ตัดกรรม ทำไม่ได้หรอก อย่าไปคิดว่าตัดได้!

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย โทสะ, 5 ตุลาคม 2010.

  1. โทสะ

    โทสะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    187
    ค่าพลัง:
    +466
    หลายปีที่ผ่านมา มีการสร้างกระแส เรื่องการตัดกรรมแก้กรรม สเดาะเคราะห์ เอาจนชนิดทำเชิงการค้า เชิงพานิชย์ ทำการตลาดกัน สร้างกระแส จนทำให้ผู้ที่เป็นชาวพุทธ โดนฉุดกระชาก ลากดึง ออกไปแวะตามเบี้ยบ้าย รายทาง หรือบางคนถึงขั้นหลงทางไปเลย อันนี้น่าสลด สังเวชใจยิ่งนัก กับพวกที่ไม่รู้จัก บุญบาป ที่ทำเยี่ยงนั้น

    หลายคนตั้งตนเป็นศาสดาองค์ใหม่ ทำทุกอย่างได้เหมือพระพุทธเจ้า ลองพิจารณาดูว่า จริงหรือไม่

    ปัญญา คุณธรรม หายเกลี้ยง นี่มีแบบ จ่ายเยอะ ตัดกรรมได้เยอะ สถานที่บางแห่ง เทพพรหมจะเดินสวนสนามกันแล้ว ...........


    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CHP-User%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="themeData" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CHP-User%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CHP-User%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:1; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman","serif"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; font-size:10.0pt; mso-ansi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-size:10.0pt; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]อ้างอิงพระไตรปิฎก:[/FONT][FONT=&quot]<o>:p></o>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot][๘๓๙] ในญาณวัตถุหมวดละ ๑๐ นั้น
    ญาณรู้ธรรมที่เป็นฐานะโดยความเป็นฐานะ
    และธรรมที่ไม่ใช่ฐานะโดยความไม่ใช่ฐานะตามความเป็นจริงของพระตถาคต เป็นไฉน

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่บุคคลผู้โสดาบันถึงพร้อมด้วยมัคคทิฏฐิ
    จะพึงยึดถือสังขารอะไรๆโดยความเป็นของเที่ยงนั้น ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่ปุถุชนพึงยึดถือสังขารอะไรๆ
    โดยความเป็นของเที่ยงนั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้


    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่บุคคลผู้โสดาบันถึงพร้อมด้วยมัคคทิฏฐิ
    จะพึงยึดถือสังขารอะไรๆ โดยความเป็นสุขนั้น ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้

    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่ปุถุชนพึงยึดถือสังขารอะไรๆ โดยความเป็นสุขนั้นแล
    เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่บุคคลผู้โสดาบันถึงพร้อมด้วยมัคคทิฏฐิ
    จะพึงยึดถือธรรมอะไรๆ โดยความเป็นอัตตาตัวตนนั้น ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้

    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่ปุถุชนพึงยึดถือธรรมอะไรๆ
    โดยความเป็นอัตตาตัวตนนั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่บุคคลผู้โสดาบันถึงพร้อมด้วยมัคคทิฏฐิ
    จะพึงฆ่ามารดานั้น ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่ปุถุชนพึงฆ่ามารดานั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่บุคคลผู้โสดาบันถึงพร้อมด้วยมัคคทิฏฐิ
    จะพึงฆ่าบิดา ฯลฯ จะพึงฆ่าพระอรหันต์ ฯลฯ
    จะพึงมีจิตประทุษร้ายยังพระโลหิตของพระตถาคตให้ห้อขึ้น ฯลฯ
    จะพึงยังสงฆ์ให้แตกจากกัน ฯลฯ
    จะพึงนับถือศาสดาอื่น ฯลฯ
    จะพึงเกิดในภพที่ ๘ นั้น ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่ปุถุชนพึงเกิดในภพที่ ๘ นั้นแล
    เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้


    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๒ พระองค์จะพึงอุบัติขึ้นพร้อมกันในโลกธาตุอันเดียวกันนั้น
    ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
    พึงอุบัติขึ้นแต่พระองค์เดียวในโลกธาตุอันหนึ่งนั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้


    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่พระเจ้าจักรพรรดิ ๒ องค์จะพึงอุบัติขึ้นพร้อมกันในโลกธาตุอันเดียวกันนั้น
    ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่พระเจ้าจักรพรรดิพึงอุบัติขึ้นแต่องค์เดียวใน
    โลกธาตุอันหนึ่งนั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้


    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่หญิงจะพึงเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าได้นั้น
    ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่บุรุษพึงเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าได้นั้นแล
    เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้


