p>

    “กทม. เป็นพื้นที่เสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวระยะไกล เพราะ กทม.มีชั้นดินที่มีลักษณะพิเศษ คือ เป็นดินเหนียวอ่อน เหมือนเป็นเจลลี่แปะอยู่


    เวลาเกิดแผ่นดินไหว คลื่นแผ่นดินไหวจะเคลื่อนที่ได้เร็วในชั้นหิน เมื่อมาเจอชั้นดินอ่อนอย่าง กทม. โอกาสที่จะได้รับผลกระทบจากแรงสั่นสะเทือนก็ยิ่งมีมาก”<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    สอดคล้องกับความคิดเห็นของ รศ.ดร.<st1:personName w:st="on" ProductID="ปัญญา จารุศิริ">ปัญญา จารุศิริ</st1:personName> ที่ว่าโครงสร้างดินใน กทม. ถือเป็นตัวแปรสำคัญที่สร้างความเสียหายต่ออาคารสูงได้ ถึงแม้ว่าจะเป็นแผ่นดินไหวขนาดปานกลางก็ตาม


    ตัวอย่างที่คล้ายคลึงกันคือเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 5.4 ริคเตอร์ ที่รัฐแคลิฟอร์เนียของประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
    <O:p></O:p>
    “จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่แคลิฟอร์เนียซึ่งมีขนาดไม่ใหญ่ประมาณ 4-5 ริกเตอร์ ทำให้เรามาฉุกคิดว่าแผ่นดินไหวขนาดปานกลาง ก็อาจมีผลต่อตึกสูงใน กทม.ได้

    เพราะ กทม. เป็นชั้นดินเหนียว ซึ่งเมื่อรับคลื่นมันจะทำหน้าที่ขยายตัวคลื่นแผ่นดินไหว


    ผลก็คือ ทำให้ตึกเกิดการสั่นไหวได้มากขึ้น ดังนั้น ถึงแม้ว่าแผ่นดินไหวจะเกิดจากรอยเลื่อนที่ไม่ใหญ่ยาวนัก


    ซึ่งทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดปานกลาง แต่ก็มีอันตราย ถ้ารอยเลื่อนนั้นอยู่ใกล้กับเมืองที่เป็นศูนย์กลางความเจริญ” รศ.ดร.ปัญญา กล่าว<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    อย่างไรก็ตาม คณาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กลับเห็นว่าในเชิงผู้ใช้งาน อาคารสูงอาจดูน่ากลัว เพราะมีการสั่นไหวมากกว่า


    แต่ถ้าพิจารณาเรื่องความปลอดภัยเชิงโครงสร้าง อาคารสูงจะมีการควบคุมคุณภาพการก่อสร้างสูงตามไปด้วย ดังนั้น อาคารขนาดกลางน่าจะได้ผลกระทบมากกว่าอาคารสูงเสียอีก


    ซึ่งสอดคล้องกับความสูงขั้นต่ำของอาคารควบคุมที่กฎกระทรวงฉบับใหม่ระบุไว้ว่าเป็นอาคารสูงตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป
    <O:p</O:p

    “ในเชิงผู้ใช้อาคาร อาคารสูงดูน่ากลัวกว่า เพราะสั่นไหวมากกว่า แต่ถ้าในเรื่องความปลอดภัยเชิงโครงสร้าง อาคารสูงจะมีการควบคุมคุณภาพการก่อสร้างสูงตามไปด้วย


    เช่น การมีวิศวกรมาให้คำปรึกษา การคำนึงความต้านทานแรงลม คือในเชิงทฤษฎีมันน่ากลัว

    แต่ในความจริงไม่ขนาดนั้น ผมว่าอาคารขนาดกลางน่าจะได้ผลกระทบมากกว่าอาคารสูงเสียอีก


    ซึ่งเมื่อเชื่อมโยงกับกฎหมายใหม่ก็คือ อาคาร 5 ชั้นขึ้นไปเริ่มอันตราย


    อย่างไรก็ตาม ควรคำนึงถึงปัจจัยอื่นๆนอกเหนือจากจำนวนชั้น เช่น โครงสร้างทางธรณีวิทยา และการออกแบบโครงสร้างอาคาร”<O:p</O:p

    นอกจากนี้ ยังพบว่า เมื่อเกิดแผ่นดินไหวที่มีระดับความรุนแรงสูง จะไม่มีสัญญาณโทรศัพท์มือถือ ทำให้ผู้ประสบภัยไม่สามารถติดต่อกับภายนอกได้
     
