ทางแห่งการปฏิบัติเพื่อมรรคผล อย่างแท้จริง

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย นิยายธรรม, 11 สิงหาคม 2009.

  1. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ^
    ^
    ^

    ^_^....อนุโมทนาครับท่าน
     
  2. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424

    เราก็ดูว่า ขณะที่เราฟังเราคิดนั้น เราฟังเราคิดด้วยสติปัญญา หรือด้วยอารมณ์ เราหลงใช้อารมณ์นำหน้าหรือเปล่า ถ้าเราฟังเราคิดด้วยอารมณ์ก็แสดงว่า เรามีอคติคือความลำเอียงเข้าให้แล้ว เราก็รู้จักดับรู้จักควบคุมอารมณ์นั้นด้วยสติเมื่อเราระลึกได้ อย่าปล่อยให้จิตเกิดหรืออินต่อไปอีก เพราะนั่นคือการพอกพูนความเคยชินเดิม ๆ เป็นภพเป็นชาติต่อไปอีกไม่มีที่สิ้นสุด ต้องดับเขาให้ได้ ดับเขาได้เท่ากับเราดับภพดับชาติที่จะเกิดต่อไปให้น้อยลงได้เช่นกัน เราเคยชินในการก่อภพก่อชาติโดยไม่รู้ตัวมามากแล้ว ที่นี้เรามาหัดฝึกสติสร้างความรู้สึกตัว รู้เท่าทันการหลงอารมณ์ หลงพอกพูนความเคยชิน ไม่ก่อภพก่อชาติกันดูบ้าง เป็นการทวนกระแสโลกเข้าสู่กระแสธรรม...;)
     
  3. Amoxcycol

    Amoxcycol Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    296
    ค่าพลัง:
    +65
    ท่านอาจะเข้าใจว่าความเคยชินกับหลงเหมือนกัน
    ผมขอแยกดังนี้นะครับ
    ความเคยชินคืออะไรที่ทำสม่ำเสมอจนกลายเป็นเรื่องธรรมดาไป เราอาจจะมีสติ
    หรือไม่มีสติก็ได้นะครับ

    แต่การหลงนี่ คือขาดสติบังคับขอรับ
    การพูดปดพูดส่อเสียดคนบางคนเขาทำเป็นเรื่องธรรมดาของเขา อันนี้เรียกว่า
    สันดานแล้วกันนะ

    กระผมก็ชอบอยู่หลังมากกว่า บางครั้งออกมาหน้าเขา มาดูความวุ่นวาย
    อีกสักพัก ผมก็จะพาดวงใจของผมกับไปอยู่หลังเขาเหมือนเดิมขอรับ
     
  4. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    ธรรมดาครับคนหูหนวกกับคนหูหนวกใช้ภาษามือแบะๆคุยกันเค้ารู้เรื่อง แต่คนที่หูดีตาดี เข้าคุยด้วยไม่รู้เรื่องด้วยหรอกครับ โครตธรรมดาครับ ยิ่งคนที่เห็นตนดีกว่าผู้อื่นแล้วนั้นยิ่งกว่าคนตาบอดหูหนวกอีก คือ รู้ไปหมดเรื่องของคนอื่นแต่ที่รู้นั้นก็ไม่รู้จริงไหม เอาแต่ของไม่ดีทั้งนั้นมาให้คนอื่นดู แล้วก็บอกว่าเรานั้นนิ่งสงบแล้ว คือ นอกจากติไม่เป็นแล้วยังเจริญเมตตาไม่เป็นด้วย ผมว่าใช้ภาษใบ้แบบนั้นแหละดีแล้วครับ (ความล่องลอยเป็นของธรรมชาติของคนไม่มีสรณเป็นที่พึ่ง)
     
  5. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    เพราะสติรู้ไ่ม่เท่าทันจึงหลง เมื่อหลงจึงทำตามความเคยชินเดิม ๆ พอกพูนกิเลส ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ เช่นเดิม

    หลงแล้วไม่รู้ทัน แล้วทำตามที่หลงไป ทีนี้ก็เลยทั้งหลงด้วย ทั้งยึดที่หลงนั้นด้วย ไปกันใหญ่เลย...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 สิงหาคม 2009
  6. Amoxcycol

    Amoxcycol Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    296
    ค่าพลัง:
    +65
    ขอรับท่านกระผมเพียงแต่ชี้แจงตามลำดับขั้นของสติเท่านั้นขอรับ
    การหลงที่กระผมสังเกตุได้คือไม่รู้เรื่องรู้ราว คือไมุ่้รู้ตัวในการกระทำทั้งสิ้น
    แต่ความเคยชินเช่นหิวเป็นเวลาผมว่า ผมมีสติหากผมทำความความหิวผมก็จะทานสามมื่อใช่ไหม แต่ผมมีสติเวลาทานไม่ได้หลง อารมณ์เหมือนกัน
    ผมเลยแยกความหลงกับความเคยชินออกจากันเสีย แล้วค่อยดับทีละตัว
    การยึดหรือไม่ยึด นี่เราเท่านั้นที่รู้ ว่าง ๆ ผมก็ไปสอบอารมณ์กับครูบาอาจารย์
    คือไม่ค่อยมองคนอื่นหรอกคับ มองแต่ตัวผม หากผมไปยุ่งนั้น ผมวางอุเบกขาก่อนครับ
     
