การรู้จักจิตผิดๆ ทำให้การศึกษาพระพุทธศาสนาผิดตลอดแนว

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ธรรมภูต, 18 มีนาคม 2010.

  1. ธรรมะสวนัง

    ธรรมะสวนัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,305
    ค่าพลัง:
    +1,255
    จิต ที่จัดว่าเป็น ผู้รู้ นี้เป็นนามธรรม เรียกว่าคนหรือสัตว์โลก
    ไม่ปรากฏรูปร่างเหมือนอย่างรูปธาตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม (อากาศ)
    และรูปวัตถุต่างๆ ณ ภายนอกนั้นไม่


    แต่คนทุกคนรู้ว่ามีจิต ก็เพราะจิตนั้นเองเป็นผู้รู้
    จิตนี้เป็นฐานที่ตั้งแห่งความบริสุทธิ์ และความไม่บริสุทธิ์


    แต่ความบริสุทธิ์เป็นลักษณะประจำธรรมชาติของจิต
    แปลว่า ธรรมชาติจิตมีความบริสุทธิ์เป็นลักษณะประจำตัว


    ส่วนความเศร้าหมองไม่บริสุทธิ์ด้วยมลทิน คือ กิเลสนั้น เกิดขึ้นภายหลัง
    จึงต้องกำจัดให้ออกไป ไม่ใช่สมบัติลักษณะเดิมของจิต


    ตามพระพุทธภาษิตว่า
    ปภสฺสรมิทํ ภิกฺขเว จิตฺตํ ตญฺจโข อาคนฺตุเกหิ อุปกิเลเสหิ อุปกิลิฏฺฐํ

    ภิกษุทั้งหลาย จิตนี้บริสุทธิ์เป็นประภัสสรเปล่งปลั่ง
    แต่ว่าจิตนั้นอันอุปกิเลสเป็นแขกจรเข้ามาทำให้มัวหมอง
    เสียความบริสุทธิ์ไปเมื่อภายหลัง
    ดังนี้
     
  2. ธรรมะสวนัง

    ธรรมะสวนัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,305
    ค่าพลัง:
    +1,255
    อีกบทหนึ่งว่า
    จิตฺตสงฺกิเลสา ภิกฺขเว สตฺตา สงฺกิลิสฺสนฺติ
    จิตฺตโวทานา สตฺตา วิสุชฺฌนฺติ
    ตสฺมาติห ภิกฺขเว อภิกฺขณํ สกํ จิตฺตํ ปจฺจเวกฺขิตพฺพํ
    ทีฆรตฺตมิทํ จิตฺตํ สงฺกิลิฏฺฐํ ราเคน โทเสน โมเหนาติ
    ดังนี้ แปลว่า

    ภิกษุทั้งหลาย
    สัตว์ทั้งหลาย (สามัญชน)จักเศร้าหมอง(คนไม่ดี) ก็เพราะจิตของเขาเศร้าหมอง
    สัตว์ทั้งหลายจักบริสุทธิ์ (คนดี) ก็เพราะจิตของเขาบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว
    เพราะเหตุนั้นแหละ ภิกษุทั้งหลาย
    พวกท่านทุกคนควรพิจารณาจิตของตนเองเนืองๆบ่อยๆว่า
    จิตนี้เศร้าหมองด้วยราคะ โทสะ โมหะ มาตลอดกาลนานไกล
    ดังนี้

    เนื้อความในพระพุทธภาษิตที่ยกมานี้ ชวนให้คิดเห็นว่า
    จิตเป็นสภาพที่ถาวรมั่นคง
    ย่อมทรงความบริสุทธิ์และความไม่บริสุทธิ์ไว้ได้นานๆ
    และเป็นส่วนที่ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งกว่าส่วนต่างๆบรรดามีในโลก
     
  3. ธรรมะสวนัง

    ธรรมะสวนัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,305
    ค่าพลัง:
    +1,255
    จิตเป็นตัวธรรมแท้ เมื่อได้ความบริสุทธิ์ถึงขีดสุด พ้นจากกิเลสสัญโยชนธรรมแล้ว
    ก็สงบเหมือนน้ำลงสู่เส้นระดับราบ เรียกว่า สันติธรรม หรือนิพพานธรรม


    จิตไม่มีการเกิดดับ เกิดดับแต่อารมณ์ของจิตที่เข้ามาโดยวิถีทางทั้ง ๖
    และเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึ่งเป็นกิริยากรรมของจิต
    หรือพลังงานของจิตเท่านั้น กิริยากรรมทุกอย่าง ย่อมเกิดดับ


    และธรรมชาติจิตมีความบริสุทธิ์อยู่เป็นเดิม
    กิเลสเครื่องมัวหมองเศร้าหมอง เกิดซับเสริมกันขึ้นเมื่อภายหลัง
    จึงสามารถปฏิบัติกำจัดเข้าถึงความบริสุทธิ์ได้

    เหมือนผ้าที่บริสุทธิ์สะอาด
    แต่เมื่อใช้ไปก็มีมลทินสิ่งโสโครกจับเกรอะกรัง ก็เศร้าหมองไป
    ซักฟอกแล้วก็บริสุทธิ์เป็นลักษณะเดิม

    น้ำ...ธรรมชาติของมัน บริสุทธิ์สะอาด
    แต่เมื่อถูกประสมก็แปรรูปเป็นเศร้าหมอง เป็นไปตามสิ่งที่มาประสม
    หอมก็ได้ เหม็นก็ได้ เสียความบริสุทธิ์สะอาดไป


    เมื่อเอาน้ำนั้นไปกลั่นกรองได้ที่แล้ว ก็ได้ความบริสุทธิ์เท่าเดิม ฉันใด
    จิตของเราก็ฉันนั้น ดังนี้ ฯ


    ------- เปมงฺกโร ภิกฺขุ --------
     
  4. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    พระสูตรนี้มีชื่อว่าอะไรครับ อยากทราบชื่อพระสูตรนี้ครับ และความหมายที่แปลในส่วนสีแดงนี่แปลเองหรือท่านไชยทรงแปลไว้ครับ ตรงบาลีคาถา ครับ ขอชื่อพระสูตรหน่อยครับ
     