    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่หญิงจะพึงเป็นพระเจ้าจักรพรรดิได้นั้น ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่าข้อที่บุรุษพึงเป็นพระเจ้าจักรพรรดิได้นั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่หญิงจะพึงเกิดเป็นพระอินทร์ เป็นมาร เป็นมหาพรหมนั้น
    ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่บุรุษพึงเกิดเป็นพระอินทร์ เป็นมาร เป็นมหาพรหม นั้นแล
    เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่กายทุจริตจะพึงเกิดผลที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ นั้น
    ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่กายทุจริตพึงเกิดผลที่ไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่
    ไม่น่าพอใจนั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่วจีทุจริต และมโนทุจริต
    จะพึงเกิดผลที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจนั้น ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่วจีทุจริตและมโนทุจริตพึงเกิดผลที่ไม่น่าปรารถนา
    ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ นั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่กายสุจริตจะพึงเกิดผลที่ไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ นั้น
    ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่กายสุจริตพึงเกิดผลที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ นั้นแล
    เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่วจีสุจริต และมโนสุจริต
    จะพึงเกิดผลที่ไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ นั้น ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่วจีสุจริตและมโนสุจริต พึงเกิดผลที่น่าปรารถนา
    น่าใคร่ น่าพอใจ นั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกายทุจริต เบื้องหน้าแต่ความตายเพราะกายแตก
    จะพึงเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เพราะกายทุจริตเป็นเหตุเป็นปัจจัย นั้น
    ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกายทุจริต
    เบื้องหน้าแต่ความตายเพราะกายแตก พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เพราะกายทุจริตเป็นเหตุ
    เป็นปัจจัย นั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยวจีทุจริตและมโนทุจริต เบื้องหน้าแต่ความตายเพราะกายแตก
    จะพึงเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เพราะวจีทุจริตและมโนทุจริตเป็นเหตุเป็นปัจจัยนั้น
    ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้

    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยวจีทุจริตและมโนทุจริต
    เบื้องหน้าแต่ความตายเพราะกายแตก พึงเข้าถึงอบาย ทุคติวินิบาต นรก
    เพราะกายทุจริตและมโนทุจริตเป็นเหตุเป็นปัจจัย นั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกายสุจริต เบื้องหน้าแต่ความตายเพราะกายแตก
    จะพึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาตนรก เพราะกายสุจริตเป็นเหตุเป็นปัจจัย นั้น
    ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยกายสุจริต เบื้องหน้าแต่ความตายเพราะกายแตก
    พึงเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เพราะกายสุจริตเป็นเหตุเป็นปัจจัย นั้นแล
    เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคตในโลกนี้ ย่อมทรงทราบว่า
    ข้อที่บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยวจีสุจริตและมโนสุจริต
    เบื้องหน้าแต่ความตายเพราะกายแตก จะพึงเข้าถึงอบายทุคติ วินิบาต นรก
    เพราะวจีสุจริตและมโนสุจริตเป็นเหตุเป็นปัจจัย นั้น ไม่ใช่เหตุ ไม่ใช่ปัจจัย ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
    ย่อมทรงทราบว่า ข้อที่บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยวจีสุจริตและมโนสุจริต
    เบื้องหน้าแต่ความตายเพราะกายแตก พึงเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
    เพราะวจีสุจริตและมโนสุจริตเป็นเหตุเป็นปัจจัย นั้นแล เป็นฐานะที่หาได้ เป็นฐานะที่มีได้

    พระตถาคต ย่อมทรงทราบว่า
    ธรรมเหล่าใดๆ เป็นเหตุเป็นปัจจัย ให้ธรรมเหล่าใดๆ เกิดขึ้น ธรรมเหล่านั้นๆ เป็นฐานะ

    ธรรมเหล่าใดๆ ไม่เป็นเหตุไม่เป็นปัจจัยให้ธรรมเหล่าใดๆ เกิดขึ้น ธรรมเหล่านั้นๆ ไม่ใช่ฐานะ

    ปัญญากิริยาที่รู้ชัด ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจัยธรรม สัมมาทิฏฐิในธรรมที่เป็นฐานะ
    และธรรมที่ไม่ใช่ฐานะนั้น อันใด นี้ชื่อว่า ญาณรู้ธรรมที่เป็นฐานะโดยความเป็นฐานะ
    และธรรมที่ไม่ใช่ฐานะโดยความไม่ใช่ฐานะ ตามความเป็นจริง ของพระตถาคต

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒ วิภังคปกรณ์
    ทสกนิเทศ <o>:p></o>:p>[/FONT]

    แล้วเราจะปล่อยให้ เกิด วิกฤตปัญญา กับ ชาวพุทธเราเองไปอีกนานเท่าใด

    ศาสนามิได้เสื่อมดอก มีแต่จิตมนุษย์เองที่นับวันจะหากความเป็นมนุษย์ไม่เจอ แม้กายจะเห็นเป็นคนอยู่แท้ๆ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 5 ตุลาคม 2010
  2. โทสะ

    โทสะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    187
    ค่าพลัง:
    +466
    เหล่าอริยะสาวก ในสมัยพุทธกาลหลายท่าน แม้จะบรรลุเป็นพระอรหันต์ ในพุทธประวัติก็ยังแสดงไว้ว่า วิบากกรรมยังตามส่งผล บางท่านโดนทุบตีจนเจียนตาย
    แล้วมนุษยที่ยังหนาด้วยกิเลส ยังเสพกามอยู่เป็นใครกัน จะคิดมา ตัดกรรม
    จิตที่สะสมพลังงานบาป ดองในจิตสันดานแล้ว จะให้ผู้วิเศษ วิโส มาตัดฉับ ดั่งมีดฟันต้นกล้วยกระนั้นรึ

    โปรดพิจารณาดูเถิด วิถีแห่งพุทธ ตนนี่แหละเป็นที่พึ่งแห่งตน ดี ชั่ว อยู่ที่ตน อย่าไปคิดว่าผู้ใดจะมาแก้ให้ได้
     
  3. โทสะ

    โทสะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    187
    ค่าพลัง:
    +466
    ค้นตน ให้พบตน ด้วยตน เป็นที่พึ่งแห่งตน
     
  4. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,647
    รู้สึกว่าน่าจะตั้งกระทู้ผิดห้อง.......

