ภูมิพระโสดาบัน โดยหลวงปู่หล้า

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย หลบภัย, 21 พฤศจิกายน 2010.

  1. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    เอาแบบนี้นะคะ หลบภัยจะถอดเทปต่อ ขอให้พี่ๆ ช่วยในเรื่อง ภาษาบาลี และสะกดคำ
    ช่วยหลบภัยหน่อยแล้ว จะฝึกเอาชนะใจตัวเอง
    เดี่ยวหลบภัยถอดกัณนี้เต็มให้อีกครั้งนะ รอแปบๆ ช่วงนี้งานเข้าไม่เกิน 3 วัน
    จะได้เผยแผ่ต่อไป ช่วยกันเนอะ เดี่ยวเอามาแปะใหม่ ภาษาท่านฟังก็อยาก หลบภัย
    ต้องเปิดเสียงสุดเลยค่ะ ...รอนิดนึงนะคะ
     
  2. jinny95

    jinny95 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    6,074
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +9,666
    รออ่านอยู่ครับ ถ้าภาษาฟังยาก ลองถอดครูอาจารย์ในยุคปัจจุบัน หรือใกล้ ๆ ก่อน ไฟล์เสียงทันสมัย ถ้ายุคก่อนหน้านี้มาก ๆ เสียงจะฟังยาก อุปกรณ์มันยังไม่ทันสมัย ซ้ำภาษา บางทีเป็นภาษาภูมิภาค

    ยินดีด้วยที่ มีความพยายาม ในการทำความดี
     
  3. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    ตอบว่า การกระทำใดก็ตามเป็นไปด้วย กิเลสทั้งหลายอันมี โทสะ โมหะ โลภะ เป็นที่ตั้ง ย่อมชื่อว่ายังไม่ถึงซึ่งคำว่า คุณธรรม ผู้ที่ทำสิ่งใดก็ตามไม่ได้มี กิเลส เหล่านี้เป็นที่ตั้งย่อมเป็นผู้ถึงซึ่งคุณธรรม จะเด็กหรือผู้ใหญ่ไม่ใช่ตัวชี้วัดถึงเรื่องคุณธรรม มันเป็นเพียงตัวเลขและซากสังขารอันมีแต่วันร่วงโรยไป ดังนั้นผู้ใหญ่ที่ไม่พินิจพิจารณา ลดละ กิเลส จึงเปรียบได้กับ โมฆะบุรุษ ไม่ควรเอาอย่าง ไม่ควรเจริญรอยตาม จึงต้องใช้ปัญญาเป็นอย่างมากตลอดจน สิ่งเหนือธรรมชาติ ในการจะแนะนำตักเตือนเขาทั้งหลายเหล่านั้น(ถ้าใครมีน๊ะ) เช่น ยุคพุทธกาล ก่อนที่สามพี่น้อง ชฏิล จะเข้าเป็นพระสงฆ์สาวกของพระศาสดาสมณโคดมเจ้า ท่านทั้งสามนั้นมีทิฐิมานะมาก แม้จะเป็นผู้มีอายุมากแล้วก็ตามก็ไม่ได้หมายความว่าจะมีคุณธรรมสูง เพราะยังคงอาศัยกิเลสทั้งหลายเป็นหนทางดำเนินชีวิต ที่เหลือไปอ่านเอาเองและพิจารณาเอาเองนะคั๊บ
    ไม่อยากรอคำตอบแล้วเลยตอบเองดีกว่า และก็ทำแบบนี้มาสองครั้งแล้ว ก็พิจารณาเอาเองแล้วกันนะว่าได้อะไรบ้างจากการฟังธรรมก็ดี อ่านธรรมก็ดี ปฏิบัติธรรมก็ดี พิจารณากันดูเอา
     
  4. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    1

    อนัตตาความทุกข์โศก เอกะทิฏฐิทุกข์ ทุกข์ทางกาย เอกทุกข์ ทุกข์ทางใจ เป็นของที่ควรเว้นอายิกทุกข์ ทุกข์ทางใจเป็นของควรแก่การพิจารณา มีประจำกายสังขาร วจีสังขาร จิตสังขาร พระนิพพานไม่ได้มาเป็นทุกข์ด้วย (......................)จงพิจารณาทุกข์ ให้ยิ่ง( ..........)จงละเสียซึ่ง<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    อกุศลและบาปกรรม มรรคสัจ จงเจริญให้ยิ่ง คือไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปัญญา นิโรธสัจ เป็นหน้าที่ควรทำให้แจ้ง เห็นอนิจจัง ขณะจิตหนึ่ง ก็เห็นโลกรอบหนึ่งแล้ว ไม่สงสัยในโลกทั้งปวงเลย เพราะอยู่ใต้อำนาจ อนิจจัง โลกทั้งปวง กลับสังขารทั้งปวง มีความหมายโลกอันเดียวกัน สังขารโลก โลกคือสังขารสัตว์โลก โลกคือหมู่สัตว์ โอกาศโลกโลกคือแผ่นดิน มนุษย์โลกได้แก่โลกที่เราอาศัยอยู่ เทวโลกได้แก่โลกของกามาวจร 6 ชั้น พรหมโลก ได้แก่รูปพรหม 16 ชั้น และอรูปพรหม 4 ชั้น รวมลงในสังขารทั้งปวง สังขารทั้งปวงย่นลงย่อลงเป็นสอง คือ อุปาทินกสังขาร สังขารที่มีใจครอง อนุปทินกสังขาร สังขารที่ไม่มีใจครอง สังขาราปรมาทุกขา สังขารเป็นทุกข์อย่างยิ่ง โลกเป็นทุกข์อย่างยิ่ง รูปธรรม นามธรรมเป็นทุกข์อย่างยิ่ง<o:p></o:p>
    รูปขันธ์ นามขันธ์เป็นทุกข์อย่างยิ่ง รูปโลก นามโลกเป็นทุกข์อย่างยิ่ง <o:p></o:p>
    รูปธาตุ นามธาตุเป็นทุกข์อย่างยิ่ง <o:p></o:p>
    รูปสังขาร นามสังขารเป็นทุกข์อย่างยิ่ง อยู่ตามเป็นธรรมชาติก็เป็นทุกข์อย่างยิ่ง ผู้ที่มายึดมาเป็นเจ้าของ คือทุกข์สองชั้น ผู้ใดไปยึดเป็นเข้าของ คือ กิเลส กิเลสมาจากไหน มาจาก อัตตมาทุปทาน ใครชนะอัตตมาอุปทานแล้วกามอุปาทาน ศีลปตุปาทาน ก็ดับไปนะที่นั้นเอง ไม่ต้องเรียน ปกิจจสมุทปบาท ก็ได้ ทำไมถึงไม่มีกระทู้ทำไมจึงไม่มีนโม <o:p></o:p>
    นโมแปลว่าน้อมน้อม กระทู้กาย กระทู้วาจา กระทู้ใจ กระทู้รูป กระทู้นาม มาจากคัมภีร์ไหน มาจากคัมภีร์ นโม พุธ-ตัง ใช่ไหมท่านมหา ธรรมแต่ผลบาทส่งผลต่อพระนิพพานหมด ใช่ไหม ขึ้นอยู่กับผู้มีบารมีแก่กล้ามาแล้วเท่านั้น ใครเป็นผู้เรียน นโมจบ พระอรหันต์เรียนนโมจบ นโมแปลว่านอบน้อม นอบน้อมจนไม่มาเกิดแก่เจ็บตาย นอบน้อมจนไม่มีเกิดมีหลง นโมพระโสดาบัน แปลว่านอบน้อม ไม่ล่วงละเมิดศีล 5 ไม่เสียดายล่วงมะเมิดอบายมุข ไม่เสียดายจะถืออยู่ยงคงกะพัน เบื้องต้นไม่เสียดายอยากจะถือศาสดาอื่น อริยสัจเทศก์ไม่ถือศาสดาอื่น (.............)<o:p></o:p>
    เอเตนะ ว่ามคธเป็นไทย พระโสดาบันไม่เสียดายอยากถือศาสดาอื่นเลย ไม่เสียดายอยากล่วงละเมิดศีล 5 เลย ไม่เสียดายอยากถืออยู่ยงคงกระพัน ไม่เสียดายจะถือ ฤกษ์ดีงามดีเลย นอกจากมงคล 38 ประการแล้ว พระโสดาบันไม่ตื่นเลย ไม่จัดเข้า เอตะมัง คมุธมัง สิ่งไหนที่จัดเข้าเอตมัง อมุธมังแล้ว พระโสดาบันไม่นับถือ แปลว่าเห็นธรรมชัดแล้ว เห็นอนิจจังชัดด้วย เมื่อเห็นอนิจจังชัด ก็เห็นทุกข์ชัดอยู่ในตัวด้วย เห็นอนัตตาชัดอยู่ในตัวด้วย เพราะอยู่เป้าตัวกัน ไม่อยู่คนละเป้า ใช่ไหม ท่านมหา ใดใดในโลก ล้วนอนิจจัง ใดใดในโลกล้วนอนิจจา ใดใดในโลกล้วนทุกขัง ใดใด ในโลก ล้วนอนัตตา อย่าสงสัยทั้งอดีต ทั้งอนาตค และปัจจุบันด้วย เมื่อสติปัญญาแข็งแกร่ง ก็ข้ามทะเลหลงไปซะ เมื่อตาสว่างก็ข้ามที่มึดไป ณ ที่นั้นเอง ตาภายนอกเป็นตาเนื้อ ตาภายในคือตาปัญญานัตธิปัญญา <o:p></o:p>
     