  5. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 11"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 11"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CBuddhism%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"MS Mincho"; panose-1:2 2 6 9 4 2 5 8 3 4; mso-font-alt:"MS 明朝"; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:modern; mso-font-pitch:fixed; mso-font-signature:-1610612033 1757936891 16 0 131231 0;} @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"\@MS Mincho"; panose-1:2 2 6 9 4 2 5 8 3 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:modern; mso-font-pitch:fixed; mso-font-signature:-1610612033 1757936891 16 0 131231 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0in; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:16.0pt; font-family:"Angsana New"; mso-fareast-font-family:"MS Mincho"; color:black;} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:1.0in 1.25in 1.0in 1.25in; mso-header-margin:.5in; mso-footer-margin:.5in; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0in 5.4pt 0in 5.4pt; mso-para-margin:0in; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 11"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 11"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CBuddhism%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"MS Mincho"; panose-1:2 2 6 9 4 2 5 8 3 4; mso-font-alt:"MS 明朝"; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:modern; mso-font-pitch:fixed; mso-font-signature:-1610612033 1757936891 16 0 131231 0;} @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"\@MS Mincho"; panose-1:2 2 6 9 4 2 5 8 3 4; mso-font-charset:128; mso-generic-font-family:modern; mso-font-pitch:fixed; mso-font-signature:-1610612033 1757936891 16 0 131231 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0in; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:16.0pt; font-family:"Angsana New"; mso-fareast-font-family:"MS Mincho"; color:black;} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:1.0in 1.25in 1.0in 1.25in; mso-header-margin:.5in; mso-footer-margin:.5in; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0in 5.4pt 0in 5.4pt; mso-para-margin:0in; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    พระสุตตันตปิฎก เล่ม 9 ขันธวารวรรค
     
  6. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    ก็ไม่เห็นมีตรงไหนนี่บอกว่า
    เนื้อความในพระพุทธภาษิตที่ยกมานี้ ชวนให้คิดเห็นว่า
    จิตเป็นสภาพที่ถาวรมั่นคง
    ย่อมทรงความบริสุทธิ์และความไม่บริสุทธิ์ไว้ได้นานๆ
    และเป็นส่วนที่ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งกว่าส่วนต่างๆบรรดามีในโลก

    ตรงไหนที่บอกว่าจิตนี้มั่นคงถาวร
     
  7. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    ถ้าจะโต้ตอบธรรม เอากระทู้นี้ กระทู้เดียวนะ ขี้เกียจย้ายหลายกระทู้

    เพราะความเข้าใจ ผิดๆ ของคุณเองว่า ที่บอกว่า จิตนี้มั่นคงถาวร

    ไม่เคยมีใครพูดคำนั้น

    ความไม่สูญ ก็ไม่ได้หมายความว่า มั่นคงถาวร เช่น น้ำ ในโลกนี้ไม่ได้มั่นคงถาวร แต่ไม่สูญ

    จิตของตน ก็ไม่ได้หมายความว่า มั่นคงถาวร

    ผมพูดไปมากแล้วเรื่องนี้ แต่ คุณไม่อ่านและไม่ทำความเข้าใจ คุณจะเอาใจไปพิจารณาเรื่อง ที่เหนือภูมิขนาดนี้ เหมือนอึ่งอ่างแบกภูเขา คุณจะล้มเอา

    คุณทำจิตใจให้ สะอาดเสียก่อน แล้วค่อยมานั่งอ่านอย่าง พินิจ ในคำพูดคนอื่น

    ไม่เช่นนั้นแล้ว น้ำล้นถ้วยของคุณ มันจะไม่มีทางที่จะรับ ความคิดหรือ นัยยะที่แท้จริงจากคนอื่น ได้อย่างชัดเจน
     
  8. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    [B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][CENTER]ตรงไหนหรือที่บอกว่าจิตถาวรมั่นคง มีไหมตรงไหน ไหนท่านขันธ์ลองหาสิ หรือไม่ก็ทุกคนช่วยกันอ่านสิว่าได้ความหมายว่าอย่างไรเกี่ยวกับพระสูตรนี้

    ๘[/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]คัททูลสูตรที่ ๒
    ว่าด้วยอุปมาขันธ์ ๕ ด้วยเสาล่ามสุนัข[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/size][/font][/size][/font][/B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][CENTER][[/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]๒๕๘[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]] [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]กรุงสาวัตถี[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]ที่เชตวนาราม[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
    สงสารนี้ มีที่สุดเบื้องต้นอันบุคคลตามไปรู้ไม่ได้แล้ว
    เงื่อนต้นแห่ง[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][CENTER]สงสาร[/CENTER][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]จะไม่ปรากฏ แก่สัตว์ทั้งหลายผู้มี[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]อวิชชา[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]เป็นเครื่องกางกั้น
    มีตัณหาเป็นเครื่องผูกไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
    สุนัขที่เขาล่ามเชือกแล้ว ถูกล่ามไว้ที่หลักหรือเสาอันมั่นคง[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ถ้ามันจะ
    วิ่งไซร้ ก็จะวิ่งวนหลักหรือเสานั้น ถ้าจะยืนไซร้ ก็จะยืนชิดหลักหรือ[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][CENTER]เสานั้นนั่นเอง ถ้าจะนอนไซร้ ก็จะนอนชิดหลักหรือเสานั้นเอง แม้ฉันใด
    [B][COLOR=red]ก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนไม่ได้สดับแล้วก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมตาม[/COLOR][/B]
    [B][COLOR=red]เห็นรูปว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาของเรา ย่อมตามเห็น[/COLOR][/B][/CENTER]
    [CENTER][B][COLOR=red]เวทนา[/COLOR][/B][/CENTER]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]... [/SIZE][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]สัญญา[/SIZE][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]... [/SIZE][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]สังขาร[/SIZE][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]... [/SIZE][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]วิญญาณ [/SIZE][/FONT][/SIZE][SIZE=5][B][COLOR=red]ว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น[/COLOR][/B]
    นั่นเป็นอัตตาของเรา[/SIZE]
    [SIZE=5]. [/SIZE][SIZE=5]แม้หากเขาจะเดินไปไซร้ ก็จะเดินใกล้ปัญจุปาทาน[/SIZE][SIZE=5]-[/SIZE]

    [CENTER]ขันธ์เหล่านี้แหละ แม้หากจะยืนไซร้ ก็จะยืนติด[/CENTER]
    [FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]ปัญจุปทานขันธ์[/SIZE][/FONT][SIZE=5][/SIZE][SIZE=5]เหล่านี้
    แหละ แม้หากจะนั่งไซร้ ก็จะนั่งติด[/SIZE]
    [FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]ปัญจุปาทานขันธ์[/SIZE][/FONT][SIZE=5][/SIZE][SIZE=5]เหล่านี้แหละ[/SIZE][SIZE=5]. [/SIZE][SIZE=5]เพราะ
    [B][COLOR=red]ฉะนั้นแลภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงพิจารณาจิตของตนเนือง ๆ[/COLOR][/B]
    [COLOR=red]อย่างนี้ว่า จิตนี้เศร้าหมอง เพราะ[/COLOR][/SIZE]
    [FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=red]ราคะ โทสะ โมหะ [/COLOR][/SIZE][/FONT][SIZE=5][/SIZE][SIZE=5][COLOR=red]มาแล้วตลอดกาลนาน[/COLOR][/SIZE][SIZE=5].[/SIZE]
    [SIZE=5] [/SIZE]