  10. chunhapong

    chunhapong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    147
    ค่าพลัง:
    +731
    ตั้งกลุ่มขึ้นมาครับ หาคนนำขึ้นมา
    รวบรวมข้อมูลทุกด้านทั้งนักวิทย์ฯ
    นักจิต คำเตือนทุกสายพระครูบาอาจารย์
    มายิ่งดี เพื่อโลก เพื่อชาติ ด้วยความเมตตาสงสาร
    แล้วรวมตัวกันไปยื่นที่ทำเนียบเลย ทำอย่างไรก็ได้
    ให้เสียงดังๆ ออกสื่อได้ยิ่งดี รวมกันไป นัดกันไป เยอะๆ
    คงทำได้แค่นี้แหละ ถ้าทำจริงๆ แต่เขาจะย้ายหรือไม่ย้ายก็คงต้องปล่อย
    เพราะได้เตือนกันแล้ว ไม่ทำก็ไม่รู้จะให้ทำอย่างไร ก็ต้องยอมรับได้ทุกอย่าง
     
  11. zagio

    zagio เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    57
    ค่าพลัง:
    +184
    ยังติดใจ สคส พระราชทานปี 2547

    ที่ข้างใต้มีรูปหมาย 7 ตัว น่าจะหมายถึงปี 2554

    การที่ตัวเล็กลงเรื่อย ๆ อาจจะหมายถึงการนับถอยหลัง


    ก็อาจจะเป็นไปได้ว่า อาจจะมีการวางระเบิดนิวเคลียร์ไว้บริเวณเปลือกโลกดังในรูป

    แล้วกดระเบิดในเวลาดังกล่าว 7 6 5 4 3 2 1 boom

    ส่วน กส 9 = นามเรียกขานของในหลวงเวลาใช้วิทยุ

    ปรุง เป็นระบบการพิมพ์ เดิมคือ ปรุ

    291929 ธค 2546 คือ วัน ว เวลา น

    แปลว่า 29 ธค 2546 เวลา 19.29 น. คือเวลาที่ทำ สคส เสร็จนั่นเอง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 12345667.png
      12345667.png
      ขนาดไฟล์:
      483.6 KB
      เปิดดู:
      185
  12. zagio

    zagio เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    57
    ค่าพลัง:
    +184
    วันก่อนไปดู สคส 2545

    ก็ได้น่าข้อสังเกตุเพิ่มเติม

    น่านก็คือ ถ้าเอาตัวเลข + พศ ไปเรื่อยจะได้ดังนี้

    1.2546 หอยทาก 2.2547 ทวิบาท = คน 3.2548 ตรีบาท = คนแก่ถือไม้เท้า
    4.2549 จตุรบาท = สุนัข (ทหารออกมาปฎิวัติทักษิณ)
    5.2550 ปัจญบาท = ปลาดาว 6.2551 ฉบาท= แมลงวัน 7.2552 ยุงกินเลือด
    8.2553 ปลาหมึกยักษ์ 9=2554 ปู (ยิ่งลักษณ์ ?)
    10-2555 กิ้งกือ 11-2556 ตะขาบ 12-2557 สหัสบาท (สงครามโลกครั้งที่ 3?)

    จำนวนขาอาจจะแปลถึงความวุ่นวายที่จะมากขึ้นทุก ๆ ปีจนสูงสุดที่ 2557 ?
     
  13. ชัยบวร

    ชัยบวร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2011
    โพสต์:
    928
    ค่าพลัง:
    +1,642
    เคยได้ยินมาเหมือนกันครับ วันหนึ่งในช่วงนี้ (จำวันไม่ได้) มีเจ้าหน้าที่ราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ท่านหนึ่งบอกเล่าให้ผมฟังว่า ตอนที่ไปอบรมเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงเมื่อประมาณ 4 ปีก่อน ที่ทรงประยุกต์มาจากทางสายกลางในพระพุทธศาสนานั้น ทรงย้ำเตือนเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับภัยพิบัตินี่แหละครับ...แต่ไม่ได้ถามรายละเอียดมากนัก เพราะยุ่งอยู่กับงานพอดี
     
  14. อนิจฺจํ

    อนิจฺจํ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    1,374
    ค่าพลัง:
    +2,949

    ถ้าได้รายละเอียดมาเล่าสู่กันฟังคงดีมากที่สุดครับ
    สิ่งใดที่พ่อหลวงเรากล่าว
    สิ่งใดที่พ่อหลวงเราย้ำเตือน
    นั่นคือพระองค์ทรงเป็นห่วงพวกเราชาวไทยครับ

    ขอพระองค์ทรงพระเจริญ
     
  15. พรนิพพาน

    พรนิพพาน Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2011
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +48
    สรุปตำแหน่งที่ตั้งเขาลับแล และสวนศรีมหาโพธิ์

    สถานที่ตั้งของสวนศรีมหาโพธิ์และเขาลับแล (โครงการจัดตั้งฯวัดป่าร่มโพธิ์ศรี) หมู่ที่ 1 ตำบลทรายขาว อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
    ละติจูด 13° 4'4.80" เหนือ ลองติจูด102°16'6.19" ตะวันออก