  5. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    2

    สมาอาภา แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี ทะลุภูเขาเลยทะลุแผ่นดินเลย เห็นชาติปิทุกขา ขณะจิตหนึ่ง ก็เห็นโลกแล้ว เห็นโลกด้วยธาตุทุกข์ ตีรวนเสมอกันหมด อินทร์เป็นพรหม พยมพระกาล จตุโลกบาลทั้ง 4 ไม่ทุกข์หรอก ไม่มีในคัมภีร์ใดเลย ตูมเดียวถูกทั้งไตรโลกธาตุเลย โลกตาตุ สังตัมปิ สัมปเวติ อัปมาจโอลา โอภาโส โลกา เจตราขันธ์ตุ อธิกัมเม วเอรานัง เอมานุปาวัง พระพุทธศาสนาสอนมนุษย์เต็มภูมิมนุษย์สมบัติเต็มภูมิ สอนสวรรค์สมบัติเต็มภูมิสอนพรหมสมบัติเต็มภูมิแล้ว สอนนิพพานสมบัติเต็มภูมิอีกด้วย ไม่มีลัทธิใดใด จะมาเสมอเหมือน ลัทธิอื่นๆ หรือความเห็นอื่นๆ ซึ่ง จะเอามาแข่งดี กลับพระพุทธศาสนา มันเท่ากับเมล็ดพันธ์ผักกาด<O:p</O:p
    ไปเทียบกับ ภูเขาหิมาลัย ใช่ไหม ท่านมหา มีผู้ทำลายพระพุทธศาสนาได้หรือไม่ มีผู้บ้วนน้ำลายขึ้นฟ้าได้หรือไม่ มีผู้ขว้างปา ใส่ต้นเสาได้หรือไม่ ลมพัดมาตึงๆ มีผู้กำฝุ่นโต้ลมได้ไหม ก็ไม่ได้ ถ้าไม่ได้ ก็แปลว่า แปลว่าไม่มีผู้ใดทำลายศาสนาได้เลย มีผู้ทำลายอริยสัจ 4 ได้หรือไม่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ไม่มีผู้ทำลายได้เลย พระพุทธเจ้า มาก็ล้าน พระองค์ ก็มาตรัสรู้อันนี้ ที่ว่าพระพุทธศาสนาเสื่อม ก็เสื่อมเป็นยุค เฉพาะผู้ปฏิบัติ ต่างหาก แต่ แต่ธรรมแท้ ไม่ได้เสื่อมไปไหนเลย ถ้าธรรมไม่มีอยู่ก่อน เราก็ไม่สามารถรู้ธรรมได้ พระบรมศาสดา ที่มีอยู่ก่อน <O:p></O:p>
    เราจึงสามารถรู้ธรรมได้ ดังนั้น จึงเคารพธรรม สัจธรรมโม ( .........)ควรเคารพพระสัจธรรม ไม่สำคัญตัวว่าอยู่เหนือธรรมเลย พระบรมศาสดาทุกๆ พระองค์ มาตรัสรู้ธรรมอันเดียวกันหมด ไม่ได้รบล้าง พ.ร.บ กันเลยมายืนยัน ธรรมโลกบาล 2 อย่าง หิริ ความละอายต่อบาป หิริ ความละอายต่อบาป ความกลัว ต่อบาป เท่านั้นจะคุ้มครองโลกได้ เท่านั้น มายืนยันอันเดียวกัน ยืนยันในทางเป็นจริง ไม่เป็นอุปทาน สิ่งเหล่านี้เป็นหน้าที่ชาวพุทธ เท่านั้น ชาวพุทธ จะไปหาการปกครองที่ไหน มันก็ไปไม่รอด ก็ไม่เจอ ไม่พบ คุณพ่อ คุณแม่เอ๋ย กฏหมาย กฏหมู่ กฏพรรค กฏพวก ของชาวโลก ตั้งขึ้นไม่มองดูคำสอนของศาสนาเลย มันก็ไปไม่รอด คนหมู่มากลากไป ไปทางผิด มันก็ไปตกเหวหมด หุหุหุ คนหมู่มาก ลากไปทางถูก ก็จะเป็นมงคล พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมูมากลากไปทางถูกก็เป็นมงคลแก่ชาวโลกอยู่ทุก ยุค ทุกสมัย ทุกกาล ทุกเวลาด้วย แต่พวกเรามีกิเลสก็ลากไป ลากไปทางกิเลส ผู้มีกิเลสมาก ก็จับพรรค จับพวก ลากกันไปทางมาก มันก็ไปตกเหว อยู่ทุกข์ย่อมหญ้า นั้น นั้น นั้น บางท่านก็บอกว่า พระภิกษู สามเณร ไม่ควร เป็นการบ้านการเมือง ถ้าพระภิกษูสามเณรไม่สอนญาติโยม จะไปสอนผี ตัวไหน ถ้าอย่างนั้น พระไตรปิกฏเอาไปเผาไฟทิ้งซะ ไม่ต้องมาเฝ้าถูกไหม ท่านมหา หน้าที่ของฆาราวาส ทำกับภิกษุ สามเณร ทำอย่างไร ก็ยังไม่รู้อีกเสียด้วย ใช่ไหม แต่ที่รู้ก็มีส่วนมาก แต่ที่ไม่รู้ก็<O:p</O:p
    มีเพียงน้อย เท่านั้น หน้าที่ <O:p</O:p</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
     
  6. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    3

    ที่ฆาราวาส ทำกับพระ ทำอย่างไร <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    1 กายกรรม คือ ทำอะไรอะไร ประกอบด้วยเมตตา<o:p></o:p>
    2 สองวจีกรรม พูดอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา<o:p></o:p>
    3 มโมกรรม คิดอะไร ๆ ประกอบด้วยเมตตา <o:p></o:p>
    4 เป็นผู้ไม่ปิดประตู เช่นห้ามเข้าบ้าน ควรทำ <o:p></o:p>
    5 ให้อามิสทาน ออกจากพระโอษฐ ของพระบรมศาสดาอีกด้วย <o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    หน้าที่ของพระคราวนี้ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    1.ห้ามกระทำ ความชั่ว <o:p></o:p>
    2.แนะนำให้ตั้งอยู่ในความดี <o:p></o:p>
    3.อนุเคราะห์ด้วยน้ำใจอันงาม <o:p></o:p>
    4.ให้ฟังในสิ่งที่ไม่เคยฟัง <o:p></o:p>
    5.ทำสิ่งที่ฟังแล้วให้แจ่ม <o:p></o:p>
    6.บอกทางสรรค์ให้<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ถ้ากฏหมายกฏหมู่กฏพรรค กฏพวก ไม่ให้พระสอนโยมบ้าจริงๆ ถูกไหม นั้น นั้น นั้น กฏหมาย กฏหมู่ กฏพรรค กฏพวก ไม่มองดูคำสอนพระศาสนา มันไม่รอด เอาหลักที่ยึดมั้นธรรมโลกบาลทั้งปวง ที่คุมครองโลก 2 อย่างอย่าง ความละอาย ความกลัวต่อบาปเท่านั้น หิริความละอายต่อบาป หิริความละอายต่อบาป โอตัปปะ ความสะดุ้งกลัวต่อบาป ถ้าธรรม สองประการมีอยู่ในหัวใจชาวโลกแล้ว ก็ปกครองกันอยู่ถ้าไม่มีอยู่ในหัวใจแล้ว ก็ปกครอง กันไม่อยู่ ใช่ไหม นั้น นั้น อ้าว ถ้าไม่มีความละอายต่อบาป ความเกรงกลัวต่อ บาป มันก็ไมล่วงละเมิดศีล 5 ใช่ไหม เพียงศีล 5 เท่านั้น ถ้าชาวโลกมีกฏหมายก็ไม่ต้องตั้งมาก ตั้งเพียงงบประมาณ และภาษีอากรก็พอแล้วใช่ไหม ทหารก็ไม่ต้องมี ตำรวจก็ไม่ต้องมี โซ่ตรวนก็ไม่ต้องมี เรือนจำก็ไม่ต้องมี กุญแจ ก็ไม่ต้องมีใช่ไหม เหตุนั้น พระบรมศาสาด จึงทรง กล่าวว่า ผู้ที่มีศีล 5 ไม่เสียดายจะถือศาสดาอื่น ไม่เสียดายจะถืออยู่ยงคงกระพัน ไม่เสียดายจะถือฤกษ์ดี งามดี ผู้นั้นก็คือ สุปฎิปันโน ดีดี นั้นเอง ใช่หรือไม่ท่านมหา ใช่ไหม ประเทศของเรา ชาวโลกของเรา มีมนุษย์เท่าไร ก็ประมาณ 5 พันล้าน ใช่ไหม ท่านมหา คนล้านคนนี่ มีศีล 5 พอ ล้านคนไหม คงจะ .จุดจุด ไม่มีใช่ไหม ประเทศจีนมีพลเมือง พันล้านคน หมดประเทศมีเพียง1 คนไหม ทีมี ศีล 5 บริบูรณ์ ไม่ถืออยู่ยงคงกะพัน ไม่เสียดาย เพราว่าศีล 5 หมายความว่า เห็นว่ามันเป็นเวร เป็นภัยจริงๆ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ดูเถอะ ยุงตัว นี้ มึง มากัดกู ถ้ากูไม่รักษาศีล กูจะเอาให้มึงเรียบ อย่างนี้ไม่ใช่พระโสดาบัน นะ เพราะเสียดายอยู่ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เป็นโฆปาละศีล ถูกไหม อริยกัมตัง อสังกตัง คืออริยกรรมศีล ของพระโสดาบัน ของพระโสดาบันเป็นต้นไป <o:p></o:p>
     