    [SIZE=5][CENTER]ว่าด้วยความเศร้าหมองและผ่องแผ้วแห่งจิต[/CENTER]
    [/SIZE]
    [CENTER][[/CENTER]
    [SIZE=5]๒๕๙[/SIZE][SIZE=5]] [/SIZE][SIZE=5]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลาย จะเศร้าหมองเพราะจิตเศร้าหมอง สัตว์ทั้งหลายจะผ่องแผ้ว เพราะจิตผ่องแผ้ว[/SIZE][SIZE=5]. [/SIZE][SIZE=5]ดูก่อน[/SIZE][SIZE=5]ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายเห็นไหม จิตที่ชื่อว่า [/SIZE][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]จรณะ [/SIZE][/FONT][SIZE=5][/SIZE][SIZE=5]([/SIZE][SIZE=5]จิตรกรรม[/SIZE][SIZE=5]) ?[/SIZE]

    [CENTER]ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า เห็นพระเจ้าข้า[/CENTER]
    [SIZE=5].[/SIZE]

    [CENTER]ภ[/CENTER]
    [SIZE=5]. [/SIZE][SIZE=5]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย [/SIZE][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]จรณจิต [/SIZE][/FONT][SIZE=5][/SIZE][SIZE=5]([/SIZE][SIZE=5]จิตรกรรม[/SIZE][SIZE=5]) [/SIZE][SIZE=5]แม้นั้นแล
    จิตนั้นนั่นแหละคิดแล้ว[/SIZE]
    [SIZE=5]. [/SIZE][SIZE=5]ก่อนภิกษุทั้งหลาย จิตนั่นเอง ยังวิจิตรกว่า[/SIZE]

    [SIZE=5][CENTER]จรณจิต [/CENTER][/SIZE][CENTER][/center]
    [SIZE=5]([/SIZE][SIZE=5]จิตรกรรม[/SIZE][SIZE=5]) [/SIZE][SIZE=5]แม้นั้นแล[/SIZE][SIZE=5]. [/SIZE][SIZE=5][B][COLOR=red]เพราะฉะนั้นแลภิกษุทั้งหลาย เธอ[/COLOR][/B]
    [B][COLOR=red]ทั้งหลายพึงพิจารณาจิตของตนเนือง ๆ ว่า [/COLOR][/B][/SIZE]
    [SIZE=5][COLOR=red][B]จิต[/B][/COLOR][/SIZE][SIZE=5][B][COLOR=red]นี้ เศร้าหมอง เพราะ[/COLOR][/B]
    [B]ราคะ โทสะ โมหะ มานมนานแล้ว[/B][/SIZE]
    [SIZE=5]. [/SIZE][SIZE=5]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลาย
    จะเศร้าหมอง เพราะจิตเศร้าหมอง จะผ่องแผ้ว
    เพราะจิตผ่องแผ้ว[/SIZE]
    [SIZE=5].[/SIZE]

    [CENTER][B][COLOR=red]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจารณาเห็น สัตว์อื่นแม้เหล่าเดียวที่จะวิจิตร[/COLOR][/B]
    เหมือนสัตว์เดียรัจฉานเหล่านี้นะภิกษุทั้งหลาย[/CENTER]
    [SIZE=5]. [/SIZE]
    [SIZE=5]ภิกษุทั้งหลายสัตว[/SIZE]

    เดียรัจฉานแม้เหล่านั้น วิจิตรแล้ว เพราะจิตนั่นเอง​
    .
    จิตนั่นเอง ยังวิจิตร
    กว่า สัตว์เดียรัจฉานแม้เหล่านั้นแล
    . เพราะฉะนั้นแลภิกษุ
    ทั้งหลาย
    เธอทั้งหลายควรพิจารณาว่า
    จิตนี้เศร้าหมอง เพราะราคะ โทสะ โมหะ มานมนานแล้ว.
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายเศร้าหมอง เพราะ
    จิตเศร้าหมอง ผ่องแผ้ว เพราะจิตผ่องแผ้ว
    . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
    ช่างย้อมหรือช่างเขียน เมื่อมีเครื่องย้อมก็ดี ครั่งก็ดี ขมิ้นก็ดี สีเขียวก็ดี
    สีแสดก็ดี พึงเขียนรูปสตรี หรือรูปบุรุษ มีองคาพยพครบทุกส่วน
    ลงที่แผ่นกระดาน หรือฝาผนัง ที่ขัดดีแล้ว หรือแผ่นผ้าที่เขาจัดเตรียม
    ไว้ดีแล้ว แม้ฉันใด ภิกษุทั้งหลาย ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับแล้ว ก็ฉันนั้นแล
    เมื่อจะให้เกิดขึ้น ก็จะให้รูปนั่นแหละเกิดขึ้น จะให้
    เวทนา... สัญญา... สังขาร...

    วิญญาณ ​
    นั่นแหละเกิดขึ้น. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะสำคัญ
    ความข้อนั้นเป็นไฉน
    รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง ?

    ภิ​
    . ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า.

    ภ​
    . เวทนา... สัญญา... สังขาร... วิญญาณ เที่ยงหรือไม่เที่ยง ?

    ภิ​
    . ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า.

    ภ​
    . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะฉะนั้นแล อริยสาวกผู้ได้สดับ
    แล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ฯลฯ ย่อมรู้ชัดว่า
    ... กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้
    มิได้มีดังนี้
    .

    จบ คัททูลสูตรที่ ๒
    อรรถกถาคัททูลสูตรที่ ๒
    พึงทราบวินิจฉัยใน​
    คัททูลสูตรที่ ๒ ดังต่อไปนี้ :-

    บทว่า ​
    ตสฺมา ความว่า เพราะเหตุที่พาลปุถุชนผู้ติดอยู่ใน

    วัฏฏะ ผู้อาศัยโซ่ตรวนคือทิฏฐิจึงถูกผูกไว้ที่เสาคือ
    สักกายะ ด้วยเชือก คือตัณหา อาศัยขันธปัญจกะเป็นไปอยู่ในอิริยาบถทั้งปวง อีกอย่างหนึ่ง
    เพราะเหตุที่จิตนี้เศร้าหมองเพราะราคะ โทสะ โมหะ
    มานาน
    .