    โมทนาสาธุธรรมครับ....
     
  5. ฅนล้านนา

    ฅนล้านนา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    264
    ค่าพลัง:
    +1,000
    ...ครับแล้วผมก็ค้นพบว่าผมหนีกรรมได้ครับ
    ผมเชื่ออย่างนั้นน่ะ และหวังว่าผมความเชื่อผมไม่ผิดนะครับ
    เพราะความเชื่อของผมทำให้ผมสบายใจ
    "อนุโมทนาสาธุครับ"
     
  6. โทสะ

    โทสะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    187
    ค่าพลัง:
    +466

    คือ ผมตั้งใจจะโพสห้องนี้ครับ ไม่ผิดหรอก เพราะ พวกที่คิดว่าตนเองมีอภิญญา มีฤทธิ์เหนือมนุษย์มนา เท่านั้น ที่ชอบไปตัดกรรม แก้กรรม ให้คนอื่น
     
  7. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,647
    คิดไปเองหรือเปล่า.......
     
  8. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    สำหรับ คนที่บอกว่า แก้กรรมได้ ก็สุดโต่ง
    สำหรับ คนที่บอกว่า แก้กรรมไม่ได้ ก็สุดโต่ง

    ยกตัวอย่างอย่างนี้

    คนกำลังจะไปฆ่าคน ด้วยความโมโห ขณะนั้น ด้วยนิสัยที่เคยอบรมทำความดีมา ก็เกิด นึกทบทวนขึ้นมาได้ ว่า การฆ่าคนนั้นเป็นภัย ก็หันหลังกลับ

    นี่แหละ ตัวอย่างของการแก้กรรม คือ การเอาสิ่งดีที่เป็นกุศล มาตัดรอน อกุศล มีผลเป็นมหากุศล คือ อภัยทาน รับผลบุญนั้นทันที แทนที่จะไปติดคุกเพราะฆ่าคนตาย ก็กลับมา นั่งยิ้มนอนดูทีวี ตีพุงอยู่กับบ้าน

    แต่ ทีนี้ บางคน บอกว่า ทุกข์ใจ สามีไปมีเมียน้อย ต้องสะเดาะเคราะห์ ทำพิธีตัดกรรม แก้กรรม เพราะชาติก่อนสร้างกรรมเอาไว้อย่างนั้นอย่างนี้

    แบบนี้ แหละที่ไม่สามารถทำได้ อย่างมากก็เพิ่มความศรัทธาให้กับคนทำ เบนจิตที่คิดทุกข์ใจ ออกจาก ภพแห่งทุกข์ ใจก็เปลี่ยนไปสู่ำภพใหม่ คือ ภพของจิตที่หลงเชื่อว่า การกระทำแบบนั้นแบบนี้จะแก้กรรมได้ กลายเป็น สีลพตรปรามาสไปแทน

    การแก้กรรม คือ การเข้าใจในเหตุแห่งกรรม แล้วผ่อนหนักให้เบา ด้วยการเอากุศลเข้าไปแทนที่ ไม่เปิดโอกาสให้กรรมเก่าสบช่อง
    ด้วยสติปัญญา ด้วย อภัยทาน ด้วยธรรมทาน และ วัตถุทาน ตามแต่บารมี
     
  9. มองเงาตน

    มองเงาตน สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    4
    ค่าพลัง:
    +3
    ผมว่าได้นะ การที่เราทำผิดไว้กับคนอื่น หากเราขอโทษ เขายังอภัยเราเลย ขนาดเป็นคนที่โกรธกัน ขนาดบางคนมาขอโทษเเล้ว ยังไม่ให้อภัย คนที่ไม่ให้อภัยนั้นเเหละคือคนที่ทุกข์เอง ผมคิดอย่างนี้นะ ไม่ถูกใจก็ขออภัย
     
  10. สงกะสัย

    สงกะสัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    51
    ค่าพลัง:
    +126
    อนุโมทนาสาธุ..ท่านเพลิงกิเลส

    แสงสว่างแห่งปัญญามองเห็นได้ในธรรมะของพระพุทธเจ้า
    ด้วยทิพยจักขุญาณวิเศษ ของพุทธองค์ ที่ทรงประทานไว้ให้พวกเรา..
     