  7. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    4

    พรหมจรรณ์เบื้องต้นของพระโสดาบัน ของพระพุทธศานามัน ก็หมายเอาพระโสดาบัน เป็นต้นไป ต่ำกว่านั้นลงมาอย่าเอามาเอ่ยเลย <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ทำไม่ถึงมีโลกีย์ มาปนเป ในศาสนาพุทธมาก ก็เพราะเอาลูกเขยมานั่งเคียงกับพ่อตา ใช่ไหม ท่านมหา พระพุทธศาสนาเป็นโลกุตระ ธรรมเท่านั้น ตังวิโต คารมาสัง บัณฑิตเป็นผู้ครองเรือน ก็คือพระโสดาบันเรา<o:p></o:p>
    นี่เอง ไม่ใช่อื่นใดเลย จึงไม่ปฏิบัติ ทั้งเล่ม สำเร็จแต่ ปกิจมรรคกิเลส ไปถึงจนเกลียดค้าน การทำงาน เป็นภูมิของพระโสดาบัน เท่านั้น ศีล 5 ประการนี้ คฤหัสควรรักษาเป็นนิจ แตกกระเชิงเลย ผู้ไม่พอใจ ใช่ไหม <o:p></o:p>
    อิภูสัง ละภเต ปัญญัง ฟังด้วยดี ย่อมได้ปัญญา ปัญญะ สันติตุ คติ บุคคลจะบริสุทธิ์ก็เพราะ ปัญญา ปัญญาโลกติ กโชโต แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี เหตุนั้นจัง บัญยัติว่า วิปัสสนาธุระ ธุระทางปัญญา <o:p></o:p>
    คือปัญญาเป็นหัวหน้า ของธรรมทุกหมวด ผู้ที่จะมีศีลบริสุทธิ์ ผู้ที่จะเลื่อมใส ศาสนา ผู้ที่จะเห็นอนิจจังก็เพราะปัญญาอย่างเป็นหัวหน้าเลย <o:p></o:p>
    ยังกิมจิ สมุทธัมมัง ภวันตัง นโรกัมมัง ติ พระโกถัณญะ ยั่งเห็นอนิจัง ชัด <o:p></o:p>
    พระสารีบุตร พระโมคลาณะ ก็เหมือนกัน พระสารีบุตร ก็มาจากศาสดาอื่น พระโมคลาก็เหมือนกัน มาจากสญชัยปริพาชก ใช่ไหม ท่านมหา พอได้ฟัง พระอัสชิ เทสน์ อนิจจัง ทุกขัง แล้วก็สำเร็จพระโสดาบัน ใช่ไหม พอเดินมา มาเจอกัน กับพระโมคลณะ ก็ได้ถามขึ้น เออเพื่อนมาจากไหนวันนี้ ดูหน้าตาผ่องใสมาก คงจะได้ธรรมอันวิเศษมาเล่าให้ฟัง เออ เราไปเจอพระองค์หนึ่ง มาเดี่ยวนี้เพื่อนเอ๋ย ธรรมอะไร เกิดแต่เหตุ ธรรมอันนั้น ธรรมอันนั้นก็ดับแต่เหตุ เพือนเอ๋ย คือ อนิจจังนั้นเอง เออเข้าใจแล้วเพื่อนเอ๋ย ไปเทิอด พวกเรา ออกหนีจาก สญชัยปริพาชก เถอะ เราไปลา สญชับปริพาชก ออกไป บริวารทั้ง 500 คน เออ พวกท่านคนฉลาดไปหาพระโคดมซะ คนโง่มาหาเราเถอด ว่าอย่างนั้น พอท่านทั้งสองนี่ไปแล้ว เงียบเหงาในสญชัยปริพาชก ไปบวชกับพระบรมศาสดา พระโมคคลา ก็ 7 วัน ก็บรรลุพระอรหันต์ พระสารีบุตร 15 วัน พระสารีบุตร และพระโมคลาณะ สร้างบารมีมาจากไหน ครั้งพระเจ้าอโนมถัทฐี พระพุทธเจ้า อโนมถัทฐี แต่ก่อนเป็นสมถะดาบท ไปกราบไว้ พระเจ้าอโนมถัทฐี พระอโนมถัทฐี มาพัก อยู่ที่แหล่ง พอไปเห็นสาวกเบื่องซ้าย เบื้องขวา ก็เลื่อมใสคนหนี่งเลื่อมใส สาวกเบื้องขวา คนหนึ่งเลื่อมใส สาวกเบื้องซ้าย ก็ปราถณาเป็นสาวกเบื้องซ้าย เบื้องขวา จิตก็เลยฟุ้งซ่าน ก็เลยไม่ได้สำเร็จพระอรหันต์ ส่วนลูกศิษย์ของท่าน หมื่นคนก็ได้ สำเร็จพระอรหันต์ ไปหมดแล้ว เป็นศาถะดาบท ยังเหลือแต่ท่าน ท่านก็เล่า ให้พระเจ้าอโนมถัทฐี ข้าพเอง ของปราถนา เป็นสาวกเบื้องซ้าย กับเบื้องขวา คนหนึ่งก็เบื่องซ้าย คนหนึ่งก็เบื้องขวา เออ แต่นี้ต่อไป ในอนาคต โน้นจะมีพระพุทธเจ้า ชื่อว่าสมถะโคดม พวกเธอทั้งหลายจะได้เป็นสาวกเบื้องซ้าย เบื้องขวา จริงๆ อโมมถัฐฐี (....................) 14 15 16 17 18 19 พระองค์ เห็นอย่างนั้นก็ยังไปเลื่อมใสพระศาสดาอื่นอยู่ นั้น นั้น นั้น อ้างอิงมาก พระพุทธศาสนา ลัทธิอื่น มีที่อ้างอิงอย่างงี้หรือไม่ เปล่าเลย ถูกไหม ท่านมหา ทั้งหมด 19 พระองค์ พระพุทธเจ้าล่วงไป อสงไขย อสงไขย จะกัปก็อสงไขยกัปแล้ว
     
  8. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    5

    ก็ล่วงไป จะมาข้างหน้าก็เหมือนกัน มีคำสอนอันเดียว เท่านั้น อันเดียวกันเลยไม่ได้ลบล้าง พ.ร.บ กันเลย ถึงแม้ ถึงแม้จะปราถนา ปัญญาธิกะ ศรัทธาธิกะวิริยะธิกะ แต่คำสอนเป็นอันเดียวกันเลย มาตรัสรู้อริยสัจ 4 เหมือนกัน มาเทสน์ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรหมือนกัน <O:p</O:p
    ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ครบไตรสิกขาหรือไม่ ก็ครบอยู่ในตัว ........ศีล สมาธิ ปัญญา คือ ไตรสิกขาเราดีดี นั้นเอง<O:p></O:p>
    ใช่ไหม ท่านมหา เพราะแต่ก่อน ยังไม่ได้บัญยัติ ปารา 14 พุทธาภิเศฐ 13 (.......................)อันใดอันหนึ่งเลย ก็สำเร็จะพระอรหันต์ไปซะ ดอกบัวมันกำลังจะบาน พอได้รับแสงแดด ก็บานออกเลย บัว 4 เหล่า มีครั้นพุทธกาลหรือไม่ หรือครั้งนี้ ก็มีอยู่ ดอกบานก็บานเต็มภูมิ พ้นเป็นพระอรหันต์ไปแล้ว ดอกต่ำกว่านั้นก็คือ พระอนาคามี ต่ำว่านั้นก็ พระสกิทาคามี ต่ำกว่านั้นลงมา ก็คือ พระโสดาบัน ใช่ไหม เสมอน้ำและใต้น้ำ ที่ถือผี ก็ถือ ถือผู้อื่นก็ถือ พวกใต้น้ำนั่น ปนกันอยู่ หรือเสมอน้ำ มีอยู่ทุกยุค ทุกสมัย ทุกกาลเวลา มันก็ขึ้นอยู่กับว่าผู้มีบารมีแก่กล้า มาหรือไม่ เท่านั้นถูกไหม ทำไมจึงมีผู้ถือศาสนาพุทธน้อยนัก ทำไมถึงมีปริญญาเอกน้อยนัก เพราะเขากำลังเรียน ป.สระ อา . ขา อยู่ใช่ไหม ศาสนาพุทธเป็นศาสนาที่สูงส่ง ไม่เป็นฐานันดรศักดิ์ ผู้ที่มีบารมีอ่อน จะมาเลื่อมใสเลย ไม่เป็นฐานันดรของแมลงวัน จะมาเลื่อมใส แมลงภู่ ใช่ไหม กัมมุนา วัตตี โลโก <O:p></O:p>
    สัตว์โลก ย่อมไปตามกรรม ใครอยู่ ระดับใด ก็เลื่อมใส ระดับนั้นใช่ไหม แมลงวัน ก็มีอภินิหาร กินมูตคูต ใช่ไหม แมลงวี่ก็เหมือนกัน ไส้เดือนก็เหมือนกัน เป็นเครื่องพิสูจน์ พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่เลือกเฟ้น นานาจิตตัง นานาธัมมัง ธรรมแต่ละผลบาท ส่งต่อพระนิพพานหมด พระพาหิยะผ่านมาเป็น ฆาราวาส พระบรมศาสดา มองเห็นทราบแล้ว เออ โยมคนนี้จะสำเร็จ พระสัมภิทา 4 ขณะนี้เขาจะถามเราเหล่านั้น เราจะบอกเขาอย่างงี้ เขาก็จะเข้าใจอย่างนั้น พระบรมศาสดา มองเห็นชัด เพราะกระแสธรรมของพระเองค์แข็งแกร่ง ที่นี้โยมคนนั้นก็บอกว่า พระบรมศาสดา ให้ข้าพเจ้าฟังด้วย เออเวลานี้เรากำลัง บิณบาตร อยู่ ไม่เป็นฐานะ<O:p></O:p>
    พระบรมศาสดา พระศาสดาสิ้นลมปานเดี๋ยวนี้ก็ได้ เออ ถ้าอย่างนั้นก็ไม่ยาก เป็นแต่สับว่ารู้เป็นแต่สับว่าเห็น <O:p></O:p>
    เด้อ ครับพอแล้ว เพราะบารมีแก่กล้ามาแล้ว ทั้งพระเจ้ากัสปะ ใช่ไหมท่านมหา อืม ช่าย นั้นล่ะ ถูกต้องดี ยาก เป็นแต่สับว่ารู้เป็นแต่สับว่าเห็น ครับพอแล้ว นั้นคืออะไร รวมพลไตรสิกขาแล้ว <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา ๓ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่ต้องศึกษา ๓ อย่าง <O:p></O:p>
    ๑. อธิสีลสิกขา สิกขา คือ ศีลอันยิ่ง <O:p></O:p>
    ๒. อธิจิตตสิกขา สิกขา คือจิตอันยิ่ง หมายถึง สมาธิ <O:p></O:p>
    ๓. อธิปัญญาสิกขา สิกขา คือ ปัญญาอันยิ่ง <O:p></O:p>
     
