เหตุที่ทำให้เกิดพระเจ้าจักรพรรดิ

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย เทพออระฤทธิ์, 27 เมษายน 2009.

  1. เทพออระฤทธิ์

    เทพออระฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    4,573
    กระทู้เรื่องเด่น:
    4
    ค่าพลัง:
    +22,049
    พระเจ้าจักรพรรดิ (ภาษาบาลี: จกฺกวตฺติ) คือจักรพรรดิผู้ปกครองทวีปทั้ง 4 ในความเชื่อของพระพุทธศาสนา เป็นผู้รักษาศีล เป็นธรรมราชา ปกครองด้วยทศพิธราชธรรม มีพระโอรสนับพัน ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ปรารถนาสงคราม ไม่ประสงค์เครื่องบรรณาการ พระเจ้าจักรพรรดิมีแต่ผู้เคารพนับถือ พระเจ้าจักรพรรดิเป็นผู้มีบุญญาธิการมาก พระเจ้าจักรพรรดิมีลักษณะของมหาบุรุษเช่นเดียวกับพระพุทธเจ้า แต่ทรงเลือกปกครองแผ่นดิน
    ยามใดที่มีพระพุทธศาสนา พระเจ้าจักรพรรดิก็ทรงบำรุงอุปัฎฐากพระพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก ช่วยเผยแพร่พระธรรม แต่ยามใดที่ไม่มีพระพุทธศาสนา พระองค์ก็ทรงรวบรวมผืนแผ่นดิน ผู้คนให้เป็นปึกแผ่น ทรงปกครองโดยธรรม สั่งสอนประชาชนทั้งมวล พระเจ้าจักรพรรดิทรงขยันในการสร้างบารมีมาก ถึงแม้จะเป็นพระมหาจักรพรรดิก็ยังทรงสร้างพระบารมีไม่หยุดหย่อน


    ความพิเศษของพระเจ้าจักรพรรดิ

    1. พระเจ้าจักรพรรดิมีพระวรกายงดงามยิ่งกว่ามนุษย์ใดๆ
    2. พระเจ้าจักรพรรดิมีอายุยืนกว่ามนุษย์ใดๆ
    3. มีอาพาธน้อย เจ็บป่วยได้ยากกว่าคนทั่วไป
    4. พระเจ้าจักรพรรดิเป็นที่รักของมนุษย์และเทวดา แม้แต่เทวดาก็ยังเกรงใจ
    แก้ว 7 ประการ


    พระเจ้าจักรพรรดิเป็นผู้ครอบครองแก้ว 7 ประการ อันได้แก่

    จักรแก้ว (จกฺกรตฺตนํ)
    เมื่อผู้ที่จะเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ในวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ พระองค์ทรงรักษาศีลอุโบสถ ชำระจิตให้สะอาดแล้วทรงทำสมาธิ จักรแก้วก็บังเกิดขึ้น ทำจากโลหะมีค่า ส่องแสงสว่างไสว แล้วพาพระเจ้าจักรพรรดิพร้อมเหล่าเสนาบดีลอยไปยังประเทศต่างๆ ในทวีปทั้ง 4 ประเทศต่างๆ ก็ยอมสวามิภักดิ์ ไม่มีการสู้รบกัน เมื่อจะถวายเครื่องบรรณาการพระเจ้าจักรพรรดิก็ไม่ยอมรับแต่พระราชทานโอวาทศีล 5 ให้

    ช้างแก้ว (หตฺถีรตฺตนํ)
    ช้างแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เป็นพญาช้าง มีชื่อว่า อุโบสถ สีขาวเผือก สง่างาม มีฤทธิ์เดชสามารถเหาะได้ คล่องแคล่วว่องไว ฝึกหัดได้เอง สามารถพาพระเจ้าจักรพรรดิไปรอบชมพูทวีป จรดขอบมหาสมุทร ได้ตั้งแต่เช้ารุ่ง และกลับมาทันเวลาเสวยพระกระยาหารเช้า

    ม้าแก้ว (อสฺสรตฺตนํ)
    ม้าแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เป็นพญาม้า มีชื่อว่า วลาหกะ เป็นอัศวราชผู้สง่างาม ขนงาม มีหางเป็นพวง ตรงปลายคล้ายดอกบัวตูม มีฤทธิ์เดชเหาะเหินเดินบนอากาศได้ คล่องแคล่วว่องไง ฝึกหัดได้เอง สามารถพาพระเจ้าจักรพรรดิไปรอบชมพูทวีป จรดขอบมหาสมุทร ได้ตั้งแต่เช้ารุ่ง และกลับมาทันเวลาเสวยพระกระยาหารเช้า

    มณีแก้ว (มณิรตฺตนํ)
    มณีแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เป็นแก้วมณีเปล่งแสงสุกสกาว ใสแวววาวยิ่งกว่าเพชร เปล่งรังสีแสงสว่างไสวโดยรอบถึง 1 โยชน์ คอยบันดาลความอุดมสมบูรณ์ทุกอย่างให้บังเกิดขึ้น ดึงดูดสมบัติทั้งหลายมาให้ สามารถเลี้ยงคนได้ทั้งชมพูทวีปโดยไม่ต้องทำมาหากิน เมื่อพระมหาจักรพรรดิทรงทดลองแก้วมณีกับกองทัพ โดยติดแก้วมณีไว้บนยอดธงนำทัพ แก้วมณีก็เปล่งแสงสว่างไสว ทำให้กองทัพเดินทางได้สะดวกสบาย เหมือนเดินทัพในเวลากลางวัน

    นางแก้ว (อิตถรตฺตนํ)
    นางแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เป็นหญิงที่มีบุญญาธิการ รูปร่างน่าดูชม ผิวพรรณเปล่งปลั่งผ่องใส สวยงามกว่ามนุษย์ทั่วไป พูดจาไพเราะ ไม่โกหก มีกลิ่นดอกบัวหอมฟุ้งออกจากปาก มีกลิ่นจันทน์หอมฟุ้งรอบกาย นางแก้วเป็นผู้คอยปรนนิบัติพระเจ้าจักรพรรดิอย่างไม่ขาดสาย ตื่นก่อนนอนทีหลังพระเจ้าจักรพรรดิ คอยฟังรับสั่งของพระเจ้าจักรพรรดิ ประพฤติชอบต่อพระเจ้าจักรพรรดิเสมอ

    ขุนคลังแก้ว (คหปติรตฺตนํ)
    คฤหบดีแก้ว หรือขุนคลังแก้ว สามารถนำทรัพย์สินมาให้แด่พระเจ้าจักรพรรดิได้ ขุมทรัพย์อยู่ที่ไหน ขุนคลังแก้วเห็นหมด

    ขุนพลแก้ว (ปริณายกรตฺตนํ)
    ปริณายกแก้ว หรือขุนพลแก้ว คือพระราชโอรสองค์โตของพระเจ้าจักรพรรดิ เป็นขุนศึกคู่ใจ เป็นบัณฑิตนักปราชญ์ มีความฉลาดเฉลียว รู้สิ่งใดควรไม่ควร คอยให้คำแนะนำปรึกษาแด่พระเจ้าจักรพรรดิอยู่เสมอ


    อานิสงส์ผลบุญที่ทำให้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ


    1. ทำบุญทำทานด้วยจิตใจงดงาม
    2. เป็นเจ้าในงานทอดกฐิน หรือเป็นเจ้าภาพในการสร้างวัด พระอุโบสถ พระวิหาร พระพุทธรูป ฯลฯ
    3. เป็นประธานในการเทศนาธรรม การสังคายนาพระไตรปิฏก ฯลฯ
    เจริญเมตตาจิตได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ

    พระสุตตันตปิฎก เล่ม 15
    อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต
    ปุญญวิปากสูตร

    [๕๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่ากลัวต่อบุญเลย คำว่าบุญนี้เป็นชื่อของความสุข ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมรู้ชัดซึ่งผลแห่งบุญอันน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ ที่เราเสวยแล้วตลอดกาลนาน เราเจริญเมตตาจิตตลอด ๗ ปี ครั้นแล้ว เราไม่ได้กลับมายังโลกนี้ตลอด ๗ สังวัฏฏวิวัฏฏกัป