  11. สงกะสัย

    สงกะสัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    51
    ค่าพลัง:
    +126

    ชอบครับสนุก ขำๆดี เรื่องต่อไปขอแบบน่ากลัวๆ มีเทพเทวดาผีปีศาจ
    ให้สมจริงหน่อย แต่อย่าทะลึ่งเอาชื่อครูบาอาจารย์ไปอ้าง
    เดี๋ยวจะโดนท่านสาป กลายเป็นคนวิจริตหรือคนบ้า
    เหมือนหลายคนที่โดนมาแล้ว ตอนนี้เปิดสำนักอยู่ที่
    ..บ้านสมเด็จเจ้าพระยา...อยากไปอยู่ไหม
    .
     
  12. รัก_D

    รัก_D เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2008
    โพสต์:
    290
    ค่าพลัง:
    +1,096
    ตัดกรรมมันทำไม่ได้หรอก แต่ว่า ปฏิบัติดีหน่ะทำได้ ปฏิบัติดีจนผลกรรมส่งผลให้เราไม่ได้ อย่าง องค์คุลีมาร ฆ่าคนแล้วตรัสรู้เป็นพระอรหันต์ได้ เพราะว่าไม่ได้เกิดมาชาติเดียว ชาติก่อนๆก็สั่งสมบุญมาเยอะเหมือนกัน และได้พระพุทธเจ้าเป็นคนชี้ทาง อีกทั้งได้ ฌาณโลกีแสดงว่าสมาธิก็ไม่ธรรดา พอได้ฟังคำแนะนำจากพระพุทธเจ้าแล้วท่านก็ลองปฏิบัติแล้วก็บรรลุโดยที่สุด ซึ่งผลกรรมที่ได้กระทำไว้ส่งผลใม่ถึงท่านเพราะเค้าเรียกว่าเป็นคนที่หลุดพ้นจากโลกแล้ว คือ ตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไป ถือว่าเข้ากระแสพระนิพาน กรรมส่งผลไม่ถึง<br>
    ฌานหรือสมาบัติ ท่านเรียกว่ารูปฌาน หรือ รูปสมาบัติ ถ้ายังไม่สำเร็จมรรคผลเพียงใด ท่านเรียกว่าโลกียสมาบัติ หรือ โลกียฌาน ถ้าเจริญวิปัสสนาญาณจนสำเร็จมรรคผลตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไป ท่าน เรียกว่า โลกุตตรสมาบัติ หรือ โลกุตตรญาณ ศัพท์ว่าโลกุตตระ ตัดออกเป็นสอง ศัพท์ มีรูปเป็น โลกะ และ อุตตระ สนธิ คือเอา โลกะ กับ อุตตระ มาต่อกันเข้า เอาตัว อ. ออกเสีย เอาสระอุผสมกับตัวตัว ก. เป็น โลกุตตระ โลกะ แปลตามศัพท์ว่า โลก อุตตระ แปลว่า สูงกว่า รวมความว่าสูงกว่าโลก โลกุตตระ ท่านจึงแปลว่า สูงกว่าโลก โลกุตตรฌาน แปลว่า ฌานที่สูงกว่าโลก โลกุตตรสมาบัติ แปลว่า สมาบัติที่สูงกว่าโลก หมายความว่า กรรมต่างๆที่โลกนิยมนั้น ท่านพวกนี้พ้น ไปแล้วแม้บาปกรรมที่ชาวโลกต้องเสวยผลท่านที่ได้โลกุตตระท่านก็ไม่ต้อง รับผลกรรมนั้นอีก เพราะกรรมของชาวโลกให้ผล ท่านไม่ถึง ท่านจึงได้นาม ว่า โลกุตตรบุคคล
    อ้างอิง คำสอนหลวงพ่อฤาษีลิงดำ
     
  13. poon-pan

    poon-pan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    2,309
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +7,134
    เท่าที่อ่านเพื่อน ๆ เขียน ผมพอจะสรุปได้ว่า

    อโหสิกรรม = ตัดกรรม

    ไม่รู้ว่าจะเข้าใจถูกหรือเปล่า รอท่านผู้รู้ช่วยชี้แนะด้วยครับ
     
  14. สงกะสัย

    สงกะสัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    51
    ค่าพลัง:
    +126
    "กัมมุนา วัตตะตี โลโก"กรรมไม่ใช่กระดาษ จะตัดขาดได้ไง

    สัตว์โลกทั้งหลายต้องเป็นไปตามกรรม
    อุทฺเทส กมฺมปจฺจโย เพราะมีเจตนาตั้งใจเป็นปัจจัย
    กัมมปัจจัย หมายถึงการกระทำของจิตใจที่เป็นเหตุให้เกิดผล หรือให้สำเร็จกิจในหน้าที่ของตนเรียกว่า "กรรม"
    ดังพุทธภาษิตกล่าวไว้ในอังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาตว่า...
    "เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ เจตยิตฺวา กมฺมํ กาเยน วาจาย มนสา"
    ดู ก่อน ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่า เจตนาคือตัวกรรม สัตว์ทั้งหลายที่ทำกรรม ด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจก็ดี ย่อมมีการปรุงแต่ง คือคิดนึกก่อนแล้วจึงทำ
    ดัง จะเห็นได้ว่าการกระทำด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ จะเป็นกุศล หรืออกุศลก็ตาม ต้องอาศัยเจตนาเป็นใหญ่ เป็นหัวหน้าในการกระทำนั้นๆ ฉะนั้น เจตนาจึงเป็นตัวกรรม หรือเป็นหัวหน้าของสังขารขันธ์ทั้งหลาย
    กัม มปัจจัยที่กล่าวว่า เป็นปัจจัยให้เกิดผล ก็เพราะทำหน้าที่เพาะพืชพันธุ์ให้เกิดผลในอนาคต เรียกว่า พีชนิธานกิจ คือ ทำกิจสั่งสมพืชเชื้อเพื่อให้งอกต่อไปในอนาคต เป็นนานักขณิกกัมมปัจจัย..