  9. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    6

    พอรวมพลกันแล้ว แล้วในปัจจุบัน ของ อสมาอุปทาน แตกกระเจิงเลย คือไม่สำคัญว่าเราคือ ผู้รู้ผู้เห็น ผู้รู้ ผู้เห็นเป็นเรา ทีนี้ก็ตีอสมาอุปทาน แตกกระเจิงเลย ทีนี้ ความหลงทั้งหลายก็แตกไปด้วย ไปเป็นวิชาจรณสัมปันโน อามิส อสมาอุปทานก็แตกกระเจิง ไปเลย ความเห็นจากตัวบุคคล ตัวเรา ไม่มี ก็แตกกระเจิงเลย ในขณะนั้นเลย เผ๋งเลยคำเดียว เหมือสวิทไฟฟ้าเปิดอย่างไงอย่างงั้นเลย นั้น นั้นคือผู้มับารมีแก่กล้ามาแล้ว <O:p</O:p
    ธรรมแต่ละผลบาทส่งผลต่อพระนิพพานเท่านั้น ที่ท่านเทสน์มากก็เรียกธีควัตร ขนาดกลาง ก็เรียกมัชมาควรรค เทสน์ขนาดย่อ ก็เรีกยว่าจตุวรรค หรือ เอกวรรค หรือ เอกนิบาตร ย่นลงในปัจจุบันเลย ไตรสิกขาย่นลงไปปัจจุบัน ไตรสิกขาของพระโสดาบัน ไตรสิกขาของพระสกิทาคามี ไตรสิกขาของพระอานาคามี ไตรสิกขาของพระอรหันต์ไตรสิกขาของพระปัจเจก ไตรสิกขาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะเอามาเปรียบกันไม่ได้ ในปัจจับัน ปัจจุบันของพระโสดาบัน ปัจจุบันของพระสกิทาคามรี ปัจจุบันของพระอานาคามี ปัจจุบันของพระอรหันต์ ปัจจุบันพระปัจเจก ปัจจุบันพระสัมมาพุทธเจ้า จะเอามาเทียบกันไม่ได้ เพราะมีฌาณสัมปยุต ต่างกัน ปัจจันของช้าง ปัจจุบันของราชสีห์ จะเอามาเทียบกันก็ไม่ได้ เพราะฐานะ ต่างกัน บุคคลก็เหมือนกัน บุคคลพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<O:p</O:p
    พระอรหัน ขีณาสพก็เพศชาย บุคคล บุคคลพระอานาคามี บุคคลพระสกิทาคามี บุคลพระโสดาบัน จะเอามาเทียบกันไม่ได้ บุคลลบิดา มารดาก็จะเอามาเทียบกันไม่ได้ จะเตะตูด เขกหัวก็ไม่ได้ ใช่ไหม สิ่งนี้เป็นหน้าที่ของชาวพุทธ พระพุทธศาสนาเป็นธรรมมาธิปไตย อาศัยธรรมเป็นหลักธรรมาธิปไตย ประชาธิปไตยก็ตาม โลกาธิปไตยก็ตาม<O:p</O:p
    ต้องอาศัยธรรมธิปไตยเป็นสิ่ง ถ้าปีนธรรมธิปไตยเราก็ไปไม่รอด เป็นหน้าที่ชาวพุทธจะขบให้แตกเท่านั้น พระบรมศาสาสอนคนให้ฉลาด ไม่สอนคนให้โง่ ฉลาดนั้นเอง จึงจะไปชนะโง่ ปัญญานั้นเอง จะไปชนะโง่ นั้นสติปัญญาแข็งแกร่งก็ข้ามทะเลหลงไปซะ ทะเลหลงในที่นี้เลย ไม่ได้ข้ามทางอื่น ข้ามทะเลหลงด้วยความไม่หลง พระพุทธศาสนาสอนให้ชนะกิเลสของตน ไม่ได้
     
  10. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    7

    สอนให้เอาชนะทางอื่น ชนะทางอื่นมีดาษดื่นถมเถ พระบรมศาสดา ไม่ได้เอามาปนเป ชนะ ก็ชนะความหลงของตน แพ้ก็แพ้ความหลงของตน อยู่ที่เมืองชัย แต่ชาวโลกถือไปชนะทางอื่น มันก็ยิ่งตื่นไม่พบ นั้น นั้น ถูกไหม ใครเป็นผู้หาความสุขในโรค เป็นผู้ไม่เจอ ไม่เจอะ ไม่พบ ไม่ป่ะ เลย พระอรหันต์เป็นพวกเดียวที่หาความสุขในโลก ไม่เจอ ไม่เจอะ ไม่พบ ไม่ป่ะ ไม่เห็น เหตุนั้น จึงชนะความหลงของตนไปซะ สุขของคฤหัสก็มี อยู่ 4 อย่าง <O:p</O:p
    1. สุขเกิดจาการมีทรัพย์<O:p</O:p
    2. สุขข์เกิดจากการจ่ายทรัพย์บริโภค<O:p</O:p
    3. สุข เกิดจากการไม่มีหนี้มีสิน <O:p</O:p
    4. สุขที่เกิดจากการทำงานที่ปราศจากโทษ<O:p</O:p
    ถึงอย่างนั้นก็อยู่ภายใต้อำนาจอนิจจังเกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นแล้วก็แปรปรวณแต่แตกสลายไป เกิดนั้น จึงหาไม่เจอ ไม่พบ ไม่ป่ะ ไม่เห็นเลย เหตุนั้นจึงข้ามทะเลหลงของตนไปซะ ข้ามทะเลหลงของตนด้วยลัดนิ้วมือเดียวเลย เพราะความฉลาดแข็งแกร่งมาแล้ว<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    พระไตรปิฏกย่นลงมา เป็น 3 ไตรแปลว่า 3 ปิกฏกาย ปิฏกวาจา ปิฏกใจ <O:p></O:p>
    พระปรมัถย์ ก็มัดเข้าที่กาย วาจา ใจ ว่าเป็นทุกขนิบาตร ท่านมหา <O:p></O:p>
    ว่าเป็นนิบาตร ก็มัดเข้ากับ กาย กับ ใจ พูดเอาแต่ได้ ทีตาเห็นนี่ คิดแล้วก็ล่วงไป พูดออกมาก็ล่วงไป ล่วงไป ล่วงไป หายใจเข้าก็ล่วงไป หายใจออกก็ล่วงไป มีทั้งเกิด ตั้งดับ หาที่ว่างไม่ได้ใช่ไหม นั้นไฟ ที่ไปติดกันเป็นแสง มันเกิด ดับเร็วนัก เป็นพืด ติดต่อกันเป็นแผง ใช่ไหม โลกใหม่ โลกเก่า <O:p></O:p>
    เอาโลกเก่าเข้ามาใช่ไหม อันพูดอยู่นี้เป็นโรคใหม่หรือโรคเก่าเพราะเกิดดับของเก่าใช่หรือไม่ วจีสังขาร จิตสังขาร กายสังขาร พระนิพพานไม่ได้มาพูดด้วย ใช่หรือไม่ท่านมหา <O:p></O:p>


    คำว่าโวหาร ก็หารมาถึงปัจจุบันใช่ไหม เหตุนั้น จึงยืนยันปัจจุบัน <O:p></O:p>
    </PRE>

    ก็บุคคลย่อมง่อนแง่นในธรรมปัจจุบันอย่างไร ฯลฯ ดูกร<O:p></O:p>
    </PRE>อานนท์ อย่างนี้แล ชื่อว่าง่อนแง่นในธรรมปัจจุบัน ผู้ใดไม่กล่าวตู่ตน ผู้นั้นไม่กล่าวตู่พระพุทธศาสนาด้วย อาศัยปัจจุบันเป็นทางเดินเรือ เป็นทางเดินมรรค เมื่อข้ามพ้นไปแล้วปัจจุบันก็ไม่ติดอยู่ อาศัยไตรสิกขารวมพลใน
     
  11. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    8

    ปัจจุบัน ฉันทะรักษาพอใจในกรรมฐานที่ตั้งไว้ ในปัจจุบัน วิริยะ เพียรประกอบในกรรมฐานที่ตั้งไว้ในปัจจุบัน จิตพอใจในกรรมที่ตั้งไว้ในปัจจุบัน วิมังสาหมั่นติตรองพิจารณา หาเหตุผลในปัจจุบัน อย่างนี้ มีบริบูรณ์แล้ว อาจจะชักนำบุคคล ให้ถึง สิ่งที่ต้องสะสมให้เป็นนิสัย ศรัทธาเป็นพระธรรมที่มีกำลัง 5 อย่าง ค่าความเชื่อ ในกรรมฐานที่ตั้งไว้ วิริยะเพียรในกรรมฐานที่ตั้งไว้ สติระลึกในกรรมฐานที่ตั้งไว้ สมาธิตั้งมั้นในกรรมฐานที่ตั้งไว้ ปัญญารอบรู้ในกรรมฐานที่ตั้งไว้ อินทรีย์ 5 ก็เรียบเพราะ เป็นใหญ่ในจิตของตน กิจธุระของตน เป็นเชือก 5 เกลียวเหนี่ยวอยู่ในปัจจุบันใช่หรือไม่ นั้น นั้น นั้น อาศัยปัจจุบันเป็นทางเดินมรรค เอกมรรค

    1. สัมมาทิฏฐิ คือความเข้าใจถูกต้อง
    .2. สัมมาสังกัปปะ คือความใฝ่ใจถูกต้อ
    .3. สัมมาวาจา คือการพูดจาถูกต้อง
    .4. สัมมากัมมันตะ คือการกระทำถูกต้อง
    .5. สัมมาอาชีวะ คือการดำรงชีพถูกต้อง
    .6. สัมมาวายามะ คือความพากเพียรถูกต้อง
    .7. สัมมาสติ คือการระลึกประจำใจถูกต้อง
    ..8. สัมมาสมาธิ คือการตั้งใจมั่นถูกต้อง<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    เป็นเมืองขึ้นของสัมมาทิฏฐิ สัมมาทิฏฐิพระโสดาบัน สัมมาทิฏฐิ <O:p></O:p>
    พระสกิทาคามี สัมมาทิฐฐิพระอนาคามี สัมมาทิฏฐิ พระอรหันต์ พระอรหันต์เรียนสัมมาทิฐฐิ จบแล้ว เห็นชอบแล้วพ้นชอบแล้ว หลุดพ้นโดยสิ้นเชิงแล้ว <O:p></O:p>
    เรียกสัมมาวายามะแล้ว บริบูรณ์แล้ว สัมมาของพระโสดาบันเห็นเป็นเอกเทศแล้ว พ้นกิเลส เป็นเอกเทศแล้ว ไม่กบฏ คืน สัมมาทิฏฐิ ของพระอนาคามี ก็เหมือนกัน พระอรหันต์จบแล้ว พระอรนาคามีเป็นสัมมาทิฏฐิละเอียดไปแล้ว เห็นชอบไม่มีโลภ ไม่มีโกธรแล้ว แต่หลงของท่านยังมีอยู่บ้าง พระโสดาบันเห็นชอบแล้ว เห็นเบื้องต้นไม่เสียดายล่วงละเมิดศีล 5 สิ่งไหน ไม่เสียดายล่วงละเมิด สิ่งนั้นก็ไม่หนักใจ ก็ไม่เสียดายล่วงละเมิดลงใน
     