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ได้ยินว่า เมื่อโลกถึงความพินาศ [ถูกไฟไหม้] เราเข้าถึงพรหมโลกชั้นอาภัสสระ เมื่อโลกยังไม่ถึงความพินาศ เราย่อมเข้าถึงวิมานพรหมอันว่างเปล่า ได้ยินว่า ในวิมานพรหมนั้น เราเป็นพรหม เป็นท้าวมหาพรหม เป็นใหญ่ใครๆ ครอบงำไม่ได้ มีความเห็นแน่นอน มีอำนาจเต็ม

    (จากนั้น)เป็นท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งทวยเทพ ๓๖ ครั้ง เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ตั้งอยู่ในธรรม เป็นธรรมราชา มีสมุทรทั้ง ๔ เป็นขอบเขต ผู้ชนะสงคราม มีชนบทถึงความสถาพรตั้งมั่น ประกอบด้วยรัตนะ ๗ ประการ รัตนะ ๗ ประการของเรานั้นคือ จักรแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว แก้วมณี นางแก้ว คฤหบดีแก้ว ขุนพลแก้วเป็นที่ ๗

    อนึ่ง เราเคยมีบุตรมากกว่าพันคน ล้วนแต่เป็นคนกล้าหาญชาญชัย ย่ำยีข้าศึกได้ เรา ครอบครองปฐพีมณฑลนี้ อันมีมหาสมุทรเป็นขอบเขต โดยธรรม ไม่ต้องใช้อาชญา ไม่ต้องใช้ศาตรา ฯ

    เชิญดูผลแห่งบุญกุศลของบุคคลผู้แสวงหาความสุข
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราเจริญเมตตาจิตมาแล้ว ๗ ปี ไม่ต้องกลับมาสู่โลกนี้ ตลอด ๗ สังวัฏฏวิวัฏฏกัปป์
    เมื่อ โลกถึงความพินาศเราเข้าถึงพรหมโลกชั้นอาภัสสระ
    เมื่อโลกยังไม่ถึงความพินาศ เราเข้าถึงวิมานอันว่างเปล่า
    ในกาลนั้น เราเป็นท้าวมหาพรหมผู้มีอำนาจเต็ม ๗ ครั้ง
    เป็นท้าวสักกะจอมเทพเสวยสมบัติในเทวโลก ๓๖ ครั้ง
    เป็นพระเจ้าจักรพรรดิผู้เป็นใหญ่ในหมู่ชนชาวชมพูทวีป
    เป็นกษัตริย์ได้รับมุรธาภิเศก แล้ว เป็นใหญ่ในหมู่มนุษย์ปกครองปฐพีมณฑลนี้ โดยไม่ต้องใช้อาชญา ไม่ต้องใช้ศาตรา
    สั่งสอนคนในปฐพีมณฑล นั้นโดยธรรมสม่ำเสมอ ไม่ผลุนผลัน
    ครั้นได้เสวยราชใน ปฐพีมณฑลนี้โดยธรรมแล้ว ได้เกิดในตระกูลมั่งคั่ง มีทรัพย์
    สมบัติมากมาย ทั้งบริบูรณ์พร้อมด้วยรัตนะ ๗ ประการ อัน
    อำนวยความประสงค์ให้ทุกอย่าง ฐานะดังที่กล่าวมานี้
    พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้สงเคราะห์ประชาชาวโลกทรงแสดงไว้ดีแล้ว
    เหตุที่ท่านเรียกว่าเป็นเจ้าแผ่นดิน เพราะความเป็นใหญ่
    เราเป็นพระราชาผู้เรืองเดช มีอุปกรณ์เครื่องให้ปลื้มใจมากมาย
    มีฤทธิ์ มียศ เป็นใหญ่ ในหมู่ชนชาวชมพูทวีป ใครบ้าง
    ได้ฟังแล้วจะไม่เลื่อมใสแม้จะเป็นคนมีชาติต่ำ เพราะฉะนั้น
    แหละ ผู้มุ่งประโยชน์ จำนงหวังความเป็นใหญ่ ระลึกถึง
    คำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงเคารพสัทธรรม ฯ

    จบสูตรที่ ๙
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 28 เมษายน 2009
  2. เทพออระฤทธิ์

    เทพออระฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    4,573
    กระทู้เรื่องเด่น:
    4
    ค่าพลัง:
    +22,049
    <CENTER><BIG>อรรถกถา สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค โพชฌงคสังยุตต์ จักกวัตติวรรคที่ ๕</BIG> <CENTER class=D>๒. จักกวัตติสูตร</CENTER></CENTER>