    กรรมมันตัดไม่ได้ขายไม่ขาด มันเป็นธรรมจักร หมุนเวียนเปลี่ยนไปไม่มีที่สิ้นสุด ..
     
  15. makotokub

    makotokub เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    59
    ค่าพลัง:
    +242
    ผมว่าจริงๆ แล้วการตัดกรรม ก็คือการหยุดกรรมน่ะแหละครับ
    ...ทำได้สิครับ พระพุทธองค์ก็ทรงสอนวิธีหยุดกรรมแล้วไงครับ วิธีการก็คืออริยมรรคมีองค์ ๘ น่ะแหละครับ เมื่อเดินเส้นทางนี้จนถึงจุดหมายปลายทางคือพระนิพพานก็คือจบ จะไม่มีการเกิดการตายอีกแล้ว กรรมก็ตามไม่ทัน

    ...พระอรหันต์หลายองค์ที่บรรลุแล้ว หากยังดำรงสังขารอยู่ (สังขารคือกรรมเก่า) ก็ยังต้องรับผลของกรรมเก่าอยู่ แต่หากละสังขารแล้ว ก็คือไปนิพพานแล้วก็จบ
    ...กระแสแห่งกรรมสามารถส่งผลต่อทุกจิตที่ยังปรากฏการเกิดอยู่ ทุกชาติ ทุกภพ ผมมองว่าการแก้กรรมด้วยการเพิ่มบุญก็ถือเป็นการชะลอกรรมมากกว่า เหมือนที่พระองค์เปรียบเทียบกับน้ำเกลือ หากเติมน้ำเข้่าไปมากๆ ความเค็มก็เจือจางลง (อันนี้สรุปเอง พุทธวัจนลึกซึ้งกว่านี้) ก็จะช่วยได้แค่ชั่วครั้งชั่วคราวเท่านั้น

    ...ดังนั้น เรามาปฏิบัติตนเพื่อหลุดพ้นจากกระแสแห่งกรรมกันนะครับ อนุโมทนากับทุกคนครับ
     
  16. อินทรี

    อินทรี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    418
    ค่าพลัง:
    +562
    ตัดกรรมไม่ได้ แต่ชดใช้น่ะคงได้ใช่ไม๊ครับ การปฏิบัติกรรมฐานตามหลักสมถะและวิปัสสนาเปนการชดใช้กรรมที่ดีที่สุด ส่วนทำกรรมไม่ดีเอาไว้ สุดท้ายสามารถอโหสิกรรมได้ก้ถือว่า
    ไม่ต้องมาชดใช้กรรมอีก แต่ว่าทางพุทธถ้าหากว่าทำบุญกุศลให้ถึงพร้อมด้วยการเจริญภาว
    นาไม่ว่าแบบไหน หากว่าเวรกรรมนั้นไม่หนักหนาจนเกินไปเราคงชดใช้แค่เพียงกึ่งหนึ่ง แต่
    ถ้าหนักมากจนเปนครุกรรมนั้น อาจต้องผลวิบากที่ไม่ดีนั้นส่งผลก่อน กรรมดีที่ทำมาทีหลังถึง
    จะส่งผลในกาลเวลาต่อมา การปฏิบัติภาวนาอาศัยพื้นฐานคือความอดทนและความเพียรเปนอย่างยิ่ง จึงเปนเรื่องง่ายสำหรับคนที่อดทน แต่เปนเรื่องยากสำหรับคนที่ขาดความตั้งใจ
     
  17. โทสะ

    โทสะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    187
    ค่าพลัง:
    +466
    แต่ประเด็นที่ถูกเบี่ยงเบนไป คือ พวกนักตัดกรรม หรือแก้กรรม ทั้งหลาย มุ่งแสดงให้ผู้อื่นเห็นว่า ตน สามารถตัดผลของกรรมที่จะมาส่งผลให้ได้.