    สัตว์เศร้าหมองเพราะจิตเศร้าหมอง​
    บทว่า ​
    จิตฺตสงฺกิเลสา ความว่า ก็สัตว์ทั้งหลายแม้อาบน้ำดีแล้ว
    ก็ชื่อว่าเศร้าหมองเพราะจิตเศร้าหมองนั่นแล แต่ว่าแม้ร่างกายจะ
    สกปรกก็ชื่อว่าผ่องแผ้วได้เพราะจิตผ่องแผ้ว
    .

    ด้วยเหตุนั้น โบราณาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวว่า ​
    :-

    พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ทรงแสวงหาพระคุณ
    อันยิ่งใหญ่มิได้ตรัสไว้ว่า เมื่อรูปเศร้าหมอง สัตว์
    ทั้งหลายจึงชื่อว่า เศร้าหมอง เมื่อรูปบริสุทธิ์ สัตว์
    ทั้งหลายจึงชื่อว่า บริสุทธิ์​
    .
    (
    แต่) พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ทรงแสวงหา
    พระคุณอันยิ่งใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า เมื่อจิตเศร้าหมอง
    สัตว์ทั้งหลายจึงชื่อว่าเศร้าหมอง เมื่อจิตบริสุทธิ์
    สัตว์ทั้งหลายจึงชื่อว่าบริสุทธิ์ด้วย
    .

    บทว่า ​
    จรณํ นาม จิตฺตํ ได้แก่ วิจรณจิต (ภาพเขียน).

    พราหมณ์ผู้เป็นเจ้าลัทธิชื่อว่า ​
    สังขา มีอยู่ พวกเขาให้สร้างแผ่นผ้าแล้ว
    ให้ช่างเขียนภาพแสดงสมบัติ และวิบัติ นานัปการ โดยเป็นสวรรค์ เป็น
    นรก ลงในแผ่นภาพนั้น แสดง
    (ถึงผลของกรรม) ว่า ทำกรรมนี้แล้ว

    จะได้รับผลนี้ ทำกรรมนี้แล้ว จะได้รับผลนี้ ถือเอาจิตรกรรมนั้นเที่ยวไป​
    .

    บทว่า ​
    จิตฺเตเนว จินฺติตํ ความว่า ชื่อว่า อันจิตรกร (ช่างเขียน)

    ให้สวยงามแล้วด้วยจิต เพราะคิดแล้วจึงเขียน​
    .

    บทว่า ​
    จิตฺตญฺเญว จิตฺตตรํ ความว่า จิตที่แสวงหาอุบายของ
    จิตนั้น วิจิตรกว่าจิตที่ชื่อว่า จรณะแม้นั้น
    .

    บทว่า ​
    ติรจฺฉานคตา ปาณา จิตฺเตเนว จินฺติตา ความว่า สัตว์
    ทั้งหลายเหล่านั้นวิจิตรแล้ว
    เพราะจิตที่เป็นเหตุให้ทำกรรมนั่นเอง.

    ก็สัตว์ทั้งหลายเหล่านี้ มีนกกระจอกและนกกระทาเป็นต้น ที่จะชื่อว่า
    ประมวลเอาจิตที่เป็นเหตุให้ทำกรรมนั้นมาโดยคิดว่า เราทั้งหลายจัก
    วิจิตรอย่างนี้ไม่มีเลย​
    . กรรมต่างหากชักนำไปสู่กำเนิด. การที่สัตว์
    เหล่านั้นสวยงาม ก็โดยมีกำเนิดเป็นมูล
    . จริงอยู่สัตว์ทั้งหลายที่เข้าถึง
    กำเนิดแล้ว ย่อมวิจิตรเหมือนกับสัตว์ที่เกิดอยู่ในกำเนิดนั้น ๆ บัณฑิต
    พึงทราบว่า ความวิจิตรสำเร็จมาแต่กำเนิด กำเนิดสำเร็จมาแต่กรรม
    ด้วยประการดังพรรณนามาฉะนี้
    .

    อีกอย่างหนึ่ง ธรรมดาว่าจิตนี้ เป็นสหชาตธรรม ​
    (ธรรมที่เกิด
    ร่วมกัน
    ) จึงพึงทราบว่า มีอารมณ์อันวิจิตรกว่าความวิจิตรของสัตว์

    ๑​
    . ปาฐะว่า นโข นาม พฺราหฺมณปาสณฺฑิกา โหนฺติ เต ปน โกฏฐกํ กตฺวา ตตฺถ นานปฺ-

    ปการา สุคติทุคฺคติวเสน สมฺปตฺติวิปตติโย ลิขาเปตฺวา อิทํ กมฺมํ กตฺวา อิทํ ปฏิลภติ อิทํ กตฺ
    วา
    อิทนฺติ ทสฺเสนฺโต ตํ จิตฺตํ คเหตฺวา วิจรติ​
    . ฉบับพม่าเป็น สงฺขา นาม พฺราหฺมณปาสญฺฑิกา
    โหนฺติ
    ,

    เต ปฏโกฏฺฐกํ กตฺวา ตตฺถ นานปฺปการา สุคติทุคฺคติวเสน สมฺปตฺติวิปตฺติโย เลขาเปตฺวา อิทํ
    กมฺมํ กตฺวา อิทํ ปฏิลภติ อิทํ กตฺวาอทนฺติ ทสฺเสนฺตา ตํ จิตฺตํ คเหตฺวา วิจรติ​
    . แปลตาม
    ฉบับพม่า
    .

    ๒​
    . ปาฐะว่า จิตฺตกาเรน จินฺเตตฺวา เอกคฺคตาจิตฺเตน จินฺติตํ . ฉบับพม่าเป็น จิตฺตกาเรน
    จินฺเตตฺวา กตตฺตา จิตฺเตน จินฺติตํ นาม
    . แปลตามฉบับพม่า.

    ๓​
    . ปาฐะว่า จินฺติตา ฉบับพม่าเป็น จิตฺติตา แปสตามฉบับพม่า.

    เดียรัจฉานทั้งหลาย เพราะวิจิตรด้วยสหชาตธรรม ​
    (ธรรมที่เกิดร่วมกัน)

    เพราะวิจิตรด้วยวัตถุ ​
    (ที่อาศัย) เพราะวิจิตรด้วยทวาร เพราะวิจิตร
    ด้วยอารมณ์ ทั้งเพราะให้สำเร็จความวิจิตรเป็นอเนก เช่น เพศต่าง ๆ กัน
    สัญญาต่าง ๆ กัน โวหารต่าง ๆ กัน เป็นต้น ซึ่งมีกรรมชนิดต่าง ๆ กัน
    เป็นมูล
    .