    <CENTER>อรรถกถาจักกวัตติสูตรที่ ๒ </CENTER>พึงทราบวินิจฉัยในจักกวัตติสูตรที่ ๒
    ในบทว่า รญฺโญ ภิกฺขเว จกฺกวตฺติสฺส นี้ ชื่อว่าพระราชา เพราะอรรถว่าทรงยินดีในสิริสมบัติของพระองค์ หรือทรงให้พสกนิกรยินดีด้วยสังคหวัตถุ ๔.
    ชื่อว่าเจ้าจักรพรรดิ เพราะอรรถว่าสั่งการอยู่ด้วยวาจาคล่องแคล่ว ยังจักรให้เป็นไป<WBR>ด้วย<WBR>บุญ<WBR>ญา<WBR>นุ<WBR>ภาพว่า ขอจักรรัตนะจงแล่นไปตลอดภพ ดังนี้.
    บทว่า ปาตุภาวา แปลว่า เพราะปรากฏ.
    บทว่า สตฺตนฺนํ แปลว่า กำหนดการถือเอา.
    บทว่า รตนานํ ได้แก่ แสดงเรื่องที่กำหนด.
    ส่วนความหมายของคำในบทนี้ ชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าให้เกิดความยินดี.
    อีกอย่างหนึ่งว่า
    ที่เรียกว่า รัตนะ เพราะทำความเคารพ
    มีค่ามาก ชั่งไม่ได้ เห็นได้ยาก เป็นของ
    ใช้ของสัตว์ผู้ไม่ทราม ดังนี้.
    จำเดิมแต่จักรรัตนะบังเกิด ชื่อว่าเทวสถานอื่น ย่อมไม่มี. คนทั้งปวงกระทำการบูชาและอภิวาทเป็นต้น ซึ่งรัตนะนั้นอย่างเดียว ด้วยของหอมและดอกไม้เป็นต้น ดังนั้น จึงชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าทำความเคารพ. ส่วนจักรรัตนะมีค่าหามิได้ เพราะทรัพย์ยังมีค่าประมาณเท่านี้ ดังนั้นจึงชื่อว่ารัตนะ แม้เพราะอรรถว่ามีค่ามาก. จักรรัตนะไม่เหมือนกับรัตนะที่มีอยู่ในโลกอย่างอื่น ดังนั้นจึงชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าชั่งไม่ได้.
    ก็เพราะในกัปที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายไม่อุบัติ พระ<WBR>เจ้า<WBR>จักร<WBR>พรรดิและพระ<WBR>ปัจ<WBR>เจก<WBR>พุทธ<WBR>เจ้า<WBR>ย่อม<WBR>เกิดใน<WBR>กาล<WBR>บาง<WBR>ครั้ง<WBR>บาง<WBR>คราวเท่านั้น ฉะนั้น จึงชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าเห็นได้ยาก.
    รัตนะนี้นั้นย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์อันโอฬาร ไม่ต่ำ โดยชาติ รูป ตระกูลและความเป็นใหญ่เป็นต้น หาเกิดขึ้นแก่สัตว์อื่นไม่ ดังนั้น จึงชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องใช้สอยของสัตว์ที่ไม่ทราม.
    รัตนะแม้ที่เหลือก็เหมือนจักรรัตนะฉะนั้น ด้วยประการฉะนี้.
    เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า
    เรียกว่า รัตนะ เพราะทำความเคารพ
    มีค่ามาก ชั่งไม่ได้ เห็นได้ยาก เป็นของ
    ใช้ของสัตว์ผู้ไม่ทราม ดังนี้.
    บทว่า ปาตุภาโว โหติ ได้แก่ ความบังเกิด.
    ในข้อนี้มีวาจาประกอบความดังนี้ ข้อว่า พระเจ้าจักรพรรดิปรากฏ รัตนะ ๗ จึงปรากฏ ดังนี้ก็ควร. ข้อว่า ชื่อว่าพระเจ้าจักรพรรดินั้น ย่อมยังจักรอันเกิดแล้วให้หมุนไปดังนี้ก็ควร.
    ถามว่า เพราะเหตุไร.
    ตอบว่า เพราะมุ่งถึงความนิยมของพระเจ้าจักรพรรดิ.
    ก็ผู้ใดจักยังจักรให้หมุนไปตามความนิยม ผู้นั้นตั้งแต่ปฏิสนธิย่อมถึงความเป็นผู้ควรกล่าวว่า พระเจ้าจักรพรรดิปรากฏ ดังนี้. คำนั้นก็ควรเหมือนกัน เพราะพูดถึงความเกิดแห่งมูลของบุรุษที่ได้ชื่อแล้ว ก็ผู้ใดเป็นสัตว์วิเศษ ได้ชื่อว่าพระเจ้าจักรพรรดิ ความปรากฏกล่าวคือปฏิสนธิของผู้นั้นมีอยู่ดังนี้ เป็นอธิบายในข้อนี้. ก็เพราะพระเจ้าจักรพรรดิปรากฏ รัตนะทั้งหลายย่อมปรากฏ. พระเจ้าจักรพรรดินั้นย่อมประกอบอยู่ในบุญสมภารแก่เต็มที่พร้อมกับรัตนะเหล่านั้น ที่ปรากฏ.
    ในกาลนั้น ชาวโลกเกิดความคิดปรากฏในรัตนะเหล่านั้น. ข้อนั้นก็ควร เพราะพูดถึงกันมาก. ก็เมื่อใด สัญญามีความปรากฏในรัตนะเหล่านั้นเกิดขึ้นแก่ชาวโลก เมื่อนั้นก็เป็นอย่างเดียวเท่านั้นก่อน ภายหลังปรากฏรัตนะนอกนี้ ๖ อย่าง เพราะฉะนั้น จึงถึงรัตนะนั้นอย่างนี้ เพราะพูดถึงกันมาก แม้โดยความต่างเนื้อความแห่งความปรากฏ ข้อนั้นก็ควรแล้ว
    ความปรากฏมิใช่ปรากฏเพียงอย่างเดียว ชื่อว่าปาตุภาวะ เพราะยังความปรากฏให้เกิดขึ้น นี้เป็นประเภทแห่งความของความปรากฏ เพราะการสั่งสมบุญอันใด ยังพระเจ้าจักรพรรดิให้ปรากฏด้วยอำนาจปฏิสนธิ ชื่อว่าปาตุภาวะ นี้เป็นประเภทแห่งความของความปรากฏ เพราะการสั่งสมบุญใดยังพระเจ้าจักรพรรดิให้ปรากฏด้วยอำนาจปฏิสนธิ ฉะนั้น ความปรากฏแห่งพระเจ้าจักรพรรดิ ไม่เป็นจักรพรรดิอย่างเดียว แต่แม้รัตนะ ๗ เหล่านี้ก็ปรากฏด้วย เพราะฉะนั้น นี้เป็นอธิบายในข้อนี้.
    เหมือนอย่างว่า การสั่งสมบุญนั้นเป็นเหตุให้เกิดพระราชาฉันใด การสั่งสมบุญเป็นเหตุอุปนิสัย แม้แห่งรัตนะโดยปริยายฉันนั้น เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะความปรากฏแห่งพระเจ้าจักรพรรดิจึงเป็นความปรากฏแห่งรัตนะ ๗ ด้วยดังนี้.
    บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำเป็นต้นว่า กตเมสํ สตฺตนฺนํ จกฺกรตนสฺส ดังนี้ เพื่อทรงแสดงรัตนะเหล่านั้น โดยอำนาจสรุป.
    ในบทเหล่านั้น ในบทเป็นต้นว่า จกฺกรตนสฺส มีอธิบายโดยย่อดังนี้
    จักรแก้วสามารถเพื่อยึดสิริสมบัติของทวีปใหญ่ ๔ มีทวีปสองพันเป็นบริวารมาให้ปรากฏอยู่. ช้างแก้วไปสู่เวหาส อันสามารถติดตามไปสู่แผ่นดินมีสาครเป็นที่สุดมาให้ได้ก่อนภัตรอย่างนั้น ม้าแก้วก็เช่นนั้นเหมือนกัน. แก้วมณีอันสามารถกำจัดความมืดประมาณโยชน์ในที่มืด แม้ประกอบด้วยองค์สี่ มองเห็นแสงสว่างได้. นางแก้วมีปกติเว้นโทษ ๖ อย่างแล้วเที่ยวไปได้ตามชอบใจ. คฤหบดีแก้วอันสามารถเห็นขุมทรัพย์อยู่ภายในแผ่นดินในประเทศประมาณโยชน์. ปริณายกแก้วกล่าวคือบุตรคนหัวปี ผู้เกิดในท้องของอัครมเหสีแล้ว เป็นผู้สามารถปกครองสมบัติทั้งสิ้นได้ปรากฏอยู่ ดังนั้น
    นี้เป็นอธิบายย่อในข้อนี้.
    ส่วนวิธีปรากฏแห่งจักรแก้วเป็นต้นเหล่านั้นมาแล้วในสูตรมีมหาสุทัสสนะเป็นต้นโดยพิสดารแล แม้อธิบายวิธีปรากฏของจักรแก้วนั้น ท่านพรรณนาไว้ในอรรถกถาแห่งสูตรเหล่านั้นแล.
    ในบทว่า สติสมฺโพชฺฌงฺครตนสฺส เป็นต้น พึงทราบแม้ความที่มีลักษณะคล้ายกันอย่างนี้.
    จักรแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เที่ยวไปก่อนกว่ารัตนะทั้งปวงฉันใด สติสัมโพชฌังครัตนะเที่ยวไปก่อนกว่าธรรมที่เป็นไปในภูมิ ๔ ทั้งปวงฉันนั้น
    คือเปรียบด้วยจักรแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เพราะอรรถว่าเที่ยวไปก่อน.
    บรรดารัตนะทั้งหลาย ช้างแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เกิดร่างใหญ่สูง ไพบูลย์ใหญ่ ธัมมวิจยสัมโพชฌังครัตนะเข้าถึงหมู่ธรรมเป็นอันมาก สูงแผ่ไป กว้างใหญ่ ดังนั้น จึงเปรียบด้วยช้างแก้ว.
    ม้าแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิมีฝีเท้าเร็ว วิริยสัมโพชฌังครัตนะแม้นี้มีกำลังฉับพลัน ดังนั้น จึงเปรียบด้วยม้าแก้ว เหตุมีกำลังฉับพลันนี้.
    แก้วมณีของพระเจ้าจักรพรรดิ กำจัดความมืดให้สว่างได้ ปีติสัม<WBR>โพช<WBR>ฌังค<WBR>รัตนะ<WBR>แม้นี้อยู่ในหมู่ธรรมเป็นอันมาก กำจัดความมืดคือกิเลสให้สว่างด้วยญาณ ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัยเป็นต้น เพราะเป็นกุศลโดยส่วนเดียว ดังนั้น จึงเปรียบด้วยแก้วมณี เหตุกำจัดความมืดในสว่างนี้.
    นางแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ ระงับความกระวนกระวายทางกายและทางจิต ให้ความร้อนสงบ ปัสสัทธิสัมโพชฌังครัตนะแม้นี้ ระงับความกระวนกระวายทางกายและทางจิต ให้ความร้อนสงบ ดังนั้นจึงเปรียบด้วยนางแก้ว.
    คฤหบดีแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ กำหนดความฟุ้งซ่าน ทำให้จิตมีอารมณ์เดียวด้วยการให้ทรัพย์ ในขณะที่ตนปรารถนาแล้วและปรารถนาแล้ว สมาธิสัมโพชฌังครัตนะแม้นี้ ยังอัปปนาให้ถึงพร้อมด้วยอำนาจความที่ตนปรารถนาเป็นต้น ตัดขาดแล้วซึ่งความฟุ้งซ่าน ทำจิตให้มีอารมณ์เดียว ดังนั้น จึงเปรียบด้วยคฤหบดีแก้ว.
    ส่วนปริณายกแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ ทำความขวนขวายน้อยให้ ด้วยการทำกิจในที่ทั้งปวงให้สำเร็จ อุเบกขาสัมโพชฌังครัตนะแม้นี้ เปลื้องจิตตุปบาทจากความหดหู่และความฟุ้งซ่าน ทำความขวนขวายน้อย วางตนไว้ในท่ามกลางประกอบความเพียร ดังนั้น จึงเปรียบด้วยปริณายกแก้ว.
    พึงทราบว่า การกำหนดธรรมที่รวมไว้ทั้งหมดเป็น ๔ ภูมิ ได้กล่าวไว้ในสูตรนี้ด้วยประการฉะนี้.