    คิดเห็นเป็นประการใด เชิญทุกท่านอรรถธิบาย
     
  18. ปุณฑ์

    ปุณฑ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,760
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,692
    ตัดกรรมแก้กรรมไม่ได้ค่ะ ทำอย่างไรส่งผลตามนั้น

    แต่ถ้าอโหสิไม่สร้างกรรมใหม่ให้เจ้ากรรมนายเวรได้สติไม่ตามจองเวร ซึ่งเป็นกรรมใหม่ไม่ใชเก่า ก็เลิกรากันไป แต่ของเก่าก็ยังส่งผล

    ที่ว่าทำมาค้าไม่ขึ้น เจ็บป่วย ฯลฯ เพราะเจ้ากรรมนายเวรเล่นงาน
    หากในกรณีมีเจ้ากรรมจริง เช่นมีวิญญาณตามอาฆาต การจองเวรหรือทำร้ายนั่นคือกรรมใหม่ ถ้าเขายุติ ก็หมดเวรใหม่ที่จะก่อต่อกันใหม่ แต่ของเก่าก็ต้องตามอยู่
    หากในกรณีไม่มีเจ้ากรรมคือเขาไม่ได้มาตาม ก็เป็นกรรมเก่า ถ้าหมั่นสร้างกรรมใหม่ที่ดีๆ กรรมดีส่งผลก่อนก็บรรเทาของเก่าไป
     
  19. เป็ดเซ็ง

    เป็ดเซ็ง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    100
    ค่าพลัง:
    +858
    กรรมคือการกระทำ เราตัดการกระทำ หรือแก้การกระทำ มิได้หรือ ?

    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท
    เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หน้าที่ 462

    ภายหลังวันหนึ่ง ภิกษุทั้งหลายสนทนากันในโรงธรรมว่า "ผู้มีอายุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจงดู, ได้ยินว่า อายุวัฒนกุมารพึงตายใน วันที่ ๗, บัดนี้อายุวัฒนกุมารนั้น (ดำรงอยู่ ๑๒๐ ปี) อันอุบาสก ๕๐๐ คนแวดล้อมเที่ยวไป; เหตุเครื่องเจริญอายุของสัตว์เหล่านี้ เห็นจะมี."

    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย
    คาถาธรรมบท เล่ม ๑ ภาค ๒ ตอน ๒ - หน้าที่ 463


    พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า "ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอนั่งประชุมกัน ด้วยเรื่องอะไรหนอ ?" เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า "ด้วยเรื่องชื่อนี้," จึงตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลาย อายุเจริญอย่างเดียว เท่านั้นก็หาไม่, ก็สัตว์เหล่านี้ไหว้ท่านผู้มีพระคุณ ย่อมเจริญด้วยเหตุ ๔ ประการ, พ้นจากอันตราย, ดำรงอยู่จนตลอดอายุทีเดียว" ดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงสืบอนุสนธิแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :-

    อภิวาทนสีลิสฺส นิจฺจํ วุฑฺฒาปจายิโน จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ.

    "ธรรม ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ เจริญแก่บุคคลผู้กราบไหว้เป็นปกติ ผู้อ่อนน้อม ต่อท่านผู้เจริญเป็นนิตย์."

    เรื่องที่ ๑๒๑
    ท่านอายุวัฒนกุมารจะต้องตายเพราะอุปฆาตกรรม พระพุทธเจ้าทรงช่วยไว้จึงไม่ต้องเป็นสัมภเวสี
    จาก หนังสือ ตายแล้วไม่สูญ...แล้วไปไหน



    "..ท่านอายุวัฒนกุมาร เป็นลูกของพราหมณ์ พ่อแม่ของท่านมีเพื่อนเป็นพราหมณ์อยู่คนหนึ่งได้ทิพพจักขุญาณ ทราบข่าวว่าเพื่อนคนนี้จะเข้ามาในเขตเมืองก็พากันไปหา เมื่อคุยกันพอสมควรแก่เวลา ท่านพ่อก็ส่งลูกชายอายุยังไม่ถึง ๗ ปี ให้แก่แม่ กราบลาเพื่อกลับ เพื่อนก็บอกว่า "ทีฆายุโก โหตุ" แปลว่า "ท่านจงมีอายุยืนยาวเถิด" เมื่อท่านพ่อกราบแล้ว ท่านแม่ก็ส่งลูกให้ท่านพ่อ ท่านแม่กราบบ้าง ท่านพราหมณ์ก็บอกว่า "ขอให้ท่านมีอายุยืนยาวเถิด"

    แล้วจับลูกให้กราบ ท่านพราหมณ์ก็นิ่งเฉยไม่พูดแบบนั้น ท่านพ่อท่านแม่ก็สงสัยเลยถามว่า "เวลาที่ผมกับเมียกราบลาท่าน ท่านบอกว่า จงเป็นผู้มีอายุยืนยาว แต่เวลาที่ให้ลูกกราบทำไมท่านจึงทำเฉยๆ" ท่านพราหมณ์ก็บอกว่า "ก็ลูกของท่านจะต้องตายภายใน ๗ วัน ถ้าฉันพูดแบบนั้นฉันก็พูดผิด" เขาก็เลยถามว่า "ท่านรู้วิธีแก้ไหม" ท่านพราหมณ์ก็บอกว่า "รู้ว่าจะตายน่ะรู้ แต่วิธีแก้ไม่รู้ คนที่รู้วิธีแก้มีอยู่คนเดียวคือ สมเด็จพระสมณโคดมพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้าหากว่าท่านต้องการจะแก้ไม่ให้ลูกของท่านตาย ก็ไปหาพระพุทธเจ้าเถิด ท่านแก้ได้"