    บทว่า ​
    รชโก ได้แก่ ช่างที่เขียนรูปด้วยสี ลงในวัตถุทั้งหลาย
    ก็ช่างนั้น
    (ถ้า) ไม่ฉลาด ก็จะเขียนรูปได้ไม่น่าพอใจ (แต่ถ้า) ฉลาด
    ก็เขียนรูปได้ น่าพอใจ สวยน่าดูฉันใด
    . ปุถุชนก็เป็นอย่างนั้นแหละ
    คือย่อมยังรูปที่ผิดปกติอันเว้นจากคุณสมบัติ มีความถึงพร้อมด้วย
    จักษุเป็นต้น ให้เกิดขึ้นด้วย
    อกุศลจิต หรือด้วยกุศลจิตที่เป็นญาณวิปปยุต

    ย่อมยังรูปที่สวยงามอันถึงพร้อมด้วยคุณสมบัติ มีความถึงพร้อมด้วย
    จักษุเป็นต้น ให้เกิดขึ้นด้วย​
    กุศลจิตที่เป็นญาณสัมปยุต.

    จบ อรรถกถาคัททูลสูตรที่ ๒​
     
  9. Mr.Boy_jakkrit

    Mr.Boy_jakkrit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    2,063
    ค่าพลัง:
    +2,676

    อนุโมทนา สาธุครับ
     
  10. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    คุณเองนั่นแหละที่ไม่เข้าใจอะไรสักอย่างเดียว คุณเห็นตัวสีแดงไหมว่านั่นใครเขียนขึ้นมา คุณเห็นไหม งั้นคุณก็อ่านพระสูตรนี้สิว่ามันตรงกับที่คุณคิดและเป็นกันอยู่ไหม อย่ามั่วให้มากไปกว่านี้เลย แค่นี้บาปกรรมก็ล้นตัวล้นใจออกมาแล้วผมเอามาให้คุณดูและพิจารณา ว่าตรงไหนที่มันตรงกับสิ่งที่ข้อความสีแดงสื่อไว้บ้าง คุณยังจะอาศัยเพราะเป็นพวกพ้องคุณอีกมาพูดเพ้อเจ้ออีก เอ้าไหนปฏิบัติแล้วจะเป็นไปตามพระสูตรไหมละ ถ้าชอบอิงพระสูตรนักไหนละ ความหมายที่ว่า คุณเองใจสะอาดนักหรือไง ผมเอามานี้เพื่อจะบอกว่า พระศาสดาไม่เคยสอนให้พิจารณาอย่างนั้น คุณยังจะมาว่าผมว่าใจสกปรกอีก คุณนี่จริงๆเลย มิน่าละ
     
  11. Mr.Boy_jakkrit

    Mr.Boy_jakkrit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    2,063
    ค่าพลัง:
    +2,676
    หากยังมีตัวฉัน มันย่อมมีตัวแก พอมันมีตัวแกขึ้น ก็อย่ามาว่าตัวฉัน เพราะฉันนั้นมีของๆฉัน ทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นของฉันนั้น ฉันนั้นดุจดั่งพิณ ประกอบกันขึ้นมาเท่านั้นเอง
    หรือไม่เหลือพิณนั้นแล้ว ก็ไม่ต้องไปหลงไหล หรือจมไปในกองกิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชาทั้งปวง

    เข้าใจแต่พูดไม่เก่ง ต้องเสขะต่อไป ..
     
  12. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    อ้า่ว ก็ตอบไปดีๆ ใช้เหตุผลแล้ว คุณว่ามันไม่ดี คุณก็ยกเหตุผลมาสิครับ

    ไม่ใช่ มาด่าว่า คน แต่ให้ยกความ จับประเด็นมา ว่า ตรงไหน

    คุณเล่น บอกว่า พระศาสดาไม่สอนแบบนี้ ความจริงไม่เป็นแบบนั้น

    แล้ว เหตุผลหละครับ
     
  13. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    ขออนุญาติ เสนอใหม่ ให้ดูว่า พระสูตรนี้แปลความได้อย่างไร แล้วจริง
    แล้วหรือที่พระสูตรนี้ ยกขึ้นเพื่อแสดงถึงจิตเดิมแท้ แล้วให้ชำระล้าง เพื่อ
    ให้มันบริสุทธิดังเดิม หรือ จริงๆแล้ว พูดเพื่อให้ละวางจิตกันแน่!!!​



    บทข้างบนนี้บอกอะไร ก่อนอื่น เรามาดู นัยยะของ ช่างวาดภาพ ไอ้ช่างวาดภาพ
    นี้คือ นักสร้างมายาคติ ใครเห็นช่างวาดภาพเคารพช่างวาดภาพว่าเขาได้วาดของ
    จริงบ้าง! ไม่มีหลอก ช่างวาดภาพมีหน้าที่เดียวคือ สร้างภาพหลอกลวงขึ้นมาให้วิจิตร
    และ ต้องวิจิตรมากพอจนกระทั่งคนที่เข้าชมนิทรรศการหลงไหล งมงาย เห็นเป็นจริง​

    เมื่อนัยยะของ ช่างวาดภาพ ปรากฏเช่นนั้นแล้ว มาดูว่า พระพุทธองค์เปรียบกับอะไร
    ก็เปรียบกับ ไอ้ตัวจิต นั่นแหละมันคือ ช่างวาดภาพ ที่วาดได้วิจิตรที่สุด ใครเชื่อสิ่งที่
    จิตมันวาดภาพออกมา ก็โดนมันหลอกเต็มๆ!!!​


    เมื่อคำนึงได้ว่า จิตมันคือจิตกรที่หลอกลวงที่สุด เห็นปานนั้นแล้ว ก็ให้ทำความ
    เข้าใจในเหตุที่จิตมันหลอกลวงเราได้อย่างวิจิตร เพราะมันช่ำชอง คลุกคลีกับ
    โทษะ โมหะ โลภะ มาอย่างยาวนาน ​

    มายาวนานอย่างไรหละ!?​

    มายาวนานก็เพราะกว่ากระบวนการวิวัฒนาการณ์นั้น มันต้องเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน
    มาก่อนอย่างยาวนาน และการเป็นสัตว์เดรัจฉานนั้นก็ต้องไล่เข่นฆ่า ทำ"ปาณา"
    หรือเข่นฆ่ากัน และเข่นฆ่ากันชนิด"จินติตา"ชาชิน แล้วยัง"ตสฺมา"สั่งสอนให้ทำตามๆ
    กันด้วย[สังเกตในพระสูตรมีกล่าว แต่บทแปล เอาออก!] จิตมันถึงได้ก้าวไม่พ้นกอง
    กิเลสก็เพราะด้วยเหตุเหล่านั้น ​