    ทิศเหนือ เป็นถนนทางหลวงเลขที่ 317 ผ่านตัวอำเภอสอยดาว มุ่งสู่จังหวัดสระแก้ว ระยะทางประมาณ 85 กิโลเมตร

    ทิศใต้ เป็นถนนทางหลวงเลขที่ 317 มุ่งสู่ตัวจังหวัดจันทบุรี ระยะทางประมาณ 55 กิโลเมตร

    ทิศตะวันออก เป็นถนนทางหลวงเลขที่ 3193 มุ่งสู่ชายแดนไทย-กัมพูชา ตลาดบ้านแหลม ระยะทางประมาณ 35 กิโลเมตร

    ทิศตะวันตก เป็นเทือกเขาสอยดาว ห่างจากเขาลับแล ประมาณ 3 กิโลเมตร

    จากกรุงเทพมหานคร สามารถมาได้ 2 เส้นทาง คือ

    1. มาทาง ชลบุรี-ระยอง-จันทบุรี เลี้ยวซ้ายมาตามถนนทางหลวงเลขที่ 317 จันทบุรี -สระแก้ว ระยะทางประมาณ 55 กิโลเมตร (กม. 55)เส้นสุขุมวิทไปสุดทาง จันทบุรี-สระแก้ว(ให้เลี้ยวซ้ายไปจันทน์ เพราะเลี้ยวขวาไปตราด)


    2. มาทางปราจีน-สระแก้ว เลี้ยวขวามาตามถนนทางหลวงเลขที่ 317 สระแก้ว-จันทบุรี ระยะทางประมาณ 85 กิโลเมตรจากตัวเมืองสระแก้ว (กม. 55)

    เมื่อมาถึงอำเภอสอยดาว กม.55 สามแยกตามูล สามารถถามตำแหน่งที่ตั้งของสวนศรีมหาโพธิ์ หรือเขาลับแล กับชาวบ้านแถวๆ นั้นได้เลยครับ

    (ขอบพระคุณข้อมูลจากท่านสิงหนาท โพธิสัตว์ค่ะ)
     
  16. พรนิพพาน

    พรนิพพาน Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2011
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +48
    มีการปรับแผนนิดหน่อย เพราะตอนนี้กระแสเรื่องของปลาบู่แรงมาก มีคนไปหาที่เขาลับแลเยอะ ลาภสักการะต่าง ๆ ก็เริ่มเข้ามา ดังนั้นครูบาจึงขอปลีกตัวออกมาภาวนาอยู่ข้างนอกก่อน ท่านสิงหนาทปลีกวิเวกไปวัดแถวๆจันทบุรี อาศัย aircard ทำงานเพื่อมวลมนุษย์

    ถ้าไปตอนนี้ก็จะได้พบคุณตาทองใบ ตอนนี้ภารกิจแรกที่ทำให้ปลาบู่เสร็จแล้ว คือการแจ้งเตือนภัย และส่งข้อมูลถึงท่านผู้เกี่ยวข้อง เหตุปัจจัยต่าง ๆ ก็กำลังดำเนินการต่อไป ดังนั้น ตอนนี้การมาพักที่สวนศรีมหาโพธิ์และเขาลับแลนั้น มาได้ แต่ยังไม่พร้อมเท่าไหร่

    แต่เรื่องศูนย์นั้นท่านสิงหนาทกำลังดำเนินการประสานงานกับดร.ท่านหนึ่งและเพื่อนสมาชิกอยู่ เปรียบเหมือนการต่อจิ๊กซอร์ เรื่องศูนย์ก้าวหน้าไปมาก แต่ครูบาจะไปเขาลับแลก็ต่อมาเหตุปัจจัยเหมาะสมแล้ว
     
  17. พรนิพพาน

    พรนิพพาน Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2011
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +48
    ตามวิดิโอ 5ุ6 วัน 7 ราตรี ตอนท้ายเรื่องจะมีเหตุเกิดแถวหาดนวกร กม. 346 นั้น ทำให้นึกถึงคำเตือนที่ท่านสิงหนาท โพธิสัตว์ได้รับการแจ้งเตือนมาว่า

    fb: Singhanat Bodisattava
    ต้นปี ท่านแจ้งเรามาว่า ตั้งแต่ภาคใต้ไล่จนมาถึงภาคกลาง มีโพรงยักษ์เป็นแนวยาว เพราะแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว และการเลื่อนของเปลือกโลก ซึ่งเมื่อเกิดเหตุการณ์ครั้งใหญ่จะทำให้นำทะเลทะลักเข้ามาในโพรงนี้ผุดขึ้นมาบนผิวดินเป็นบริเวณกว้าง ตอนนี้เกิดตัวอย่างให้เห็นแล้ว ที่ จ.สุราษฎร์ธานี ที่กลาง ๆ ปีมีข่าวว่ามีน้ำผุดขึ้นมาจากใต้ดินท่วมสวนทุเรียนของชาวบ้าน มีโยมมาเล่าให้ฟังว่า น้ำใสมาก ๆ และที่แปลกคือ น้ำขึ้นลงตามระดับน้ำทะเล ทั้ง ๆ ที่ห่างจากทะเลกว่า 50-100 กิโลเมตร - -"