    <CENTER>
    จบอรรถกถาจักกวัตติสูตรที่ ๒


    ----------------------------------------------------- </CENTER>
    .. อรรถกถา สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค โพชฌงคสังยุตต์ จักกวัตติวรรคที่ ๕ ๒. จักกวัตติสูตร จบ.
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 เมษายน 2009
  3. เทพออระฤทธิ์

    เทพออระฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    4,573
    กระทู้เรื่องเด่น:
    4
    ค่าพลัง:
    +22,049
    <CENTER><BIG>อรรถกถา สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค โพชฌงคสังยุตต์ จักกวัตติวรรคที่ ๕</BIG> <CENTER class=D>๒. จักกวัตติสูตร</CENTER></CENTER>
    <CENTER> อรรถกถาจักกวัตติสูตรที่ ๒ </CENTER> พึงทราบวินิจฉัยในจักกวัตติสูตรที่ ๒
    ในบทว่า รญฺโญ ภิกฺขเว จกฺกวตฺติสฺส นี้ ชื่อว่าพระราชา เพราะอรรถว่าทรงยินดีในสิริสมบัติของพระองค์ หรือทรงให้พสกนิกรยินดีด้วยสังคหวัตถุ ๔.
    ชื่อว่าเจ้าจักรพรรดิ เพราะอรรถว่าสั่งการอยู่ด้วยวาจาคล่องแคล่ว ยังจักรให้เป็นไป<WBR>ด้วย<WBR>บุญ<WBR>ญา<WBR>นุ<WBR>ภาพว่า ขอจักรรัตนะจงแล่นไปตลอดภพ ดังนี้.
    บทว่า ปาตุภาวา แปลว่า เพราะปรากฏ.
    บทว่า สตฺตนฺนํ แปลว่า กำหนดการถือเอา.
    บทว่า รตนานํ ได้แก่ แสดงเรื่องที่กำหนด.
    ส่วนความหมายของคำในบทนี้ ชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าให้เกิดความยินดี.
    อีกอย่างหนึ่งว่า
    ที่เรียกว่า รัตนะ เพราะทำความเคารพ
    มีค่ามาก ชั่งไม่ได้ เห็นได้ยาก เป็นของ
    ใช้ของสัตว์ผู้ไม่ทราม ดังนี้.

    จำเดิมแต่จักรรัตนะบังเกิด ชื่อว่าเทวสถานอื่น ย่อมไม่มี. คนทั้งปวงกระทำการบูชาและอภิวาทเป็นต้น ซึ่งรัตนะนั้นอย่างเดียว ด้วยของหอมและดอกไม้เป็นต้น ดังนั้น จึงชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าทำความเคารพ. ส่วนจักรรัตนะมีค่าหามิได้ เพราะทรัพย์ยังมีค่าประมาณเท่านี้ ดังนั้นจึงชื่อว่ารัตนะ แม้เพราะอรรถว่ามีค่ามาก. จักรรัตนะไม่เหมือนกับรัตนะที่มีอยู่ในโลกอย่างอื่น ดังนั้นจึงชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าชั่งไม่ได้.
    ก็เพราะในกัปที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายไม่อุบัติ พระ<WBR>เจ้า<WBR>จักร<WBR>พรรดิและพระ<WBR>ปัจ<WBR>เจก<WBR>พุทธ<WBR>เจ้า<WBR>ย่อม<WBR>เกิดใน<WBR>กาล<WBR>บาง<WBR>ครั้ง<WBR>บาง<WBR>คราวเท่านั้น ฉะนั้น จึงชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าเห็นได้ยาก.
    รัตนะนี้นั้นย่อมเกิดขึ้นแก่สัตว์อันโอฬาร ไม่ต่ำ โดยชาติ รูป ตระกูลและความเป็นใหญ่เป็นต้น หาเกิดขึ้นแก่สัตว์อื่นไม่ ดังนั้น จึงชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องใช้สอยของสัตว์ที่ไม่ทราม.
    รัตนะแม้ที่เหลือก็เหมือนจักรรัตนะฉะนั้น ด้วยประการฉะนี้.
    เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า
    เรียกว่า รัตนะ เพราะทำความเคารพ
    มีค่ามาก ชั่งไม่ได้ เห็นได้ยาก เป็นของ
    ใช้ของสัตว์ผู้ไม่ทราม ดังนี้.