    เน้นให้จบกระแสความตรงนี้นะ อ่านเน้นๆลงไปว่า จิตเราก้าวไม่พ้นกองกิเลสได้ก็
    เพราะการที่เวียนว่ายตายเกิด เข่นฆ่าอย่างชาชิน และทำตามๆกันมา จึงไม่พ้นโทษะ
    โมหะ โลภะออกไปได้ ก้าวข้ามพ้นไปไม่ได้ เมื่อพิจารณาได้ความหนักแน่นแล้ว
    ค่อยอ่านประโยคนี้​


    ก็คือ หากเราก้าวข้ามพ้จิตนั้นได้ ความบริสุทธิที่แท้จริงจึงจะเกิด หากยังติดจิต
    อาศัยจิตสร้างภาพ ไม่ก้าวพ้นจิตออกมา ก็ไม่มีทางบริสุทธิได้ คำว่า ผ่องแผ้ว
    คำนี้เป็นคำโบราณ ผ่อง คือ ถ่ายออก นำออก แผ้ว คือ แผ้วถาง กำจัดออก ​

    คำว่า ผ่องแผ้ว นี้ ยังมีอีกนัยยะหนึ่ง คือ แค่โอนออก โน้มออก โยนิโสมนสิการนั่นแหละ
    ดังนั้น อย่างไปแปล ผ่องแผ้ว ถึงขนาด ทำลายล้างให้สูญหาย อย่าลักลั่น อย่า
    บิดเบือนคำของคนโบราณ นัยยะตรงนี้ลองเทียบกับ การถ่ายโอนกิจการของบริษัทที่
    ล้มละลาย หรือขาดทอดกิจการ ไม่มีอะไรหายไปทำลายไป เป็นแต่เพียงการโอนออก
    ไปยังอีกที่หนึ่งแบบทั้งหมดเบ็ดเสร็จเด็ดขาด!

    แต่หากเราใช้คำโบราณ ผ่องแผ้ว แบบเด็กสามขวบที่กร่อนภาษา ก็จะใช้ตามความ
    นิยมไปเทียบเอากับความ ส่องสว่างสดใส เพราะ ....ทะลึ่งเอาไปเทียบกับสภาวะ
    จิตติดในฌาณ!!​


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มีนาคม 2010
  14. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    คราวนี้ มาดูสำนวนพระป่า กันบ้าง



    วรรคข้างบน คือ อรรถกถา ที่สอดคล้องกับ จิตเป็นจิตรกร โดยท่านใช้คำ
    เสียใหม่ว่า จิตมันตบแต่ง ตบแต่งอะไร ตบแต่งเมล็ดพันธ์ เมล็ดพันธ์คือ
    อะไร คือ การกลายเป็นสัตว์ชนิดต่างๆ ​
     
  15. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,182
    เอาหละครับ ผมเห็นแล้วว่า
    คุณ ธรรมสวนัง พูดว่า ถาวรมั่นคง
    สภาพจิต มีลักษณะคือ เป็นของตน ไม่สูญ มีอยู่กับตน มากี่กัลป กี่กัลป์
    นี่แหละ เป็นเหตุให้เขียน บรรยายออกมา นัยยะแบบนั้น

    แต่ สภาพถาวร มั่นคง แบบ ตึกราบ้านช่อง ก็ไม่ใช่

    ดังนั้น ให้คุณ พยายามเข้าใจ นัยยะ ไม่ใช่ เอาแต่ เถียง ด้วยการจับคำ
     
  16. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    มาดูสำนวนพระป่ากันต่อ

    ตรงนี้ท่านบอกอะไร ท่านก็ให้ อรรถธิบาย เรื่อง การก้าวข้ามพ้นจิต การผ่องแผ้ว หรือ
    การ "ก้าวข้าม" "การก้าวพ้น" ข้ามอะไร พ้นจากอะไร ก็พ้นจาก จิตที่เป็นจิตกร จิต
    ที่เป็นตัวตบแต่ง ข้ามกันอย่างไร ก็ฆ่ากันที่รากเง้าของการรู้ตื่น เบิกบาน(พุทธ) นั่นไง

    แล้วท่านก็กลัวว่าคนจะตกใจ เอ้าทำไมไปทำลายจิต ไปทำลายผู้รู้ ไปฆ่าพุทธะ ไปฆ่า
    แม่!! ท่านก็เมตตาว่า มันคือ "ปฏิสนธิจิต" ไง!! ก้าวข้ามตัวนี้ ก็ไม่ติดจิต ไม่โดน
    จิตแหกตาอีกต่อไป
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มีนาคม 2010
  17. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    ก็ผมถามว่าตรงไหนหรือที่พระศาสดาสอนให้พิจารณาว่าจิตนี้ถาวรมั่นคงตามข้อความสีแดง ในพระสูตรนั้นที่คุณยกมาผมก็ยกมาเช่นกันไงครับ ไหนละไม่ใช่ให้คุณมาถามผมเพราะผมถามคุณอยู่ว่า ตรงสีแดงนั้นเอามาจากไหน คิดเองหรือคิดเป็นกลุ่มคณะรวมทั้งตัวคุณด้วยครับ
     
  18. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    สำนวนปิดแถลงการของพระป่าหละ ท่านว่าเรื่องนี้ไว้อย่างไร

    ท่านก็ว่า หากไม่วิปัสสนาลงไป ตามเห็นลงไปถึงความยาวนานของจิตที่เป็นจิตกรจอม
    หลอกลวง ลงไปให้เห็นว่าจิตมันเศร้าหมองมานานจน งอกราก รากงอก!! หากขาดการ
    เห็น รากเง้าของพุทธะ(จิต) คุณก็ได้แต่ จินตาการเอาเท่านั้น คือ ภาวนามาแทบตาย
    ก็ไม่พ้น จินตนาการเอาเท่านั้น ได้แค่ จิตนมัยยปัญญา เท่านั้น!!! ไม่เกิด ภาวนมัยยะ
    ปัญญาที่แท้จริงแต่อย่างใด ได้แต่คิด เปรียบเทียบไปวันๆว่า นิพพานคือ ความผ่องใส

    โถ่ นั่นมันภาวนาไปติดหัวตอ!!