  12. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    9

    หลุมฉับพลัน หนักใจไหม มันก็ไม่หนักใจใช่ไหม เราไม่เสียดายหลุมมูตคูต มันหนักใจไหม มันก็ไม่หนักใจใช่ไหม ทำไมไม่หนักใจ เพราะเห็นว่ามันไม่มีประโยชน์ นั้นเรียกว่า เห็นแล้วแต่ไม่กบฏคืน นโมพระโสดาบัน นอบน้อมไม่ล่วงละเมิดศีล 5 แต่นโนพวกเรานั้น นอบน้อม นอมน้อมหาบัตร นอบน้อมหาเบอร์ ใช่ไหม นั้น นั้น นั้น ถ้าผู้ใด สรรหาเลข บัตร เบอร์ คนนั้นไม่ใช่พระโสดาบันเด้อ ! ถ้าสำคัญว่าหาบัตร เบอร์ มันจะเป็นทรัพย์สมบัติ พวกนั้นเป็นมิฐาทิฏฐิ มนุษย์วิบัติ นั้น นั้น นั้น มนุษย์วิบัติ สวรรค์วิบัติ พรหมวิบัติ และนิพพานวิบัติเหมือนกัน ใช่ไหม นั้น นั้น นั้น พูดเผง ๆ เผงๆ เลย เพราะเราเห็นอย่างนี้ ท่านผู้อื่นเห็น อย่างไร ก็ขออภัยด้วย เราเห็นอย่างไหน เราก็ยืนยันอย่างนั้น เรายืนยันในทางที่ถูกไม่เป็นอัตตาอุปทาน ถ้าอย่างนั้น พระบรมศาสดา ยืนยัน อริยสัจ 4 จะไม่เป็น อุปทานหรือ มันก็ไม่เป็นเพราะมันเป็นอริยสัจ 4 ความจริงอย่างประเสริฐ นั้น นั้น นั้น ใครคือผู้บัญยัติ บาป บุญ คุณโทษ ถูก ก็พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น หรือนอกนั้นอย่าเอามาเอ่ยเลย โยนิสีชราพุทธ เกิดในครรภ์ อัญญะเกิดในฟองไข่ สงเสคชะเกิดในไค<O:p</O:p
    อุปปาติกะ เกิดผุดขึ้น ทั้งหลายเหล่านี้จะมาเลื่อมใสพุทธศาสนาทั้งนั้น แต่ยังไม่มีคิว ต้องมาเป็นลำดับ ๆ ลำดับๆ พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ก็มาเทสค์เอาแต่เพียงเขาโค เท่านั้น ถึงอย่างนั้น อย่างนั้นส่วนพระโคไม่ได้ ถึงอย่างนั้น เป็นหลายล้าน ล้านโกฏ ใช่ไหม นั้น นั้น นั้น อเนกตะ ตโย พระพุทธเจ้ามากกว่า ร้อยโกฏ ผู้ล่วงไปแล้วก็มากกว่า ร้อยโกฏ ที่จะมาครั้งหน้าก็มากกว่าร้อยโกฏ เป็นคำสอนกันเอง ไม่มีปารา 18 ไม่มีอริยสัจ 8 อริสัจ 4 เหมือนกัน นั้น นั้น นั้น เถียงพระพุทธศาสนามันก็ไปไม่รอด หมดไตรโลกธาตุมาบ้วนน้ำลาย ขึ้นฟ้ามันก็ไม่ถึงใช่ไหม นั้น นั้น นั้น ตกใส่หน้าของใคร ของมันเลย ทุ่งกุลาร้องไห้ มันกว้างขวาง เอาคนไปยืนเป็นทิวแถวบ้วนน้ำลาย สูงๆ มันก็ไม่ถึงใช่ไหม เอามีปัญหาสอดเข้ามาว่า ทำไมจึงมีผู้ทำผิด ผู้ทำผิดก็ไปเป็นพยาน ของ ของสัมมาพระพุทธเจ้า ผู้ทำถูก ไปเป็นพยานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระเทวทัตก็ไปเป็นพยานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สิตถะพุทธถะ ก็ไปเป็นพยานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า <O:p></O:p>
     
  13. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    10

    นัททะมานพ ก็ไปเป็นพยานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ครุกรรม กรรมหนัก ส่วนกรรมเบาก็ยังมีอีก ก็ยังรอผู้ล่วงละเมิด ผู้ไม่ล่วงละเมิด ก็ไปเป็น โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี พระอรหันต์ก็ไปเป็นพยายานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เหมือนกันใช่ไหม ผู้ไม่จับมันก็ไม่ร้อนใช่ไหม มันก็เป็นพยานทั้งสองฝ่ายใช่ไหม นั้น นั้น นั้น ที่นี้หลวงปู่ไปยิงนกเขา ตั้งแต่อายุ 15 ปี ยิงไม่ฟังก็ต้องเป่า ปุ๊บ ขึ้นไป ก็ถูก ถูกมัน ถูกนกเขา ตัวขนาดนี้มันจับอยู่ ประมาณ 10 เมตร ก๊อกๆ แก๊กๆ ลงมาข้างโน้นบ้าง ข้างนี้บ้าง เป็กลงมาที่ใต้ นี้ วิชาแขนงใหม่ อันนี้บ้าง อันโน้น บ้าง ก๊อกแก๊กลงมา มาตก หลวงปู่ก็ทอดลูกศร ออก ก๊อกๆ สองคำ ก็ตาย มึงมาทำกูทำไม ไอ้ระยำ ว่าอย่างนั้น ก็จะไม่ให้มึง ไม่อภัยมึงแล้ว กูจะจองเวรมึง ไม่ว่าอย่างนั้น ก็ไม่ว่า <O:p</O:p
    ก๊อก ๆ สองคำใจขาดตาย เออ กูก็ไม่อยากปิ้งมึงเลย แต่ก็สลดใจ พอทำตั้งแต่อายุ 15 พอถึง 2530 หลวงปู่ก็ระเบิดขึ้นนี้โรคหัวใจตีบนี้ โรคหัวใจตีบสูบเลือดไม่ทัน ที่จริงนกเขานี่เอง กรรมตามสนองในปัจจุบัน ณชาติ ลูกหลานเอ๋ย อยู่นี่คงไม่พอ 80 ก็ให้ธรรม ลูกหลานซะ นี้ๆ ตามมาถึงแล้ว<O:p></O:p>
    หลวงปู่ไปตอนโค ก็ตามมาถึงแล้ว เป็นโรคใส้เลื่อน นั้น นั้น นั้น หลวงปู่ <O:p></O:p>
    ไม่ให้ควายขี้ ควายตัวหนึ่งเอามาเทียมไถ มันก็ทำท่าจะขี้ หรือแต่ก่อนมึงก็กินอยู่ดีดี เอ มึงเอามาเทียมไถทำไม พอกูเอาเทียมไถมึงทำถ้าจะขี้ ไป ไป ก็ไล่มันไป แต่นี้ก็เป็นโรคท้องผูกแล้ว ไม่มีสัญญาถ่าย มันก็ไม่ถ่าย นั้น นั้น นั้น หลวงปู่ไปตอนโค เท่านั้น มันก็ตามมาแล้ว โรคใส่เลื่อนๆ นั้นๆๆ หลวงปู่ชอบกินตับกบ ตั้งแต่เป็นเด็กเลี้ยงโค มันก็ไปเป็นถุงน้ำดี แล้ว นั้นๆ ๆ สิ่งที่ทำดี ก็มีแต่ไม่เอามาพูด สิ่งที่ทำชั่ว ในปัจจุบัน ณ ชาติ นี้เอง ไม่ต้องพูดแล้วชาติก่อน นั้นๆ หลวงปู่เอามือกรอกอุจจาระของหลวงปู่มั้น 3 ปี นั้นๆ เดี่ยวผู้ไหว เหยียบขี้วัวเต็มตัว เหยียบขี้วัวเต็มตีน เต็มเท้าจะมาผูกเอาเลขมายอม นะ นี้ๆ กรอกอุจารระของหลวงปู่มั้น 3 ปี ห้องถ่ายของหลวงปู่ ก็มี 6 อัน ไม่มีไปร่วมเลยหลวงปู่เลย นั้น อานิสงค์ เวลาหลวงปู่ป่วยก็มีผู้แยงเข้าไป ป่วยถ่ายไม่ออก แยงเข้าไป กรอกออกมา ๆ ในระหว่าง ในระหว่าง 2510 ก็อานิสงค์ การกรอกอุจารระของหลวงปู่มั้น นั้นเอง นั้นๆ เห็นในปัจจุบันชาติเลย พี่น้องเอ๋ย ทีนี้ ทางชั่วก็เห็น ในทางดีก็เห็น ในปัจจุบัน ชาติก่อน ไม่ต้องเล่า เล่าชาตินี้พอแล้ว ก็เป็นพยานเอกแล้ว นั้นๆ ทีนี้ถ้าผู้ไม่เชื้อกรรมและผลของกรรม ผู้ได้อะไรมาในแนวทางที่ไม่ชอบ เขาไปได้ไหม เขาก็ไปไม่ได้ ก็ได้ใช่ไหม ก็ฝืดเคืองเต็มที ใช่ไหม นั้นๆ ผู้ที่ถือว่ามีบุญมีบาป ผู้อยู่ร่วมโลกกันถือว่ามีบุญมีบาป เขาไปได้ไหม เขาก็ไปไม่ได้ ก็แตกกระเชิงกันแล้ว นั้นๆ ก็แล้วแต่จะพิจารณาเอา ใครที่ถือว่ามีบุญมีบาป แตกกระเจิงกันแล้ว ไม่มีคุณพ่อ คุณแม่ คุณปู่ คุณย่า คุณตาย คุณยาย คุณพระ พอแตกกระเจิงกันแล้ว ปั้นไม่ติดเลย เหมือนเขาหยดน้ำใช่ไหม นั้นๆ นั้นผลของกรรมตามสนองใช่ไหม นั้นๆ กรรมมุนาวตกีโลโก สัตว์โลกย่อมไปตามกรรม ทีนี้ต่อไปนี้แล้ว ก็หมดเวลากันใช่ไหม แต่ คำสอนของพระพุทธเจ้าไม่หมดเวลาเลย ความป่วยความเน่าก็ไม่มีเอวัง ก็ไม่มี อิฐีตัง <O:p></O:p>
    ไม่มีกลางวัน กลางคืน ความตายก็แขวนคออยู่ไม่มีกลางวันกลางคืน ไม่มีอิฐิตังเลย ก็มี อฐีตังก็สมควรเวลา แก่พวกเราพูดทั้งนั้นแต่พวกเราทั้งหลายไม่ลงธัมมาส เลย ก็เกิด ก็ดับ ความตายไม่เกิด ไม่ดับ ก็ไม่เกิดไม่ดับ ก็ไม่ลงธัมมาสเลย ใครจะรู้ตามความเป็นจริง หรือ ไม่รุ้ตามความเป็นจริง ก็เป็นเรื่องของผู้รู้ และผู้ไม่รู้ ก็ไม่เป็นเรื่องของธรรมทั้งหลายเหล่านั้นจะมารู้ ใช่ไหม นั้นๆ ถูกไหม พระบรมศาสดา พูดธรรมชั้นสูง พูดตาม วิมุตติ<O:p></O:p>
    แต่ไม่ติดในเรื่องสมมุติ ในเรื่องทั้งสอง ถ้าเราติดในสมมุติก็เรียกว่าว่าเรา ไม่รู้ในสมมุติ ถ้าเราติดอยู่ในวิมุตติก็เรียกว่าเรา ไม่รู้ในวิมุตติ นั้น <O:p></O:p>
    พระบรมศาสดา อดีด อนาคต ปัจจุบัน เราก็รู้ทั้ง 2 กาล แต่เรา ไม่ติดในเรื่องของทั้ง 3 แต่อาศัยปัจจุบันเป็นมรรค เอา พระอนาคามี ยังมีกิเลสอยู่ มีหลักสูตรมีโหรเอกอยู่ มีตำราอยู่ กิเลสของพระอนาคามีมีนิดเดียว เป็นผู้เลิศกว่าเขาก็สำคัญว่าเลิศกว่าเขา ไปสำคัญตัวว่าเลิศกว่าเขา ทำไม ถึงเป็นกิเลส เพราะไปสำคัญตัว เป็นผู้เลิศกว่าเขาสำคัญว่าเสมอเขา อันนี้ก็มีกิเลส เพราะถ่อมตน ก็มีกิเลสอยู่ เป็นผู้เลิศกว่าเขาสำคัญว่า เลวกว่าเขา อันนี้ก็ถ่อมตัวมาก อันนี้ก็มีกิเลส นึกในใจ เป็นผู้เสมอเขาสำคัญว่า สูงกว่าเขา อันนี้เย่อหยิ่งก็สมควรอยู่ มีกิเลส เป็นผู้เลิศกว่าเขาสำคัญว่าเสมอเขา นี้ถ่อมตัว
     