  7. kengkenny

    kengkenny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    2,878
    ค่าพลัง:
    +2,500
    อุเบกขำอะดิ ว่างๆจะไปหาพระอาจารย์ให้พระอาจารย์สอบอารมณ์ ถ้าเป็นจริงก็ขออนุโมทนา แต่ถ้ามุสาอีกก็ตัวใครตัวมัน
    สาธุ
     
  8. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424

    อือ...ดีนะครับ

    ถ้าเรารู้เ่ท่าทันอารมณ์ แล้วไม่ปล่อยให้อารมณ์นำหน้า หมั่นดับหมั่นควบคุมให้ได้บ่อยๆ ทุกขณะ ๆ (อันนี้เรียกว่า เป็นการเจริญสมถะ สร้างกำลังจิตอย่างหนึ่ง) ลืมบ้าง เผลอบ้าง รู้ตัวบ้าง มันก็เป็นเรื่องธรรมดา เราไม่ใช่พระอรหันต์จะได้ไม่เผลอหลงเลยนะ เราก็ทำความเข้าใจกับเขาไปด้วย จิตเขาเกิดเขาก่อตัวอย่่างไร ถ้าเราเข้าใจได้ ยิ่งเราเข้าใจอาการของเขาได้ละเอียดลึกซึ้งมากขึ้นเท่าไหร่ เราก็ไม่หลงทำทุกข์ให้กับตนเองได้มากขึ้นเท่านั้น (อันนี้คือการเจริญวิปัสสนา เจริญปัญญาวิเศษ) ทีนี้จิตเราก็จะค่อย ๆ เบาขึ้น ๆ มีความเป็นธรรมชาติมากขึ้น ๆ ไม่หนักไปในทางใดทางหนึ่ง คือ ไม่หนักไปในทางสมมุติ หรือเอาแต่วิมุติท่าเดียว อยู่ใกล้ ๆ ใคร คนข้าง ๆ เราก็จะไม่รู้สึกหนัก หรืออึดอัดไปกับเรา หลวงพ่อฤาษีท่านใช้คำว่า อารมณ์ใจมันเบา คือมันไม่หนัก คือถ้าอารมณ์ใจมันยังหนัก มันยังมีอารมณ์กลุ้ม อันนั้นคือมันยังใช้ไม่ได้ เคยได้ยินท่านว่างั้นนะครับ อะไรทำให้เรากลุ้มบ้่าง เราไปรู้เท่าทันตรงนั้นเอาครับ...


    สาธุครับ
     
  9. Amoxcycol

    Amoxcycol Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    296
    ค่าพลัง:
    +65
    อนุโมทนากับคุณทีบุญ ถือเป็นการแลกเปลี่ยนกัน
     
  10. นิยายธรรม

    นิยายธรรม สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    108
    ค่าพลัง:
    +20
    ลองเอาไปพิจารณากันดูนะ จะบอกใบ้ง่าย ๆ ถ้ายังมีสงสัยเห็นจะเอาดีทางปฏิบัติลำบากเหมือนกันเพราะตัวสงสัยนี่แหละ
    เคยชิน แปลว่าฌาน ไม่ต้องนึกถึง ฌาน 1-4 แต่รวมเข้าด้วยกันได้ถ้าทำถึง ให้ฝึกจิตละความเคยชินด้านพอใจ กับไม่พอใจ ออก มองให้เห็นทุกอย่างในโลกเป็นธรรมดาของ เป็นของมันอย่างนั้นทุกอย่าง พระธรรมแห่งสมเด็จพระบรมศาสดา แสดงธรรมอยู่เสมอแต่เราไม่รู้จังดู และยอมรับมัน
    ทิฏฐิ แปละว่า ความเห็น ฝึกจิตเราให้ เปลี่ยนจากเห็นผิด คือ เห็นไม่ตรงกับธรรมดา (โลกธรรม 8 ไตรลักษณ์ 3) ให้เห็นและยอมรับธรรมดา ว่ามันเกิดมาในโลกนี้แล้วมันต้องเจอ ด้วยเหตุที่กรรม มันบันดาลให้พบเจอ มากน้อยแล้วแต่ เมื่อยอมรับแล้วก็ปล่อยวางมัน อยู่ร่วมกับมันไปจนกว่าจะสิ้นอายุขัย แล้วคิดไว้เลยขึ้นชื่อ ว่าร่างกายนี้ เราไม่พึงปรารถนามันอีก (ถ้าจิตยอมรับธรรมดาได้เป็นปกติทุกลมหายใจ)ก็ถึงนิพพาน นี้เป็นอารมณ์พระอรหันต์ที่ท่านเมตตา เล่าให้ฟัง
     
  11. Amoxcycol

    Amoxcycol Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    296
    ค่าพลัง:
    +65
    เคยฟังของหลวงพ่อปราโมทย์ โชว์นะ ท่านบอกว่า หากเราเห็นขันธ์หมดทุกข์
    หมดสุข นั้นแหละ คือจบ แต่เรายังมีบางเวลาหรือหลาย ๆ ครั้งที่มีความสุขกับขันธ์
    ท่านกล่าวแบบนี้ ก็จริงของท่าน
     

แชร์หน้านี้

Loading...