    อ้างอิงทั้งหมด จาก พระอาจารย์สงบ มนัสโต http://www.sa-ngob.com/media/pdf/y47/05/p18-05-47pm.pdf
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มีนาคม 2010
  19. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    คุณนี่มั่วได้สุดๆจริงๆ ก็เห็นอยู่ว่า หมายถึงอะไร และที่ว่าบริสุทธิ์นั้นเพราะอะไร พระสูตรก็ไม่ได้กล่าวไว้เห็นแต่บอกว่ามันสกปรกมาตั้งนานแล้วเท่านั้น
    เนื้อความในพระพุทธภาษิตที่ยกมานี้ ชวนให้คิดเห็นว่า
    จิตเป็นสภาพที่ถาวรมั่นคง
    ย่อมทรงความบริสุทธิ์และความไม่บริสุทธิ์ไว้ได้นานๆ
    และเป็นส่วนที่ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งกว่าส่วนต่างๆบรรดามีในโลก
    และหมายถึงอะไร คุณยังจะบอกว่าให้เป็นสีเทาๆอีก ตกลงจะเป็นสีขาวหรือสีดำละเล่นเอามาผสมกัน แบบนี้ก็แย่สิคุณ ผมไปเถียงอะไรคุณ ก็เขาตึความออกมาแบบนั้น ผมก็ถามกลับไปว่า พระสูตรนี้ตรงไหนตีความแบบนั้นได้บ้าง ลองหามาสิ ตามข้อความสีแดงนั้น คุณยังจะทำให้เป็นสีเทาๆอีก พวกคุณนี่จริงๆเลย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มีนาคม 2010
  20. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    เห็นด้วยนิดหน่อยครับ แต่อย่าแปลเลยครับ เพราะสุดท้ายคำตอบคือข้อคิดเห็นทั้งสองข้อข้างบนนั่นแหละครับ มันเป็นอวิชชา ควรละวางไม่ควรยึดมั่นถือมั่นครับ ซึ่งจะตรงกันกับที่พระเถระทั้งหลายกล่าวไว้ได้แก่หลวงตาบัว หลวงปู่หล้าและหลวงปู่อื่นๆอีกหลายท่าน ที่เป็นพระขีณาสพกล่าวเอาไว้ครับ อย่าไปว่าเขาเลยครับ ผมอยากจะให้ช่วยกันทำความเข้าใจจริงๆ ให้สมกับชื่อกระทู้เท่านั้นเองครับ
    และดูเหมือนจะสอดคล้องกันระหว่าง คัททูลสูตรที่ ๒ กับ วีณาสูตรที่ ๙


    วีณาสูตรที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค เล่ม ๔ ภาค ๑



    [๓๔๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์

    ยังไม่เคยได้ฟังเสียงพิณ พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์ ฟังเสียงพิณแล้ว
    พึงกล่าวอย่างนี้ว่า แน่ะท่านผู้เจริญ นั่นเสียงอะไรหนอ น่าชอบใจ น่าใคร่
    น่ามัวเมา น่าหมกมุ่น น่าพัวพันอย่างนี้ บุรุษนั้นกราบทูลว่า ขอเดชะ
    เสียงนั้นเป็นเสียงพิณ พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์พึงกล่าวว่า แน่ะท่าน
    ผู้เจริญ ท่านทั้งหลายจงไปนำพิณนั้นมาให้เรา ราชบุรุษทั้งหลายพึงนำพิณ
    มาถวาย พึงกราบทูลว่า นี่คือพิณนั้น
    พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์
    นั้นพึงกล่าวว่า แน่ะท่านผู้เจริญ ฉันไม่ต้องการพิณนั้น
    ท่านทั้งหลาย
    จงนำเสียงพิณนั้นมาให้แก่เราเถิด ราชบุรุษกราบทูลว่า ขอเดชะ ขึ้นชื่อว่า
    พิณนี้มีเครื่องประกอบหลายอย่าง มีเครื่องประกอบมาก นายช่างประกอบดี
    แล้วด้วยเครื่องประกอบหลายอย่าง คือธรรมดาว่าพิณนี้ อาศัยกระพอง
    อาศัยราง อาศัยลูกบิด อาศัยนม อาศัยสาย อาศัยคันชัก และอาศัย
    ความพยายามของบุรุษซึ่งสมควรแก่พิณนั้น มีเครื่องประกอบหลายอย่าง
    มีเครื่องประกอบมาก นายช่างประกอบดีแล้วด้วยเครื่องประกอบหลายอย่าง
    จึงจะส่งเสียงได้ พระราชาหรือราชมหาอำมาตย์ทรงผ่าพิณนั้น ๑๐ เสี่ยง
    หรือ ๑๐๐ เสี่ยง แล้วกระทำให้เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย แล้วพึงเผาไฟแล้ว
    [COLOR=black]พึงกระทำให้เป็นเขม่า โปรยไปด้วยลมแรง หรือพึงลอยไปเสียในแม่น้ำ[/COLOR]
    [COLOR=black]มีกระแสอันเชี่ยว ท้าวเธอตรัสอย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ได้ยินว่า ชื่อว่าพิณนี้[/COLOR]
    [COLOR=black]ไม่ได้สติ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะเลวทรามกว่าพิณนี้ไม่มี [/COLOR]
    [COLOR=#818181][COLOR=red]เพราะพิณนี้ คนต้อง[/COLOR][/COLOR]
    [FONT=AngsanaNew][COLOR=red]มัวเมา ประมาทหลงใหลจนเกินขอบเขต ฉันใด [/COLOR][/FONT]
    [FONT=AngsanaNew][COLOR=red]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย[/COLOR][/FONT]
    [FONT=AngsanaNew][COLOR=red]ภิกษุก็ฉันนั้นนั่นแล ย่อมแสวงหาคติแห่งรูป คติแห่งเวทนา[/COLOR][/FONT]





    [SIZE=5]...[/SIZE][SIZE=5]สัญญา [/SIZE][SIZE=5]...[/SIZE]

    [COLOR=red]สังขารทั้งหลาย[/COLOR]






    [COLOR=red]... [/COLOR][COLOR=red]วิญญาณเท่าที่มีอยู่ เมื่อเธอแสวงหาคติแห่งรูป เวทนา[/COLOR]

    [COLOR=red]สัญญา สังขาร วิญญาณเท่าที่มีอยู่ [B]ความยึดถือโดยคติของภิกษุนั้นว่าเรา[/B][/COLOR]
    [FONT=AngsanaNew][COLOR=red][B]หรือว่าของเรา หรือว่าเป็นเรา แม้นั้นก็ไม่มีแก่เธอ[/B][/COLOR][/FONT]

    [FONT=AngsanaNew][COLOR=black]อธิบายอรรถ[/COLOR][/FONT]

    [FONT=AngsanaNew][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ก็ลักษณะของรูป มีสองอย่าง คือ ปัจจัตตลักษณะ [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/FONT][FONT=AngsanaNew][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]กล่าวคือ การ[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]ย่อยยับที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้อย่างนี้ว่า [/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ชื่อว่ารูป[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เพราะอรรถว่า ย่อยยับไป ๑ สามัญญลักษณะ คือความไม่เทียงเป็นต้น ๑[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]นี้ชื่อว่า [/COLOR][/FONT][/SIZE][/SIZE][/FONT][/FONT]





    [B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black][COLOR=red]สลักขณคติ[/COLOR] [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ของรูปนั้น[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5].[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR]