    เพราะก็สอดคล้องกันกับการมีรอยเลื่อนที่พาดผ่านและโพรงที่เกิดขึ้นแล้ว ถ้าเป็นเช่นนั้นจริงคงไม่ต้องขุดคอคอดกระแบบอจ.ปริญญาพูด
     
  18. moddang

    moddang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มกราคม 2005
    โพสต์:
    4,464
    ค่าพลัง:
    +5,423
    ยิ่งปีนี้น้ำท่วม น้องน้ำลงไปใต้ดินในกทม ยิ่งทำให้ดินเหลวมากขึ้น เวลาแผ่นดินไหวแค่เล็กน้อยอาจจะเกิดความเสียหายง่ายขึ้น คิดง่ายๆ ยิ่งถ้าแผ่นดินไหวใหญ่ เดาว่ากทมโดนจัดหนักแน่ๆ ครับผม
     
  19. พรนิพพาน

    พรนิพพาน Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2011
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +48
    มีการปรับแผนนิดหน่อย เพราะตอนนี้กระแสเรื่องของปลาบู่แรงมาก มีคนไปหาที่เขาลับแลเยอะ ลาภสักการะต่าง ๆ ก็เริ่มเข้ามา ดังนั้นครูบาจึงขอปลีกตัวออกมาภาวนาอยู่ข้างนอกก่อน ท่านสิงหนาทปลีกวิเวกไปวัดแถวๆจันทบุรี อาศัย aircard ทำงานเพื่อมวลมนุษย์

    ถ้าไปตอนนี้ก็จะได้พบคุณตาทองใบ ตอนนี้ภารกิจแรกที่ทำให้ปลาบู่เสร็จแล้ว คือการแจ้งเตือนภัย และส่งข้อมูลถึงท่านผู้เกี่ยวข้อง เหตุปัจจัยต่าง ๆ ก็กำลังดำเนินการต่อไป ดังนั้น ตอนนี้การมาพักที่สวนศรีมหาโพธิ์และเขาลับแลนั้น มาได้ แต่ยังไม่พร้อมเท่าไหร่

    แต่เรื่องศูนย์นั้นท่านสิงหนาทกำลังดำเนินการประสานงานกับดร.ท่านหนึ่งและเพื่อนสมาชิกอยู่ เปรียบเหมือนการต่อจิ๊กซอร์ เรื่องศูนย์ก้าวหน้าไปมาก แต่ครูบาจะไปเขาลับแลก็ต่อมาเหตุปัจจัยเหมาะสมแล้ว
     
  20. พรนิพพาน

    พรนิพพาน Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2011
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +48
    ตามวิดิโอ 5ุ6 วัน 7 ราตรี ตอนท้ายเรื่องจะมีเหตุเกิดแถวหาดนวกร กม. 346 นั้น ทำให้นึกถึงคำเตือนที่ท่านสิงหนาท โพธิสัตว์ได้รับการแจ้งเตือนมาว่า

    fb: Singhanat Bodisattava
    ต้นปี ท่านแจ้งเรามาว่า ตั้งแต่ภาคใต้ไล่จนมาถึงภาคกลาง มีโพรงยักษ์เป็นแนวยาว เพราะแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว และการเลื่อนของเปลือกโลก ซึ่งเมื่อเกิดเหตุการณ์ครั้งใหญ่จะทำให้นำทะเลทะลักเข้ามาในโพรงนี้ผุดขึ้นมาบนผิวดินเป็นบริเวณกว้าง ตอนนี้เกิดตัวอย่างให้เห็นแล้ว ที่ จ.สุราษฎร์ธานี ที่กลาง ๆ ปีมีข่าวว่ามีน้ำผุดขึ้นมาจากใต้ดินท่วมสวนทุเรียนของชาวบ้าน มีโยมมาเล่าให้ฟังว่า น้ำใสมาก ๆ และที่แปลกคือ น้ำขึ้นลงตามระดับน้ำทะเล ทั้ง ๆ ที่ห่างจากทะเลกว่า 50-100 กิโลเมตร - -"

    เพราะก็สอดคล้องกันกับการมีรอยเลื่อนที่พาดผ่านและโพรงที่เกิดขึ้นแล้ว ถ้าเป็นเช่นนั้นจริงคงไม่ต้องขุดคอคอดกระแบบอจ.ปริญญาพูด
     

แชร์หน้านี้

Loading...