  14. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    11

    มาก เป็นผู้เลิศกว่าเขาสำคัญตัวว่าเสมอเขา ก็สำคัญถูกแล้ว ทำไมถึงมีกิเลส เป็นผู้เสมอเขา สำคัญว่าเลวกว่าเขา ทำไมถึงมีกิเลส เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญว่าเลวกว่าเขา ส่วนพระอรหันต์ ไม่สำคัญตัวในที่ใดใด เลย ใช่หรือไม่ ท่านมหา ใช่หรือไม่ ท่านมหา ส่วนพระอรหันต์ไม่สำคัญในที่ใดใดเลย มีปัญหาสอดเข้ามาว่า พระอรหันต์ รักษาจิตหรือไม่ ท่านไม่รักษาจิตท่านเลย เพราะจิตของท่าน ไม่มีอุปทาน ไม่สำคัญว่าอยู่ในจิต ไม่สำคัญว่า จิตเป็นตัวเป็นตน เป็นเขา เป็นสัตว์เป็นบุคคล ไม่สำคัญว่าผู้รู้เป็นเขา เป็นเราเป็นสัตว์ เป็นบุคคล จะเอามาพูดเฉยๆ พระบรมศาสดา ถ้าพระบรมศาสดารักษาจิตอยู่ พระบรมศาสาดาก็ต้องคุมนักโทษ เพราะเกรงว่านักโทษจะมาทำร้ายตัวเอง เกรงว่านักโทษจะ ลักหนีด้วย เหตุนั้น พระผู้พ้นไปแล้ว จงไม่ต้องมารักษาใจ ใจไม่มีโทษแล้วจะรักษาทำไม แต่พวกเราไม่รักษา มันก็ไป ไม่รอด ผิดจริงๆ เพราะพวกเรายังไม่พ้นใช่ไหม ใช่ไหมท่านมหา ถูกไหม ท่านมหา นี่ก็ขี้เกียจพูดด้วยก็ให้คะแนน ถูกหมดเลย ของใหม่ไม่มี มีแต่ของเก่า มรรคผลนิพพาน ก็เป็นของเก่า บาปก็เป็นของเก่า บุญก็เป็นของเก่า มรรคผลนิพพานก็เป็นของเก่า ของใหม่ไม่มี มีแต่ของเก่า ของเก่าที่เล่นก็มี ของเก่าที่ทำให่แจ้งก็มี เอสะธัมโม ธนังกโล พระธรรมเป็นของเก่า ไม่ใช่ของใหม่ โลภ โกธร หลง ก็เป็นของเก่า ไตรสิกขา เพื่อจะ ชำระโลภ โกธร หลง ก็เป็นของเก่า ไม่ใช่ของใหม่ ผู้ดื่มสุราก็เป็นของเก่า ผู้เว้นมาก็เป็นของเก่า ผู้เล่นเลขเล่นผา ก็เป็นของเก่า ผู้ที่เว้นก็เป็นของเก่า ไม่เป็นของใหม่ เกิดแก่เจ็บตายก็เป็นของเกา ไม่ใช่ของใหม่ มรรคผล นิพพานก็เป็นของเก่า ไม่ใช่ของใหม่ เอสะธัมโม ธนังกโล พระธรรมเป็นของเก่านั้นเอง ไม่ใช่ของใหม่เลย แต่ของเก่าที่ควรเว้น ก็มี ของเก่าที่ควรปฏิบัติก็มี ก็แล้วแต่ผู้ใดจะเลือกถูก ถ้าไปถึงพระโสดาบันแล้ว มันก็ไปบานหน้าบุญพระโสดาบัน บานหน้าเข้าสู่พระนิพพาน ไปถึงพระอนาคามี บาปของพระโสดาบัน ก็ไปตกกันที่พระอนาคามี ส่วนพระอรหันต์เหนือบาป เหนือบุญไปซะ มาธรรมชั้นสูง มาเทิอดลูกหลาน เอ๋ย อย่าไปอยู่ที่นั้น พ่อข้ามมาแล้ว ที่นี้ไม่วุ่นวาย ที่นี้ไม่ขัดข้อง ที่นั้นที่ลูกหลานอยู่มันวุ่นวายมันขัดข้อง เพรากิเลส ที่นี้ไม่มีกิเลส อยู่กับพระบรมศาสาดา ท่านเรียบอยู่<O:p</O:p
    ไฟไหม่หัวพวกเธอ ทั้งหลายอยู่ พรุ่งนี้พวกเธอ ถึงจะดับมันจะถูกไหม ธรรมชั้น สูง ท่านมหา ทำไม พระพาหิยะ ไม่ได้เรียน ปกิจจสมุปบาท ผมเข้าว่าที่พระพรมศาสาดา เรียนกปกิจจสมุปบาทนั้น เพราะไม่สมควรพระองค์ แต่เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจชัด พระอุทาหรณ์เช่นโซ่ มันคล้องคอ อยู่นี้ ตัดปปลอกไหนขาด มันก็ขาดเท่านั้นไม่จำเป็น จะไปทุบ ทุกปลอก ที่ไปทุบทุกปลอกก็เพื่อให้ รู้จักความหมายให้สมควรพระองค์ ใช่ไหม ทีนี้อุปทานทั้งปวง อัตมาอุปทาน ถ้าชนะอุปทานทั้งปวงแล้ว กามอุปทานถึงบรรไดกาม ทิฏฐิอุปทานเชื่อมั้นในทิฏฐิ ความเห็น ศีลอุปทาน ถือมั้นในศีลพรต วาจาอุปทานเชื่อมั้นในวาจา ถ้าชนะ อัตตาอุปทานแล้ว อุปทานทั้งปวงก็แตกกระเจิง ใช่หรือไม่ท่านมหา ใช่ไหม ไม่ต้อง ไม่ต้องเรียนวิชาดับ สังขารดับ วิญญาญดับ นามดับ อาตนะดับ เวทนา ตัณหาอุปทาน ภพชาติ ชรา มรณะ...ใม่ต้อง อนุโลม ปฏิโลมก็ได้ใช่ไหม ที่นี้ที่มาพระอรหันต์มีอยู่เท่านั้นองค์เท่านี้องค์ นั้นพูดเป็นบุคคลอธิฐาน ก็ให้รู้จักความหมาย อันที่จริงพระอรหันต์อะไร จะมาอยู่ในโลก ถูกไหม ท่านมหา เพราะผู้เป็นบุคลอฺธิฐานเป็นผู้ที่มีความหมายถูกไหม ที่พระบรมศาสาดา เสวยวิมุตติสุขอยู่เท่านั้น 7 วัน เท่านั้นเป็น 49 วัน พูดตามสมมุต อันที่แท้ พระศาสดาสำคัญว่าอยู่ในที่ใด ก็ไม่รู้ใช่ไหม ท่านมหา ที่นี้ที่ให้สรรเสริญว่า พระโมคคลา มีฤทธิ์มาก เดชมาก เก่งทางฤทธิ์เดช พระสารีบุตรเก่งทางปัญญา พระอนิรุตรัตถะ เข้าฌานเร็ว ทั้งพระองค์ แต่ก็ไม่เทียบพระองค์ ใช่ไหม พระสีวลีมาลาภมากแต่ก็ไม่เท่าพระองค์ ใช่ไหม พระสามรีบุตร มีปัญญามาก แต่ก็ไม่เท่าพระองค์ พระอานนท์จำพระหูสูตเก่งแต่ไม่เท่าพระองค์ ใช่ไหม ผมเข้าใจอย่างนั้น ผมว่าถ้าจะเสมอพระองค์หมด พระองค์มีภูมิเท่าสาวก มันก็ไม่ถูก เพราะมีปัญญาเก่งกว่า หายใจเข้าครั้งหนึ่งระลึกชาติได้เป็ล้าน พระบรมศาสดาเว้นแต่ไม่ต้องการ ใครจะเสมอ เหมือนก็ไม่มี จึงสมฐานะ ว่าเป็น สพัญญู จึงสมฐานะว่าเป็นโลกะวิฑูร ผู้แจ้งโลก ถาวโกโลกวิฑูร เห็อนิจ
     