    พ่อแม่ของเด็กทราบว่าเด็กจะตายภายใน ๗ วัน ก็ตกใจเพราะเป็นลูกคนแรก ลูกผู้ชายด้วย จึงพากันไปเฝ้าพระพุทธเจ้า พอไปถึงก็ทำแบบนั้นที่ทำกับเพื่อนพราหมณ์ พระพุทธเจ้าก็พูดเหมือนกับพราหมณ์ ตอนลูกชายกราบลา ท่านก็เฉยเสีย พราหมณ์ก็ถาม ท่านก็บอกว่า "ลูกชายคนนี้จะตายภายใน ๗ วัน" เขาก็ถามว่า "ทำอย่างไรจึงจะแก้ไขไม่ให้ตายได้ พระพุทธเจ้าข้า" พระพุทธเจ้าก็บอกว่า "ถ้าต้องการแบบนั้นได้ เพราะกรรมประเภทนี้เป็นอุปฆาตกรรม ไม่ใช่อายุขัย ถ้าอายุขัยตถาคตก็แก้ไม่ได้ อุปฆาตกรรมเป็นกรรมที่เข้ามาแทรกระหว่างกลาง ซึ่งผลของความดีของเด็กนี้ยังมีอยู่มาก ถ้าไม่ตายก่อนจะได้เป็นพระอรหันต์ในพระพุทธศาสนาแล้วจะมีอายุถึง ๑๒๐ ปี แต่เวลานี้กรรมที่เป็นอกุศลเข้ามาลิดรอนจึงเป็นเหตุให้เด็กคนนี้จะต้องตายใน ๗ วัน" และพระองค์ก็ตรัสแนะว่า "พราหมณ์กลับไปบ้านไปทำโรงพิธีเข้า แล้วนิมนต์พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาไปนั่งล้อมเจริญพระปริตรตลอด ๗ วัน ถ้าทำได้อย่างนี้ลูกท่านก็จะไม่ตาย"

    พราหมณ์พ่อแม่เด็กก็กลับไปทำโรงพิธี นิมนต์พระไปนั่งล้อมโรงพิธีไม่ต้องใช้สายสิญจน์เพราะพระสมัยนั้นมีมาก เมื่อล้อมแล้วก็เจริญพระปริตร สวดบ้างไม่สวดบ้างแต่ก็นั่งล้อมกันแบบนั้น พระมาสับเปลี่ยนกันไป ไม่ใช่ไปชุดเดียว พอถึงวันที่เจ็ดพระพุทธเจ้าเสด็จเอง เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จ พรหมก็มา เทวดาก็มา และคนที่จะเอาชีวิตของเด็กก็เป็นลูกน้องของ ท่านท้าวเวสสุวัณ ตอนนี้เมื่อเจ้านายชั้นผู้ใหญ่มา พลทหารก็ต้องไปยืนสุดกู่ องค์สมเด็จพระบรมครูทรงประทับนั่งตั้งแต่เริ่มต้นของวันจนที่สุดของวันคืออรุณใหม่ เพราะว่าผู้ที่จะมาเอาชีวิตของเด็กเป็นยักษ์ที่ได้รับพรจากท่านท้าวเวสสุวัณได้ภายใน ๗ วัน ถ้าเลย ๗ วันแล้วไม่มีโอกาส ฉะนั้นเมื่อมาคอยอยู่ ๖ วันแล้ว พระก็นั่งล้อมรอบอยู่แบบนั้นก็เข้าไม่ได้ ได้แต่ตั้งท่าว่าถ้าเผลอเมื่อไรจะเอาเมื่อนั้น แต่พอวันที่ ๗ เป็นวันสุดท้าย ก็ตั้งใจว่าวันนี้จะเอาชีวิตเด็กคนนี้ให้ได้ ให้มันตายจากความเป็นมนุษย์ เพราะกรรมเดิมสร้างไว้มากที่เป็นโทษปาณาติบาต แต่ความดีก็มีมาก

    ในเมื่อเห็นท่าว่าเอาไม่ได้แน่แล้วก็ต้องตั้งท่ารอให้พระเผลอ แต่พระพุทธเจ้าเสด็จเสียเอง เมื่อพรหมลงมา ยักษ์ตนนี้ก็ต้องถอยหลังไปพ้นเขตพรหม และเทวดาลงมา ยักษ์ตนนี้มีบุญน้อยกว่าก็ต้องถอยหลังออกไปอีก ในที่สุดต้องออกไปอยู่ขอบจักรวาลเพราะพรหมและเทวดามีปริมาณมาก และสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงประทับนั่งจนหมดเวลา

    เป็นอันว่าเด็กคนนั้นไม่ต้องตาย เกินเวลา ๗ วันยักษ์ทำอันตรายไม่ได้ เมื่อพ้นจากตอนนั้นมาแล้วถึงเวลาอายุ ๗ ขวบ ท่านอายุวัฒนกุมารก็บวชเณรแล้วก็ได้อรหัตผล อยู่มาได้ถึงอายุ ๑๒๐ ปี ตรงตามที่องค์สมเด็จพระมหามุนีตรัสไว้