    บทว่า ปาตุภาโว โหติ ได้แก่ ความบังเกิด.
    ในข้อนี้มีวาจาประกอบความดังนี้ ข้อว่า พระเจ้าจักรพรรดิปรากฏ รัตนะ ๗ จึงปรากฏ ดังนี้ก็ควร. ข้อว่า ชื่อว่าพระเจ้าจักรพรรดินั้น ย่อมยังจักรอันเกิดแล้วให้หมุนไปดังนี้ก็ควร.
    ถามว่า เพราะเหตุไร.
    ตอบว่า เพราะมุ่งถึงความนิยมของพระเจ้าจักรพรรดิ.
    ก็ผู้ใดจักยังจักรให้หมุนไปตามความนิยม ผู้นั้นตั้งแต่ปฏิสนธิย่อมถึงความเป็นผู้ควรกล่าวว่า พระเจ้าจักรพรรดิปรากฏ ดังนี้. คำนั้นก็ควรเหมือนกัน เพราะพูดถึงความเกิดแห่งมูลของบุรุษที่ได้ชื่อแล้ว ก็ผู้ใดเป็นสัตว์วิเศษ ได้ชื่อว่าพระเจ้าจักรพรรดิ ความปรากฏกล่าวคือปฏิสนธิของผู้นั้นมีอยู่ดังนี้ เป็นอธิบายในข้อนี้. ก็เพราะพระเจ้าจักรพรรดิปรากฏ รัตนะทั้งหลายย่อมปรากฏ. พระเจ้าจักรพรรดินั้นย่อมประกอบอยู่ในบุญสมภารแก่เต็มที่พร้อมกับรัตนะเหล่านั้น ที่ปรากฏ.
    ในกาลนั้น ชาวโลกเกิดความคิดปรากฏในรัตนะเหล่านั้น. ข้อนั้นก็ควร เพราะพูดถึงกันมาก. ก็เมื่อใด สัญญามีความปรากฏในรัตนะเหล่านั้นเกิดขึ้นแก่ชาวโลก เมื่อนั้นก็เป็นอย่างเดียวเท่านั้นก่อน ภายหลังปรากฏรัตนะนอกนี้ ๖ อย่าง เพราะฉะนั้น จึงถึงรัตนะนั้นอย่างนี้ เพราะพูดถึงกันมาก แม้โดยความต่างเนื้อความแห่งความปรากฏ ข้อนั้นก็ควรแล้ว
    ความปรากฏมิใช่ปรากฏเพียงอย่างเดียว ชื่อว่าปาตุภาวะ เพราะยังความปรากฏให้เกิดขึ้น นี้เป็นประเภทแห่งความของความปรากฏ เพราะการสั่งสมบุญอันใด ยังพระเจ้าจักรพรรดิให้ปรากฏด้วยอำนาจปฏิสนธิ ชื่อว่าปาตุภาวะ นี้เป็นประเภทแห่งความของความปรากฏ เพราะการสั่งสมบุญใดยังพระเจ้าจักรพรรดิให้ปรากฏด้วยอำนาจปฏิสนธิ ฉะนั้น ความปรากฏแห่งพระเจ้าจักรพรรดิ ไม่เป็นจักรพรรดิอย่างเดียว แต่แม้รัตนะ ๗ เหล่านี้ก็ปรากฏด้วย เพราะฉะนั้น นี้เป็นอธิบายในข้อนี้.
    เหมือนอย่างว่า การสั่งสมบุญนั้นเป็นเหตุให้เกิดพระราชาฉันใด การสั่งสมบุญเป็นเหตุอุปนิสัย แม้แห่งรัตนะโดยปริยายฉันนั้น เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะความปรากฏแห่งพระเจ้าจักรพรรดิจึงเป็นความปรากฏแห่งรัตนะ ๗ ด้วยดังนี้.
    บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำเป็นต้นว่า กตเมสํ สตฺตนฺนํ จกฺกรตนสฺส ดังนี้ เพื่อทรงแสดงรัตนะเหล่านั้น โดยอำนาจสรุป.
    ในบทเหล่านั้น ในบทเป็นต้นว่า จกฺกรตนสฺส มีอธิบายโดยย่อดังนี้
    จักรแก้วสามารถเพื่อยึดสิริสมบัติของทวีปใหญ่ ๔ มีทวีปสองพันเป็นบริวารมาให้ปรากฏอยู่. ช้างแก้วไปสู่เวหาส อันสามารถติดตามไปสู่แผ่นดินมีสาครเป็นที่สุดมาให้ได้ก่อนภัตรอย่างนั้น ม้าแก้วก็เช่นนั้นเหมือนกัน. แก้วมณีอันสามารถกำจัดความมืดประมาณโยชน์ในที่มืด แม้ประกอบด้วยองค์สี่ มองเห็นแสงสว่างได้. นางแก้วมีปกติเว้นโทษ ๖ อย่างแล้วเที่ยวไปได้ตามชอบใจ. คฤหบดีแก้วอันสามารถเห็นขุมทรัพย์อยู่ภายในแผ่นดินในประเทศประมาณโยชน์. ปริณายกแก้วกล่าวคือบุตรคนหัวปี ผู้เกิดในท้องของอัครมเหสีแล้ว เป็นผู้สามารถปกครองสมบัติทั้งสิ้นได้ปรากฏอยู่ ดังนั้น
    นี้เป็นอธิบายย่อในข้อนี้.
    ส่วนวิธีปรากฏแห่งจักรแก้วเป็นต้นเหล่านั้นมาแล้วในสูตรมีมหาสุทัสสนะเป็นต้นโดยพิสดารแล แม้อธิบายวิธีปรากฏของจักรแก้วนั้น ท่านพรรณนาไว้ในอรรถกถาแห่งสูตรเหล่านั้นแล.
    ในบทว่า สติสมฺโพชฺฌงฺครตนสฺส เป็นต้น พึงทราบแม้ความที่มีลักษณะคล้ายกันอย่างนี้.
    จักรแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เที่ยวไปก่อนกว่ารัตนะทั้งปวงฉันใด สติสัมโพชฌังครัตนะเที่ยวไปก่อนกว่าธรรมที่เป็นไปในภูมิ ๔ ทั้งปวงฉันนั้น
    คือเปรียบด้วยจักรแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เพราะอรรถว่าเที่ยวไปก่อน.
    บรรดารัตนะทั้งหลาย ช้างแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ เกิดร่างใหญ่สูง ไพบูลย์ใหญ่ ธัมมวิจยสัมโพชฌังครัตนะเข้าถึงหมู่ธรรมเป็นอันมาก สูงแผ่ไป กว้างใหญ่ ดังนั้น จึงเปรียบด้วยช้างแก้ว.
    ม้าแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิมีฝีเท้าเร็ว วิริยสัมโพชฌังครัตนะแม้นี้มีกำลังฉับพลัน ดังนั้น จึงเปรียบด้วยม้าแก้ว เหตุมีกำลังฉับพลันนี้.
    แก้วมณีของพระเจ้าจักรพรรดิ กำจัดความมืดให้สว่างได้ ปีติสัม<WBR>โพช<WBR>ฌังค<WBR>รัตนะ<WBR>แม้นี้อยู่ในหมู่ธรรมเป็นอันมาก กำจัดความมืดคือกิเลสให้สว่างด้วยญาณ ด้วยอำนาจสหชาตปัจจัยเป็นต้น เพราะเป็นกุศลโดยส่วนเดียว ดังนั้น จึงเปรียบด้วยแก้วมณี เหตุกำจัดความมืดในสว่างนี้.
    นางแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ ระงับความกระวนกระวายทางกายและทางจิต ให้ความร้อนสงบ ปัสสัทธิสัมโพชฌังครัตนะแม้นี้ ระงับความกระวนกระวายทางกายและทางจิต ให้ความร้อนสงบ ดังนั้นจึงเปรียบด้วยนางแก้ว.
    คฤหบดีแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ กำหนดความฟุ้งซ่าน ทำให้จิตมีอารมณ์เดียวด้วยการให้ทรัพย์ ในขณะที่ตนปรารถนาแล้วและปรารถนาแล้ว สมาธิสัมโพชฌังครัตนะแม้นี้ ยังอัปปนาให้ถึงพร้อมด้วยอำนาจความที่ตนปรารถนาเป็นต้น ตัดขาดแล้วซึ่งความฟุ้งซ่าน ทำจิตให้มีอารมณ์เดียว ดังนั้น จึงเปรียบด้วยคฤหบดีแก้ว.
    ส่วนปริณายกแก้วของพระเจ้าจักรพรรดิ ทำความขวนขวายน้อยให้ ด้วยการทำกิจในที่ทั้งปวงให้สำเร็จ อุเบกขาสัมโพชฌังครัตนะแม้นี้ เปลื้องจิตตุปบาทจากความหดหู่และความฟุ้งซ่าน ทำความขวนขวายน้อย วางตนไว้ในท่ามกลางประกอบความเพียร ดังนั้น จึงเปรียบด้วยปริณายกแก้ว.
    พึงทราบว่า การกำหนดธรรมที่รวมไว้ทั้งหมดเป็น ๔ ภูมิ ได้กล่าวไว้ในสูตรนี้ด้วยประการฉะนี้.
    <CENTER>
    จบอรรถกถาจักกวัตติสูตรที่ ๒
    ----------------------------------------------------- </CENTER>
    .. อรรถกถา สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค โพชฌงคสังยุตต์ จักกวัตติวรรคที่ ๕ ๒. จักกวัตติสูตร จบ.
     
  4. เทพออระฤทธิ์

    เทพออระฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    4,573
    กระทู้เรื่องเด่น:
    4
    ค่าพลัง:
    +22,049
    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๓ - หน้าที่ 314​
    เมื่อนั้นย่อมไม่ประสบ คือไม่ได้ ความยินดียิ่งไปกว่า คือสูงสุดกว่า

    ความยินดีในวิปัสสนา และความยินดีในมรรคและผล. ด้วยเหตุ

    นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า :-​
    ในกาลใด ๆ ภิกษุพิจารณาความเกิดขึ้นและความ
    เสื่อมไป แห่งขันธ์ทั้งหลาย ในกาลนั้น ๆ เธอย่อมได้
    ปีติปราโมทย์ ข้อนั้นเป็นอมตะของบัณฑิตผู้รู้ทั้งหลาย

    โสดาปัตติผลประเสริฐกว่าความเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ผู้

    เป็นเอกราชในแผ่นดินกว่าการไปสวรรค์ และกว่าความเป็น

    ใหญ่ ในโลกทั้งปวง.



     
  5. เทพออระฤทธิ์

    เทพออระฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    4,573
    กระทู้เรื่องเด่น:
    4
    ค่าพลัง:
    +22,049
    ทอดกฐิน ได้บุญใหญ่หลวง เป็นได้ถึงพระเจ้าจักรพรรดิ