  15. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    12

    จังขณะจิตหนึ่งก็เห็นโลกรอบหนึ่ง เรียกว่าโลกวิฑูร เหมือนกันแต่ไม่เทียบเพระบรมองค์ศาสดา เรียกว่า ถาวโก โลกวิฑูร ไม่ใช่สัมมาโลกวิฑูร รู้แจ้งโลก รู้หมดทุกอย่าง ไม่เสมอเหมือนพระองค์เลย สัตว์ตัวไหนมา จากไหน รู้จักหมด จะไปไหนก็รู้จักหมด ไม่ว่าจะไม่ต้องการ พระบรมศานดาแต่พวกเรา ไม่เทียบพระบรมองค์ศาสดา ใช่ไหม พระนิพพานตรงต่อพระนิพพานเท่านั้น ไม่ใช่หน้าที่ ที่ต้องไปก้าวก่าย อนัตตาในพระนิพพาน เป็นอนัตตาที่ลึกซึ้ง อนัตตาในสังขารเป็นอนัตตาที่ตื้น ก็ไม่ยุ่งเหยิง พระนิพพานเป็นธรรมอันว่าง ที่ลึกซึ้ง มันก็หมดเรื่องเท่านั้นไม่ควรไปเถียงกันเลย สัพเพธัมมา อนัตตาติ พระนิพพาน ก็เป็นของว่างที่ลึกซึ้ง ไม่เกิดไม่ดับของว่างที่เกิดและดับ คือสังขารว่างจากสัตว์ จากบุคคล ถ้าพระนิพพานไม่ว่าง ใครเป็นเจ้าของพระนิพพาน ก็ไม่มีใครเป็นเจ้าของนิพพาน ใครเป็นเจ้าของสังขาร ก็ไม่มีใครเป็น พระอรหันต์ ไม่สำคัญว่าอยู่ในที่ที่ใดใด ทั้งสิ้น ส่วนกินนอน นั่งเดินนอนรับทาน ก็พูดไปตามโลกเขาไม่สำคัญตนว่า อยู่ในที่ใดใด ทั้งสิ้น ยืนก็สับว่า ยืน เดินก็สับว่าเดิน นั่งก็สับว่านั่ง ยืนเดินนั่ง นอน หลับตื่นเป็นแต่สับว่า เป็นแต่สับว่ารู้ว่าเห็นเป็นแต่สับว่า ใดใด ทั้งสิ้น ใจเป็นแต่สับว่าใจ ไม่ใช่สัตว์บุคลตัวตนเราตัวเขา เขา เป็นเพียงจิตมโทนา ธรรมก็เป็นแต่สับว่าธรรม ไม่ใช่สัตวบุคล ตัวตนเราเขาเป็นเพียงธรรมอนัตตา อดีตก็เป็นแต่สับว่าอดีต อนาคตก็เป็นแต่สับว่า อนาคต ปัจจุบันก็เป็นแต่สับว่าปัจจุบัน ไม่ติดในเงื่อนตั้ง 3 ของผู้พ้นไปแล้ว ไม่สำคัญอยู่ในผู้รู้ ไม่สำคัญว่าผู้เป็นตัวตนเป็นตัวเรา ตัวเขา เป็นสัตว์เป็นบุคคลเลย รู้เป็นแต่สับว่ารู้ รู้แล้วก็หายไป นึกขึ้นแล้วก็หายไป พูดออกมา แล้วก็ล่วงไป จะพูดคำในอนาคตก็ล่วงไปในอนาคต สังจารใดเกิดขึ้นในอดีต สังขารนั้นดับในอดีต สังขารใดเกิดขึ้นในอนาคต สังขารนั้นดับในอนาคต สังขารใดเกิดขึ้นในปัจจุบันสังขารนั้นก็ดับในปัจจุบัน คำพูด ที่พูดไปก็ล่วงไป แล้ว ติดในปัจจุบัน พูดในปัจจับันก็ปัจจุบันกำลังล่วง ไปอีก นึกคิด ก็เหมือนกัน หายใจเข้าออก ก็เหมือนกัน ใดใด ในโลกล้วนอนิจจัง ใดใด ในโลก ล้วนอนัตตา ใดใดในโลกล้วนทุกข์ขัง ใดใดในโลก ล้วน อนัตตา ไม่สงสัยทั้งอดีต ทั้งอนาคต ทั้งปัจจุบันด้วย นั้นคือธรรม ชั้นสูง ศีลชั้นสูง สมาธิ ชั้นสูง ปัญญาชั้นสูง รวมพลกันอยู่ ไม่ใช่ศีลสมาธิปัญญาจะอยู่คนละมุมโลก อยู่อันเดียวกัน ไม่ใช้หน้ากับตา จะอยู่คนละมุมโลก ไม่ใช่เนื้อกับกระดูก จะอยู่ คนละมุมโลก ก็บัญยัติอยู่ด้วยกันนั้นเอง ด้วยเหตุพระพุทธศาสนาอันทรงพระคุณค่า<O:p</O:p
    ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผู้รู้และไม่รู้ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าผู้เชื่อและไม่เชื่อ และก็เหนือโลกอยู่ทุกยุค ทุกสมัย ทุกกาลทุกเวลา ทุกขณะลมปราณเมื่อเป็นเช่นนี้พวกเธอทั้งหลาย ที่มาในที่นี้ก็ดี ที่ไม่มาในที่นี้ก็คือ ทั้งไตรโลกา จงประสบแต่ความสุข ความเจริญ ในบวรพระพุทธศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ยิ่งๆ ขึ้นไป จนถึง ที่สุดทุกข์โดยชอบ อยู่ทุกข์เมื่อเถิอน.....สาธุ<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
     
  16. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    สำหรับภาษาบาลีหลายๆคำเขียนไม่ถูก ผู้ใดรู้ ก็ช่วยบอกด้วยนะคะ
     
  17. Ongsathit

    Ongsathit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    625
    ค่าพลัง:
    +572
    อยากจะรู้ว่าเขามีภูมิธรรมขั้นใหน ก็ต้องสนธนาธรรม ภูมิธรรม นั้นไม่ได้อยู่ที่ตัวหนังสือแต่อยู่ที่ จิตใจ
     
  18. ไตรลักษณ

    ไตรลักษณ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    30
    ค่าพลัง:
    +29
    "การให้ธรรมทานเป็นกุศลอย่างยิ่ง" อยู่หยุดทำความดีนะครับ ขอให้หนักแน่นในกุศลกรรมดุจดังขุนเขา
     
  19. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    ขอบคุณค่ะ สำหรับกำลังใจ ยังไม่เลิกหรอกค่ะ แรกๆ ก็ท้อเหมือนกัน
    แต่มาคิดอีกที การที่เราถอดเทป ทำให้เราได้รับคววามรู้มากมาย
    ได้ ฟัง ได้จด ได้อ่านด้วย มันมีสมาธิดี บางครั้ง ก็ทำให้ความคิดจร แว๊บๆ เข้ามา อนุโมทนา ค่ะ
     