    บรรดาพุทธบริษัทโปรดทราบไว้ว่า กรรมที่เป็นอุปฆาตกรรมที่มาตัดรอนทำให้คนตายก่อนอายุขัย ตายแล้วไปเกิดเป็นสัมภเวสี บรรดาสัมภเวสีที่เดินเกลื่อนไปเกลื่อนมาในโลกมนุษย์ มีรูปร่างหน้าตาคล้ายคนธรรมดา เวลาที่ตายแต่งตัวแบบไหนนุ่งผ้าประเภทไหนก็แต่งตัวแบบนั้น มีความกังวลอยู่อย่างหนึ่งคือมีความทุกข์ใจไม่รู้จะเกิดที่ไหนได้แน่นอน บรรดาสัมภเวสีพวกนี้มีความลำบาก ถ้าญาติของเราตายด้วยอำนาจของสัมภเวสี คือไม่สิ้นอายุขัย เช่น ฟ้าผ่าตาย คลอดบุตรตาย ถูกฆ่าตาย ถูกรถชนตาย เป็นต้น แต่ก็ไม่แน่นักบรรดาพวกนี้ถึงอายุขัยก็มี แต่ก็เผื่อเหนียวไว้ก่อน สมมติว่าเขาเป็นสัมภเวสี พอตายไปแล้วไม่ต้องทำบุญมาก ทำบุญให้ได้บุญชัดๆ หาอาหารชนิดที่ไม่มีบาป อย่าทุบแม้แต่ไข่สัก ๑ ฟอง เอาผ้าไตรมา ๑ ไตร เอาพระพุทธรูปมา ๑ องค์ นิมนต์พระมารับสังฆทานที่บ้าน ทำเงียบๆ อย่ามีเหล้ายาปลาปิ้ง เมื่อทำบุญเสร็จก็อุทิศส่วนกุศลให้เฉพาะคนที่ตาย ไม่ให้ใครทั้งหมด ถ้าทำอย่างนี้ท่านพวกนี้จะมีความสุข ได้รับผลบุญทันที มีความผ่องใส มีความอิ่มเอิบ เมื่อเข้าถึงอายุขัยเมื่อใด พวกนี้จะไปถึงด้านของสวรรค์ก่อน.."
    http://www.luangporruesi.com/760.html


    มีวิธีแก้ไข อีกวิธีหนึ่งคือ ดังเรื่องเล่า
    กุศลกรรมใหม่แรงให้ผลต่อเจ้ากรรมนายเวร อานิสงค์ตัดรอนอุปฆาตกรรม

    พระสารีบุตรเล็งเห็นว่า เพราะวิบากกรรมของสามเณรบวชใหม่ถึงฆาตต้องมรณะแน่ภายในเจ็ดวัน
    ท่านจึงอนุญาตให้เณรกลับไปเยี่ยมบ้าน เพื่อโปรดบิดามารดา และญาติโยมทางบ้านเป็นครั้งสุดท้าย

    ท่านสั่งว่าระหว่างทางถ้าจำเป็นอย่างไรต้องทำกรรมดีไว้
    เมื่อเพลาผ่านไปเจ็ดวัน เณรได้กลับมายังอารามเหมือนเดิม พระสารีบุตรเองแปลกใจว่า เพราะเหตุใดเณรคนนั้นไม่ตาย ท่านจึงได้สอบถามเณรว่า เกิดอะไรขึ้นบ้างระหว่างทางไปและกลับ เณรได้แถลงไขว่า ระหว่างทางที่ไปนั้น ได้พบปลาจำนวนหนึ่งตกคลักในหนองน้ำที่ใกล้แห้ง จึงได้เอาจีวรช้อนขึ้นมาไปปล่อยในแหล่งน้ำที่ใกล้ๆ

    ด้วยญาณแห่งพระสารีบุตร ท่านก็ทราบได้ว่า ปลาเหล่านั้น คืออดีตเจ้ากรรมนายเวรของเณรผู้นั้นเอง และเมื่อเณรได้นำปลาไปปล่อยในแหล่งน้ำ เท่ากับว่าได้ทำบุญต่ออายุให้กับตัวเอง และเจ้ากรรมนายเวรนั้น จึงได้อโหสิกรรมให้เณร

    มีหลายเรื่องนะ ที่พระพุทธเจ้า ตรัสไว้ ในเรื่องกรรม และการแก้กรรม อย่างเรื่อง น้ำมนต์พระพุทธเจ้า หรือเรื่องพระเวสสันดร ตอนให้ช้าง เพื่อแก้กรรมของอีกเมือง แต่เรื่องจะยาว เอาแค่พอเข้าใจ

    การตัดกรรม นั้นมีจริง แต่จะจริงหรือปลอม นั่นอีกเรื่อง มิควร เหมารวม เพราะจะขัดกับคำสอน (คนส่วนใหญ่ จะเข้าใจตามชื่อกระทู้)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 ตุลาคม 2010
  20. โทสะ

    โทสะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    187
    ค่าพลัง:
    +466
    ให้คำจำกัดความ ในมุมมองของท่านเห็นจะเข้าท่า และเชิญอรรถาธิบายโดยท่านเอง ที่มองว่า ตัดกรรมทำได้ เชิญ
     

แชร์หน้านี้

Loading...