    หลวงพ่อปานทอดกฐิน



    จาก หนังสือ ประวัติหลวงพ่อปาน


    มาพูดกันถึงการปฏิบัติประจำอีกอย่างหนึ่ง หลวงพ่อปานนี่มีอุปนิสัยอย่างหนึ่งชอบทอดกฐินทุกปี เรื่องกฐินมี่ท่านทอดของท่านทุกปี ปีละหลายๆวัด ปีหนึ่งที่จังหวัดสุพรรณบุรี รู้สึกว่าข้าวยากหมากแพง ชาวบ้านต้องกินขุยไผ่ ในเขตอำเภอเดิมบางนางบวชโน่น เลยจังหวัดสุพรรณขึ้นไปมาก ตอนนั้นไม่ได้ข้าวไม่ได้ปลา ต้องไปขุดขุยไผ่กิน หลวงพ่อปานก็ไปทอดกฐิน ๗-๘ วัด แต่การทอดกฐินคราวนั้น ท่านประกาศกับบรรดาพุทธบริษัทของท่านว่า จะต้องการเอาอาหารไปช่วยเขา เขาอดข้าวอดอาหาร นี่ ท่านเป็นนักสังคมสงเคราะห์ แต่ไม่มีใครเขาช่วยท่านหรอก รัฐบาลไม่ได้ร่วมมือ แต่ว่าชาวบ้านช่วยท่านไปคราวนั้น ปรากฏว่านำข้าวเปลือกบ้าง ข้าวสารบ้างไป ๗ ลำเรือ เรือลำหนึ่งจุประมาณ ๑๐ เกวียนบ้าง จุประมาณ ๒๐ เกวียนบ้าง เอาไป ๗ ลำ ที่ท่านได้มายังงั้นเพราะอะไร เพราะใครมาหาท่านก็บอกท่านจะไปทอดกฐิน แล้วว่าการทอดกฐินคราวนี้ต้องเอาข้าวเอาอาหารไปสงเคราะห์คนที่อดข้าว คนนั้นก็ให้ คนนี้ก็ให้ บางคนก็ให้เงิน บางคนก็ให้ข้าว บางคนก็ให้กับ พวกกรุงเทพฯ ก็ให้ทั้งเงินให้ทั้งของทะเล ผ้าผ่อนท่อนสไบ พวกจังหวัดสมุทรสาคร โยมพ่วง อยู่ที่นั่นก็เอาของทะเลมาเป็นลำๆเรือ น้ำปลาอย่างดี ของทะเลต่างๆ แล้วก็เงินทองด้วย ผลที่สุดนำไป ๗ ลำเรือ แจกกันขนาดหนัก บรรดาประชาชนสาธุไปทั่วกัน ว่ากันถึงเรื่องการทอดกฐิน จะพูดถึงอานิสงส์กฐินให้ฟัง หลวงพ่อปานทอดกฐินคราวไรละก็ท่านก็เทศน์แบบนี้ เทศน์แบบนี้ฉันจะนำใจความมาเล่าให้ฟังว่า การทอดกฐิน อานิสงส์ของกฐินนี่น่ะให้ผลทั้งชาติปัจจุบันและสัมปรายภพ ชาติปัจจุบันและสัมปรายภพหมายความว่าชาตินี้และชาติหน้า ชาติต่อๆไป คนทอดกฐินสังเกตตัวดู ถ้าทอดแล้วถึง ๒-๓ ครั้ง ความเป็นอยู่จะคล่องตัวขึ้น ถึงแม้ว่าจะไม่ร่ำรวยก็ตาม แต่ความเป็นอยู่จะคล่องตัวขึ้น รู้สึกว่าเป็นคนโชคดีมากขึ้น หาลาภสักการคล่องตัวขึ้น ท่านบอกว่านี่ยังเป็นเศษของความดี อานิสงส์ของการทอดกฐินสามารถจะบันดาลให้คนปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าก็สำเร็จผล ดูตัวอย่างองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าองค์ปัจจุบัน สมัยนั้นเป็นมหาทุกขตะ สมัยที่พระปทุมมุตตะทรงอุบัติขึ้นในโลก แกไม่มีอะไร เป็นคนจน ไปชวนนายเขาทอดกฐิน ตัวเองก็เอาผ้าไปขายแลกกับด้ายหลอดเขามาด้วย ด้าย ๒ หลอด เข็ม ๑ เล่ม เอามาผสมกับกฐินเขา แล้วก็ปรารถนาพระโพธิญาณ พระปทุมมุตตะก็ทรงพยากรณ์ว่า บุคคลๆ นี้ต่อไปจะได้ตรัสรู้เป็นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่าพระสมณโคดม นี่เป็นสมุฏฐานของการปรารถนาพระโพธิญาณของท่าน มีกฐินเป็นปัจจัย แล้วหลวงพ่อก็เทศน์ต่อไปว่า บุคคลใดก็ตามทอดกฐินแล้วถวายผ้าไตรจีวรไว้ในพระพุทธศาสนา ต่อไปถ้าหากว่าไปได้บรรลุพระอรหัตผล ก็จะมีผ้าสำเร็จไปด้วยฤทธิ์มาสวมตัว พระพุทธเจ้าทรงเรียกว่าเอหิภิกขุ แปลว่าเจ้าจงเป็นภิกษุมาเถิด เพียงเท่านี้ผ้าไตรจีวรก็จะลอยมาจากอากาศ สวมตัวเองด้วยอำนาจของอานิสงส์กฐิน สำหรับผู้หญิง ถ้าเป็นเจ้าภาพหรือจัดการในงานกฐิน ก็จะได้เครื่องมหาลดาปราสาท เครื่องประดับกายอย่างนางวิสาขา มีราคาตั้ง ๑๖ โกฏิ สวยงามมาก นี่อย่างหนึ่ง แล้วอีกอย่างหนึ่งคนที่ทอดกฐินแล้ว ถ้าตายจากความเป็นมนุษย์ จะเกิดเป็นเทวดา ๕๐๐ ชาติ หมายความว่า เกิดแล้ว ๑ ชาติของเทวดาก็คือพันปีทิพย์ หมดกำลังของพันปีทิพย์ก็จะเกิดเป็นเทวดาใหม่ ต่อไปอย่างนี้ ๕๐๐ วาระ ความจริงก็ได้เปรียบมาก ถ้าอย่างลูกหลานได้เป็นอย่างนั้นนะไปนิพพานกันหมด เพราะพวกเรามีศรัทธาอยู่แล้ว เป็นเทวดาก็เป็นเทวดาที่ไม่ประมาท ยังงี้ไปนิพพานกันหมด ดี ได้กำไร ๕๐๐ ชาติ เมื่อพ้นจากความเป็นเทวดาแล้วก็มาเกิดเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ถ้าเป็นผู้ชายนะ ถ้าเป็นผู้หญิงก็เป็นคู่บารมีของพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐๐ ชาติ พระเจ้าจักรพรรดินี่ไม่ใช่พระเจ้าจักรพรรดิอย่างเบาได๋นะ จักรพรรดิส่งเดชอย่างนั้นไม่ใช่ คำว่าจักรพรรดินี่มีอำนาจปกครองไปทั้งโลก มีเกือกแก้ว แล้วก็มีพระขรรค์แก้ว แล้วก็มีแก้วมณีโชติ มีกำลังมาก เหาะได้ ไม่มีใครมีอำนาจเท่า แล้วก็มีธนูศิลป์ศร จะใช้ยังไงก็ได้เหมือนศรพระราม มีอำนาจปกครองโลก ปกครองโลกได้จริงๆ ไม่มีใครสู้ ถ้าเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ก็มีขุนพลแก้วรบเก่ง ขุนคลังแก้วหาเงินเข้าคลังเก่ง ช้างแก้ว ม้าแก้ว นี่ใช้สงรามได้ดี นางแก้วคือเมียดี เวลาฤดูหนาวร่างกายของเมียก็อบอุ่นมากขึ้น แล้วเวลาฤดูร้อนร่างกายของเมียก็เย็น ทำความสุขให้แก่พระเจ้าจักรพรรดิ นี่ เป็นยังงี้ นี่ท่านว่ายังงั้น ถ้าพ้นจากสวรรค์ก็มาเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐๐ ชาติ แล้วพ้นจากนั้นก็เป็นกษัตริย์ธรรมดาไป ๕๐๐ ชาติ จากนั้นก็มาเป็นมหาเศรษฐี ๕๐๐ ชาติ แล้วก็เป็นคหบดี ๕๐๐ ชาติ นี่ท่านบอกว่าอานิสงส์ของกฐินคราวเดียวก็สามารถให้ผลถึงเพียงนี้ ทุกคนควรจะทอดกฐินกัน แล้วเวลาทอดกฐินก็นึกว่าตนจะสงเคราะห์พระพุทธศาสนา หรือสงเคราะห์พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนานั่นเอง แต่ว่าเนื้อนาบุญนี่สำคัญนะ เวลาจะหว่านข้าวลงไปดูเนื้อนาเสียด้วย นี่พระพุทธเจ้าตรัสไว้เอง เนื้อนาบุญนี่สำคัญ ถ้านาดอนหว่านข้าวไม่ขึ้น ม้านหมด ถ้านาลุ่มข้าวก็น้ำท่วม นี่สำคัญมาก (แล้วว่ากันไปก็แล้วกัน) ใครจะทำที่ไหนจะทอดที่ไหนก็ไม่ว่า นี่แนะนำให้ฟัง หลวงพ่อปานท่านเทศน์อย่างนี้