  20. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
    <DL><DD>เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ </DD></DL>ข้าพเจ้า (คือพระอานนท์) ได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าผู้ทรงไว้ซึ่งพระมหากรุณาธิคุณ เสด็จประทับอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสีในเวลานั้น พระองค์ได้ตรัสเตือนพระภิกษุเบญจวัคคีย์ว่า
    <DL><DD>เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย ผู้ออกบวชแสวงหาความหลุดพ้น ไม่ควรปฎิบัติตน 2 ประการ คือ (1) การแสวงหาความสุขทางกามคุณ แบบสุดโต่ง ซึ่งทำให้จิตใจต่ำทราม เป็นเรื่องของชาวบ้านที่มีความใคร่ เป็นเรื่องของคนมีกิเลสหนาไม่ใช่เป็นสิ่งประเสริฐ คือ มีแต่จะก่อให้เกิดข้าศึกคือกิเลส ไม่มีสาระประโยชน์อันใด (2) การปฏิบัติตนแบบก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน เป็นสภาวะที่ทนได้ยาก ไม่ใช่สิ่งประเสริฐ คือ มีแต่จะก่อให้เกิดข้าศึก คือ กิเลสไม่มีสาระประโยชน์อันใด ฯ
    <DL><DD>เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติฯ </DD></DL><DL><DD>กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถา คะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะ มายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ </DD></DL><DL><DD>อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย หลักปฏิบัติอันเป็น ทางสายกลาง หลีกเลี่ยงจากการปฏิบัติแบบสุดโต่ง ซึ่งเราตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยวดยิ่ง เห็นได้ด้วยตาใน รู้ด้วยญาณภายใน เป็นไปเพื่อความสงบกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้อย่างทั่วถึง เพื่อความดับกิเลสและกองทุกข์ ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ 8 คือ (1) ความเห็นชอบ (2) ความดำริชอบ (3) วาจาชอบ (4) การงานชอบ (5) เลี้ยงชีวิตชอบ (6) ความเพียรชอบ (7) ความระลึกชอบ (8) ความตั้งจิตชอบ
    <DL><DD>อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะ เตนะ อะภิ สัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ </DD></DL><DL><DD>อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย ทุกขอริยสัจ คือ ความจริงที่ช่วยมนุษย์ให้เป็นผู้ประเสริฐเกี่ยวกับการพิจารณาเห็นทุกข์ เป็นอย่างนี้ คือ การเข้าใจว่า "เกิด แก่ เจ็บ ตาย" ล้วนแต่ เป็นทุกข์ แม้แต่ความโศรกเศร้าเสียใจ ความร่ำไรรำพัน ความทุกข์กายทุกข์ใจ ทั้งความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์ ประสบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ พลัดพรากจากสิ่งที่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ปราถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์ ว่าโดยย่อ การยึดมั่นแบบฝังใจ ว่า เบญจขันธ์ (คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) ว่าเป็น อัตตา เป็นตัวเรา เป็นเหตุทำให้เกิดความทุกข์แท้จริง
    <DL><DD>อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุมะโย อะริยะสัจจัง ฯ ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภิ นันทินี ฯ เสยยะถีทัง ฯ กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย เหตุทำให้เกิดความทุกข์ (สมุหทัย) มีอย่างนี้ คือ ความอยากเกินควร ที่เรียกว่า ทะยานอยาก ทำให้ต้องเวียนว่ายตายเกิด เป็นไปด้วยความกำหนัด ด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน มัวเพลิดเพลินอย่างหลงระเริงในสิ่งที่ก่อให้เกิดความกำหนัดรักใคร่นั้นๆ ได้แก่
    (1) ความทะยานอยากในสิ่งที่ก่อให้เกิดความใคร่
    (2) ความทะยานอยากในความอยากเป็นนั่นอยากเป็นนี่
    (3) ความทะยานอยากในความที่จะพ้นจากภาวะที่ไม่อยากเป็๋น เช่น ไม่อยากจะเป็นคนไร้เกียรติ ไร้ยศ เป็นต้น อยากจะดับสูญไปเลย ถ้าไม่ได้เป็นอย่างนั้น อย่างนี้
    <DL><DD>อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจังฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะ นิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ </DD></DL><DL><DD>ภิกษุทั้งหลาย นิโรธ คือ ความดับทุกข์อย่างแท้จริง คือ ดับความกำหนัดอย่างสิ้นเชิง มิให้ตัณหาเหลือยู่ สละตัณหา ปล่อยวางตัณหาข้ามพ้นจากตัณหา ไม่มีเยื่อใยในตัณหา </DD></DL><DL><DD>อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะ สัจจัง ฯ </DD></DL><DL><DD>อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมา อาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย ทุกขโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์อย่างแท้จริง คือ อริยมรรคมีองค์ 8 ได้แก่ (1) ความเห็นชอบ (2) ความดำริชอบ (3) วาจาชอบ (4) การงานชอบ (5) เลี้ยงชีวิตชอบ (6) ความเพียรชอบ (7) ความระลึกชอบ (8) ความตั้งจิตมั่นชอบ
    <DL><DD>อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ </DD></DL><DL><DD>ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ </DD></DL><DL><DD>ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรม ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง อย่างแจ่มแจ้งในธรรมทั้งหลาย ที่เรายังไม่ได้เคยรับฟังมาในกาลก่อน ว่านี้ เป็นทุกขอริยสัจจ เป็นสิ่งที่ควรกำหนดรู้ ภิกษุทั้งหลาย (บัดนี้) เราได้ดวงตาเห็นธรรม เกิดญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง อย่างแจ่มแจ้งในธรรมทั้งหลายที่เรายังไม่ได้เคยรับฟังมาในกาลก่อน ว่านี้เป็นทุกขอริยสัจ เราได้กำหนดรู้แล้ว
    <DL><DD>อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง </DD></DL><DL><DD>อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ </DD></DL><DL><DD>ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทมะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ </DD></DL><DL><DD>ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ </DD></DL><DL><DD>ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรม ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง อย่างแจ่มแจ้งในธรรมทั้งหลาย ที่เรายังไม่ได้เคยรับฟังมาในกาลก่อน ว่านี้เป็นทุกสมุทัยอริยสัจ เป็นสิ่งที่ควรละ ภิกษุทั้งหลาย (บัดนี้) เราได้ดวงตาเห็นธรรม เกิดญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง อย่างแจ่มแจ้งในธรรมทั้งหลาย ที่เรายังไม่ได้เคยรับฟังมาในกาลก่อน ว่านี้เป็นทุกขสมุทัยอริยสัจเราละได้แล้ว
    <DL><DD>อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง </DD></DL><DL><DD>อุทะปาทิ ฯ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ </DD></DL><DL><DD>ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจจิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ </DD></DL><DL><DD>ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจจิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ </DD></DL><DL><DD>ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรม ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง อย่างแจ่มแจ้งในธรรมทั้งหลาย ที่เรายังไม่ได้เคยรับฟังมาในกาลก่อน ว่านี้เป็น ทุกขนิโรธอริยสัจ เป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง ภิกษุทั้งหลาย (บัดนี้) เราได้ดวงตาเห็นธรรม เกิดญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง อย่างแจ่มแจ้งในธรรมทั้งหลาย ที่เรายังไม่ได้เคยรับฟังมาในกาลก่อน ว่าเป็น ทุกขนิโรธอริยสัจ เราได้ทำให้แจ้งแล้ว
    <DL><DD>อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ </DD></DL><DL><DD>ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ </DD></DL><DL><DD>ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย ดวงตาเห็นธรรม ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง อย่างแจ่มแจ้งในธรรมทั้งหลาย ที่เรายังไม่ได้เคยรับฟังมาในกาลก่อน ว่านี้เป็น ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ เป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง ภิกษุทั้งหลาย (บัดนี้) เราได้ดวงตาเห็นธรรม เกิดญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง อย่างแจ่มแจ้งในธรรมทั้งหลาย ที่เรายังไม่ได้เคยรับฟังมาในกาลก่อน ว่าเป็น ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ เราได้ทำให้แจ้งแล้ว
    <DL><DD>ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดการหยั่งรู้ การเห็นตามความเป็นจริง ว่าอริยสัจ 4 มี 3 รอบ มีอาการ 12 (ได้แก่ 1. หยั่งรู้อริยสัจ แต่ละอย่างตามความเป็นจริง 2. หยั่งรู้กิจของอริยสัจ 3. หยั่งรู้กิจอันได้ทำแล้ว ในอริยสัจ) ยังไม่หมดจดเพียงใด
    <DL><DD>เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะ พราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย เราไม่ยืนยันตนว่า เป็นผู้ตรัสรู้ชอบด้วยตนเอง ไม่มีใครจะเทียบได้ ไม่ว่าจะเป็นเทวดา มาร พรหม แม้มวลมนุษย์ ทั้งที่เป็นสมณะเป็นพราหมณ์ ก็เทียบเท่ามิได้เพียงนั้น
    <DL><DD>ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ </DD></DL><DL><DD>อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ </DD></DL>ภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดการหยั่งรู้ การเห็นตามความเป็นจริงดังกล่าวมาหมดจดดีแล้ว เมื่อนั้นเราได้ยืนยันตนเป็นผู้ตรัสรู้ชอบดังกล่าวแล้ว เช่นนั้น
    <DL><DD>ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิปุ นัพภะโวติ ฯ </DD></DL>การหยั่งรู้ การเห็นตามความเป็นจริงได้เกิดขึ้นแก่เราแล้วว่า ความหลุดพ้นของเราไม่มีการกลับกำเริบอีกแล้ว ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายแล้ว ไม่ต้องมีการเวียนว่ายตายเกิดอีก
    <DL><DD>อิทะมะโว จะ ภะคะวาฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ </DD></DL>ครั้นพระพุทธองค์ ผู้ทรงไว้ซึ่งพระมหากรุณาธิคุณได้แสดงธรรมโดยปริยายดังกล่าวมา เหล่าภิกษูเบญจวัคคีย์ ก็ได้มีใจยินดีเพลินในการแสดงธรรมของพระพุทธเจ้า
    <DL><DD>อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิ ภัญญะมาเน อายัส มะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ ยังกิญจิ สุมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ฯ </DD></DL>ก็แล เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสแสดงธรรมอย่างแจ่มแจ้งอย่างมีหลัก ท่านโกณทัญญะ ผู้ทรงไว้ซึ่งอาวุโส ได้เกิดธรรมจักษุ คือ ได้รู้แจ้งเห็นจริงซึ่งพระธรรมที่พระพุทธองค์ทรงแสดง กำจัดธุลี กำจัดมลทินเสียได้ มีความเข้าใจตามความเป็นจริงว่ สิ่งใดเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย สิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา เพราะสิ้นเหตุปัจจัย
    <DL><DD>ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย </DD></DL><DL><DD>อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิวา โลกัสมินติ ฯ </DD></DL>ครั้นพระพุทธองค์ ผู้ทรงไว้ซึ่งพระมหากรุณาธิคุณ ได้แสดงธรรมจักร คือ หมุนวงล้อแห่งธรรมที่ประกอบด้วย 8 ซี่ คือ อริยมรรคมีองค์ 8 เหล่าภุมเทวดา ก็เปล่งเสียงสาธุการบันลือลั่นว่า วงล้อแห่งธรรม ไม่มีวงล้ออื่นใดจะหมุนสู้ได้ ได้รับการหมุนไปโดยพระพุทธเจ้า ผู้ทรงไว้ซึ่งพระมหากรุณาธิคุณแล้ว ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสี ซึ่งไม่มีใครทำได้มาก่อน ไม่ว่าจะเป็นสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม
    <DL><DD>ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุงฯ จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>พรัหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปะริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>พรัหมะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>มะหาพรัหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ มะหาพรัหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>สุภะกิณหะกา เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุงฯ สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา </DD></DL><DL><DD>อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ </DD></DL><DL><DD>เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิ วัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ ฯ </DD></DL>เหล่าเทพเจ้าชั้นจาตุมมหาราชิกา ครั้นได้ยินเสียงเหล่าเทพภุมเทวดาต่างก็ส่งเสียงสาธุการ บันลือลั่นสืบต่อไปจนถึงเทพเจ้าชั้นดาวดึงส์ ชั้นยามะ ชั้นดุสิต ชั้นนิมมานรดี ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี จนกระทั่งถึงชั้นพรหม ตั้งแต่พรหมปาริสัชชา พรหมปโรหิตา มหาพรหม ปริตตาภาพรหม อัปมาณาภาพรหม อาภัสสราพรหม ปริตตสุภาพรหม อัปปมาณสุภาพรหม สุภกิณหกาพรหม เวหัปผลาพรหม อวิหาพรหม อตัปปาพรหม สุทัสสาพรหม สุทัสสีพรหม จนกระทั่งถึงอกนิฎฐกาพรหมเป็นที่สุด ก็ส่งเสียงสาธุการบันลือลั่น เพียงครู่เดียว เสียงได้บันลือไปทั่วพรหมโลก
    <DL><DD>อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิฯ อะยันจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ </DD></DL><DL><DD>สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ </DD></DL>ทั้งหมื่นโลกธาตุได้หวั่นไหว สะเทือนสะท้าน เสียงดังสนั่นลั่นไป ทั้งแสงสว่างอันหาประมาณมิได้ ได้ปรากฏขึ้นในโลก เหนือกว่าอานุภาพของเหล่าพรหม
    <DL><DD>อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ อิติหิทัง อายัสมะโต </DD></DL><DL><DD>โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญ เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ </DD></DL>ต่อจากนั้นพระพุทธองค์ ผู้ทรงไว้ซึ่งพระมหากรุณาธิคุณ ได้ทรงเปล่งอุทานออกมาว่า "โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ ผู้เจริญทั้งหลาย โกณฑัญญะ ได้รู้แล้วหนอ ผู้เจริญทั้งหลาย" เพราะเหตุนี้ ท่านโกณฑัญญะจึงได้นามว่าอัญญาโกณฑัญญะ
     

แชร์หน้านี้

Loading...