    [B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ความไม่มีแห่งรูป ท่านกล่าวไว้อย่างนั้น [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B]​

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]:-[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B]​


    [B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ป่าใหญ่ เป็นคติของเนื้อทั้งหลาย[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][B][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][COLOR=black]อากาศเป็นคติ ของปักษีทั้งหลาย[/COLOR][/FONT][/SIZE][/B][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold]
    [B][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][COLOR=black]วิภพ [/COLOR][/FONT][/SIZE][/B][/FONT][/SIZE][/CENTER]





    [B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]( [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]สภาวะที่ปราศจากภพ [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]) [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/B]

    [B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]เป็นคติของธรรมทั้งหลาย[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5].[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/B]
    [CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]พระนิพพาน เป็นคติของพระอรหันต์[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B]
    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ชื่อว่า [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER]

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]วิภวคติ[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][/B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ก็ความแตกต่างแห่งรูปนั้น[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=3][FONT=AngsanaNew][SIZE=3]๑ [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]นี้ชื่อว่า [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR]

    [COLOR=black][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]เภทคติ[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][/COLOR][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]แม้ใน[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เวทนาเป็นต้น ก็นัยนี้เหมือนกัน[/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/CENTER]





    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]. [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]แท้จริง ในที่นี้ [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]

    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]พึงทราบคติว่าเป็นที่[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เกิดแห่งรูปเหล่านั้น [/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/CENTER]





    [COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]( [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ว่าเกิดใน [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]) [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]เบื้องบน จนถึง[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR]

    [COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ภวัคคพรหมอย่างเดียว[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5].[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR]
    [CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]แต่ใน[/COLOR][COLOR=red][B]สลักขณคติ[/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/CENTER]

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [FONT=AngsanaNew][SIZE=3][FONT=AngsanaNew][SIZE=3][COLOR=black]๒ [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]พึงทราบลักษณะเฉพาะอย่าง [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]

    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ด้วยสามารถ แห่งการ[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เสวย การจำได้ การปรุงแต่ง และการรู้แจ้ง[/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/CENTER]





    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black].[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]

    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]บทว่า [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]​

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ตมฺปิ ตสฺส น โหติ [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ความว่า แม้การยึดถือ ๓ อย่าง[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]​

    [FONT=AngsanaNew][CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]ในรูปารมณ์เป็นต้น ด้วยอำนาจ [/COLOR][/FONT][/SIZE][/CENTER][/FONT][CENTER][/center]
    [FONT=AngsanaNew]
    [/FONT]



    [B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ทิฏฐิ ตัณหา [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]และ มานะ[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=3][FONT=AngsanaNew][SIZE=3]๓ [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR]

    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][B][COLOR=black]ที่ท่าน[/COLOR][COLOR=black]แสดงไว้อย่างนี้ว่า [/COLOR][/B][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    [CENTER][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black][B][COLOR=red]เรา[/COLOR] ว่า [COLOR=red]ของเรา[/COLOR] หรือว่า [COLOR=red]เราเป็นนั้น [/COLOR][/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][B][COLOR=red]ก็ไม่มีแก่[/COLOR][/B][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black][B]พระขีณาสพนั้น รวมความว่า พระสูตรชื่อว่าเป็นไปตามลำดับ[/B][/COLOR][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/CENTER]





    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black][B]. [/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black][B]ด้วย[/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]​

    [FONT=AngsanaNew][CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]เหตุนั้น ท่านจึงกล่าวไว้ ในมหาอัฏฐกถาว่า[/COLOR][/FONT][/SIZE]
    [/CENTER][/FONT][CENTER][/center]

    [FONT=AngsanaNew]

    [/FONT]
    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]๑[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]​

    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE]

    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE]

    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]. [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ปาฐะว่า โสมมนสฺส ฉบับพม่าเป็น โส ปนสฺส แปลตามฉบับพม่า[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][/SIZE][/FONT]​
    [SIZE=5]

    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]๒[/COLOR][/FONT][/SIZE][/CENTER][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/CENTER]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew]
    [/FONT][/SIZE][/SIZE]

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]. [/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]ปาฐะว่า สลกฺขณคติ อยญฺจ ฉบับพม่าเป็น สลกฺขณคติยํ จ แปลตามฉบับพม่า[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][/SIZE][/FONT]​
    [SIZE=5]

    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]๓[/COLOR][/FONT][/SIZE][/CENTER][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/CENTER]
    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew]
    [/FONT][/SIZE][/SIZE]

    [SIZE=5]
    [/SIZE]

    [COLOR=black][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]. [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]ปาฐะว่า ทิฏฺฐ ิตณฺหามาน คาหตฺตยตํ ขีณาสวสฺส ฉบับพม่าเป็น ทิฏฺฐ ิตณฺหา[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]-[/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/COLOR][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][/SIZE][/FONT]​
    [SIZE=5]

    [/SIZE]
    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black]มานคฺคาหตฺตยํ ตมฺปิ ตสฺส แปลตามฉบับพม่า[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]​

    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE]

    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE]

    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][COLOR=black].[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT]

    [FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]ศีลท่านกล่าวไว้ในเบื้องต้น สมาธิ และภาวนา[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][B][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]ท่านกล่าวไว้แล้ว ในท่ามกลาง และนิพพาน[/COLOR][/FONT][/SIZE][/B][/FONT][/SIZE][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold]
    [B][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][COLOR=black]กล่าวไว้ในที่สุด ข้ออุปมาด้วยพิณนี้ พระผู้มี[/COLOR][/FONT][/SIZE][/B][/FONT][/SIZE][/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/center][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/CENTER]

    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE]

    [SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5][FONT=AngsanaNew][SIZE=5]

    [CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]-[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B]

    [B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black]พระภาคเจ้า ทรงแสดงไว้แล้ว ดังนี้[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][/CENTER]

    [FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT]
    [FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5]
    [/SIZE][/FONT]
    [CENTER][B][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Bold][SIZE=5][COLOR=black].[/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/B][/CENTER]


    [CENTER][FONT=AngsanaNew-Italic][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Italic][SIZE=5][COLOR=black][B]จบ อรรถกถาวีณาสูตรที่ ๙[/B][/COLOR][/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][FONT=AngsanaNew-Italic][SIZE=5]

    [CENTER][SIZE=5][FONT=AngsanaNew-Italic][B][COLOR=#000000]อนุโมทนาครับ[/COLOR][/B][/FONT][/SIZE][/CENTER][/SIZE][CENTER][/center][/FONT][CENTER][/CENTER]
    [/CENTER]


    [/SIZE][/FONT][/SIZE][/FONT][/SIZE]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มีนาคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...