    ฉันจะเล่าเรื่องย่อๆ เบ็ดเตล็ดอีกสักเรื่องหนึ่ง คือเรื่องธรณีสูบคน เขาร่ำลือกันว่าวัดของหลวงพ่อปาน วัดบางนมโคน่ะ มีคนถูกธรณีสูบ ๔-๕ คน เพราะสมัยนั้นการสัญจรการจราจรก็ไม่มาก มีเรือเขียว ๑ ลำ เรือแดง ๑ ลำ ล่องตอนเช้า แล้วก็ตอนเย็นๆ มีเรือเขียว ๑ ลำ เรือแดง ๑ ลำจากกรุงเทพฯ ผ่านหน้าวัด มีเท่านั้นนะ การจราจรมีไม่มาก คนที่เขาลงเรือเมล์มาเขาเห็นคนที่วัดบางนมโคจมดินลงไป จมดินลงไปถึงแค่คอหลายคน ๔-๕ คน แล้วพวกที่นั่งเรือนั่งแพ เรือแจวเรือพายก็ตาม ใครไปก็เห็นใครมาก็เห็น ข่าวเล่าลือกันไปว่าที่วัดของหลวงพ่อปานคนถูกธรณีสูบ ๔-๕ คนข่าวนี้มันก็ไปไว ปากคนเสียงคนนี่มีความสำคัญมาก ไม่ช้าคนเต็มวัดเต็มวา เรือแพหน้าวัดคนเต็มไปหมด ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะทุกคนเขาก็สนใจกัน สนใจเรื่องธรณีสูบ เมื่อขึ้นไปแล้วเขาก็ไปถามหลวงพ่อ ๆ ขอรับ คน ๔-๕ คนน่ะบาปอะไรธรณีถึงได้สูบ หลวงพ่อท่านก็ยิ้ม ท่านบอกว่าใครเขาบอกพวกเอ็งล่ะ ใครเขาบอกพวกเอ็งว่าธรณีสูบ คนพวกนี้น่ะมันเป็นโรคเหน็บชา คือขามันชา ข้าให้เอาใบขี้เหล็กกับอะไรบ้างก็ไม่ทราบ แล้วเผาเหล็กให้แดงเอาไปวางไว้ข้างล่างขุดหลุมแล้วเอาใบขี้เหล็กทับลงไป แล้วให้มันหย่อนขาลงไปเหยียบ เอาตูดนั่งบนแผ่นดิน แล้วก็เอาขาแหย่ลงไปถึงก้นหลุม แต่ไอ้เจ้าของไข้ของมัน อยากให้คนไข้น่ะมันหายเร็วเข้า มันก็ดันขุดหลุมเสียแค่คอเลย พอขุดหลุมเสร็จมันก็ทำพิธีกรรมตามข้าว่านั่น ทำตามนั้น แล้วเอาคนของมันลงไปยืนในหลุม นี่ข้าสั่งมันพักแล้วนะ มันก็บังคับคนไข้ของข้ายืนกันคนละครึ่งวันค่อนวัน นี่มันไม่ใช่ธรณีสูบนะ ข้าสั่งให้เขารับการรักษาโรคเหน็บชา นี่เรื่องธรณีสูบน่ะไม่มีอะไรมากหรอก มีเท่านั้น แต่ว่าคนที่จะต้องรับผลอันนี้มากคือใคร ก็คือหลวงพ่อปาน ในเมื่อชาวบ้านชาวเมืองมากันเต็มวัดเต็มวา งานประจำปีก็ยังสู้ไม่ได้ มากันหลายวัน หลวงพ่อปานก็เกณฑ์สิ หาคนไม่ทันก็พระนั่นแหละ ตั้งกระทะเป็นแถว เอากระทะหุงข้าวตั้งเป็นแถวเลี้ยงชาวบ้าน แต่อาหารประจำของท่านต้องมี พอท่านสั่งเลี้ยง ฉันก็ต้องรีบไปหาหัวตาลมากับผักบุ้ง ต้มปลาร้าหัวตาลกับแกงคั่วส้มผักบุ้ง ต้องมีทุกรายการที่หลวงพ่อปานมีงาน ฉันรู้ใจท่าน ฉันไปหามากัน แล้วก็ขนม ๒ อย่าง คือ ข้าวตอกน้ำกะทิ แมงลักละลายน้ำ ๒ อย่างนี้เป็นขนมประจำ เป็นอันว่ารายจ่ายของหลวงพ่อปานไม่รู้ว่าเท่าไหร่ แต่น่าอัศจรรย์นะ คนถูกธรณีสูบเพราะอาศัยการรักษาโรค เป็นปัจจัยที่ทำให้หลวงพ่อปานได้สตางค์คราวนั้นหมื่นบาทกว่า หมื่นบาทกว่าเชียวนะ พอได้ทุนหมื่นบาทกว่า ทั้งๆที่ท่านไม่ได้ประกาศเรี่ยไรอะไรทั้งหมด ท่านก็เลยตั้งท่าตั้งทุนเอาสร้างโบสถ์สร้างศาลา เรื่องการเก็บไม่ต้องพูดกัน การเก็บสะสมไม่ต้องพูดกัน เอาละ บรรดาลูกหลานทั้งหลาย เรื่องข่าวลือไม่มีสาระ แต่ว่าคนที่อาศัยข่าวลือให้เป็นประโยชน์ คือทำที่ไม่เป็นสาระให้เป็นสาระก็สามารถทำได้ นั่นก็ได้แก่ข่าวลือ คนเขามาแล้วหลวงพ่อปานท่านก็เลี้ยงด้วยอำนาจเมตตาบารมีนี่คนเมื่อมีความใจดี หลวงพ่อปานเลี้ยงจนอิ่มก็บังเกิดจิตเป็นกุศล เอาสตางค์มาทำบุญกับท่าน ในที่สุดท่านได้สตางค์หมื่นกว่าบาท ก็เอาเงินนั้นไปสร้างโบสถ์สร้างศาลาที่วัดอื่น ไม่ใช่วัดบางนมโค ก็ปรากฏว่าคนธรณีสูบมีอานิสงส์ คือสามารถสร้างโบสถ์สร้างวิหารได้ ขอหยุดเท่านี้นะ ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคลสมบูรณ์พูนผลจงมีแก่ลูกหลาน สวัสดี

    ที่มา

    http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4#.E0.B8.84.E0.B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B8.9E.E0.B8.B4.E0.B9.80.E0.B8.A8.E0.B8.A9.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.80.E0.B8.88.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.88.E0.B8.B1.E0.B8.81.E0.B8.A3.E0.B8.9E.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.94.E0.B8.B4


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กรกฎาคม 2010
  6. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,468
  7. Sriaraya5

    Sriaraya5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    3,079
    ค่าพลัง:
    +12,852
    เพราะจิตดึงเอาจักรแก้วมาสู่สำนักของท่าน
     
  8. มุ่งเต็มใจ

    มุ่งเต็มใจ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    7,755
    ค่าพลัง:
    +23,468
    [​IMG]


    พอดีวันนี้มีน้องท่านหนึ่งเมล์มาขอเชิญ ส่งบุญช่วยประเทศชาติร่วมกับคณะของเขา โดยให้เขียนรำลึกถึงบุญกุศลบารมีที่เคยทำ(เท่าที่นึกได้ตอนนี้ครับ) ผมเลยถือ โอกาสนำมาบันทึก บอกบุญเชิญร่วมอนุโมทนาไว้ในที่นี้ด้วยครับ

    บุญกุศลบารมีที่บำเพ็ญถวายเป็นรัตนตรัยบูชาชาติศาสนาพระมหากษัตริย์
    บำเพ็ญบุญกุศลบารมีปรารถนาพุทธภูมิมาตั้งแต่ปีประมาณ2528ถึงปัจจุบัน(ไม่นับตอนเด็กๆและชาติก่อนๆ)

    ปฏิบัติอบรมกรรมฐานที่หลักสูตรอบรมกรรมฐานที่พุทธมณฑลเป็นประจำหลายปี
    (พุทโธ สัมมาอะระหัง ยุบหนอพองหนอ สติปัฏฐาน4 โพชฌงค์ คิรีมานนทสูตร พระโพธิปักขิยธรรม บารมี30ทัศน์พระพุทธการกธรรม ฯลฯ)

    ร่วมไถ่ชีวิตโคกระบือโครงการธนาคารโคกระบือในพระราชดำริ ร่วมกับมูลนิธิศิษย์เก่าวัดปากน้ำ เกือบ3หมื่นตัวแล้ว(ดำเนินการในโครงการนี้เองไม่ต่ำกว่า100ตัว)

    ดำเนินการสร้่างพระประธานขนาดใหญ่ไม่ต่ำกว่า14องค์ครอบคลุมประเทศคุ้มครอง ชาติศาสน์กษัตริย์ พระแก้วมรกต(ไม่ต่ำกว่า4) พระพุทธสิหิงค์(ไม่ต่ำกว่า2) พระพุทธชินสีห์ พระพุทธโสธร(ไม่ต่ำกว่า4) พระพุทธศิลานาคปรก พระกริ่งแม่สอนลูก(ไม่ต่ำกว่า2) พระชัยพ่อสอนลูก

    ร่วมสร้างพระพุทธรูปประธานประมาณไม่ต่ำกว่า300องค์(น่าจะมากกว่านั้น)

    สร้างพระพุทธรูปมาไม่ต่ำกว่าล้านองค์

    ถวายหนังสือธรรมะ บทเจริญพระพุทธมนตร์ แจกจ่ายบทความธรรมะต่างๆ นับประมาณไม่ได้

    ร่วมตักบาตรถวายสังฆทานหรือทำบุญพระกรรมฐานหมู่ มาหลายปีไม่ต่ำกว่า100ครั้ง

    เป็นประธานดำเนินการชักนำผู้คนตักบาตรถวายสังฆทานรักษาศีลเจริญภาวนาและวิปัสสนากรรมฐานมาไม่ต่ำกว่า3ปี ไม่น่าต่ำกว่า60ครั้ง

    เป็นประธานและทอดถวายผ้ากฐินเองมาไม่ต่ำกว่า 10ครั้ง (ประมาณตั้งแต่ปี2545-ปัจจุบัน)

    เป็นประธานกองกฐินและผ้าป่ามาไม่ต่ำกว่า30กอง

    ร่วมงานกฐินผ้าป่ามาไม่ต่ำกว่าแสนกอง(รวมถึงทานสร้างอุโบสถเจดีย์วิหารกำแพง หอไตรพระไตรปิฎกเสาร์ไฟฟ้ากองทุนอาหารการศึกษาพาหนะปัจจัย4ที่ดินพระพุทธรูป เจดีย์ ฯลฯ)

    ร่วมเป็นเจ้าภาพลูกนิมิตและเป็นเจ้าภาพช่อฟ้ารองที่วัดปากเหมืองเชียงใหม่

    เคยเป็นผู้แทนพระองค์ทอดกฐินพระราชทาน ณ วัดพระบรมธาตุ กำแพงเพชร (แหล่งกำเนิดพระเครื่องตระกูลเบญจภาคีจำนวนมาก)

    นั่งกรรมฐานรำลึกถึงพระพุทธการกธรรมบารมี30ทัศน์นับจำนวนครั้งไม่ได้

    บวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนามาไม่ต่ำกว่า3ครั้งในชาตินี้

    ได้ขึ้นแสดงพระธรรมเทศนา ไม่ต่ำกว่า5ครั้ง น่าจะมากกว่านั้นจำไม่ได้ครั้งหนึ่งในนั้นเป็นการเทศน์2ธรรมาสน์ (ปี2539และปี2550)

    ได้เป็นรองประธานรุ่นบริหารจัดการพระภิกษุนวกะบวชใหม่เพื่ออุทิศถวายพระราชกุศล เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนม์80พรรษาปี2550 ณวัดปากน้ำภาษีเจริญพระอารามหลวง

    ได้รับนิมนต์ขึ้นปรกกรรมฐาน(เดี่ยวและหมู่โดยไม่รู้ตัว)ในพิธีพุทธาภิเษก ใหญ่ที่พระอารามหลวงแห่งหนึ่งทั้งที่เป็นพระภิกษุบวชใหม่3เดือนปี2550

    เป็นประธานดำเนินการจัดสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุและจัดนิทรรศการพระบรมสารีริกธาตุ ที่ทีโอทีเป็นครั้งแรก

    ได้สร้างเจดีย์และอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุไปทั่วประเทศจำจำนวนไม่ได้

    เป็นประธานดำเนินการจัดพิธีอัญเชิญพระไตรปิฎกสยามเฉลิมพระเกียรติร.5ที่ทีโอทีเป็นครั้งแรก

    เป็นประธานดำเนินการจัดผ้่าป่าช่วยชาติหลวงตามหาบัว1ครั้งครั้งที่1ทีโอทีเป็นครั้งแรก

    เป็นประธานตัดลูกนิมิตเป็นเจ้าภาพลูกนิมิตเอกวัดกันทรารมย์ ศรีสะเกษ

    ชักชวนเป็นเจ้าภาพลูกนิมิตเอกวัดเกาะแก้วธุดงคสถาน บุรีรัมย์

    เป็นประธานเจ้าภาพจัดงานพิธีพุทธาภิเษกไม่ต่ำกว่า1งาน

    เป็นประธานดำเนินการออกนิทรรศการงานส่งเสริมพระพุทธศาสนาวันวิสาขบูชามณฑลพิธีท้องสนามหลวงไม่ต่ำกว่า3ครั้ง

    นั่งกรรมฐานแผ่เมตตาและอุทิศบุญกุศลให้แก่ชาติศาสนาพระมหากษัตริย์โลกจักรวาล สรรพชีวิต นับจำนวนไม่ได้

    ร่วมอนุโมทนาให้ธรรมทานฟังธรรมถามตอบตั้งกระทู้ในเวบไซต์ด้านพระพุทธศาสนามาประมาณ3ปีจำนวนมาก

    เป็นประธานดำเนินการสร้างพระไตรปิฎกประดิษฐานตามวัดและสถานที่ต่างๆ ไม่ต่ำกว่า4ครั้ง วัดเพลงกลางสวนกทม. ประเทศลาว หอพระนวกะวัดปากน้ำภาษีเจริญ ชมรมพุทธทีโอที (น่าจะมีอีกแต่จำสถานที่ไม่ได้ครับ)

    อื่นๆอีกมากมาย ฯลฯ

    ขอเิชิญอนุโมทนาร่วมกันครับ ตัวเลขเป็นตัวเลขที่นานมาแล้วจำจำนวนที่แน่ชัดไม่ได้จึงเป็นตัวเลขโดยประมาณ ครับ ผิดพลาดไปขออภัยขมาด้วยครับ

    <!--emo&:09:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:09:-->[​IMG]<!--endemo--> <!--emo&:09:-->[​IMG]

    [​IMG]<!--endemo-->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 พฤษภาคม 2009
  9. Guide_Raito

    Guide_Raito เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    892
    ค่าพลัง:
    +2,990
    กระผม ปรารถนาเป็น พระเจ้ามหาจักรพรรดิครับ ในอนาคตกาลข้างหน้านี้ครับ อิอิ

    สงสัย เป็นหลัง คุณ teporririt หรือ ปล่าว ? อิอิ
     
  10. roop&nam

    roop&nam เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    60
    ค่าพลัง:
    +215
    สาธุอนุโมทนาบุญทุกประการ ขอความปราถนาของท่านจงสำเร็จดังใจหวังครับ
     
  11. Sriaraya5

    Sriaraya5 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    3,079
    ค่าพลัง:
    +12,852
    จักรวรรดิวัตร 12 คือ ธรรม อันเป็นพระราชจริยานุวัตร สำหรับพระมหาจักรพรรดิ และพระราชาเอกในโลก ทั้งนี้ โดยพระมหากษัตริย์ ผู้ปกครองประชาชน ทรงถือ และอาศัยธรรมข้อนี้เป็นธงชัย ร่วมกันกับ ทศพิธราชธรรม และราชสังคหะ 4 สำหรับ การดำเนินกุศโลบายและวิเทโศบาย จักรวรรดิวัตร มี 12 ประการคือ
    1. อนฺโตชนสฺมึ พลกายสฺมึ ควรอนุเคราะห์คนในราชสำนัก และคนภายนอก ให้มีความสุข ไม่ปล่อยปละละเลย
    2. ขตฺติเยสุ ควรผูกไมตรีกับประเทศอื่น
    3. อนุยนฺเตสุ ควรอนุเคราะห์พระราชวงศานุวงศ์
    4. พฺราหฺมณคหปติเกสุ ควรเกื้อกูลพราหมณ์ คหบดี และคฤหบดีชน คือเกื้อกูลพราหมณ์และผู้ที่อยู่ในเมือง
    5. เนคมชานปเทสุ ควรอนุเคราะห์ประชาชนในชนบท
    6. สมณพฺราหฺมเณสุ ควรอนุเคราะห์สมณพราหมณ์ผู้มีศีล
    7. มิคปกฺขีสุ ควรจักรักษาฝูงเนื้อ นก และสัตว์ทั้งหลายมิให้สูญพันธุ์
    8. อธมฺมการปฏิกฺเขโป ควรห้ามชนทั้งหลายมิให้ประพฤติผิดธรรม และชักนำด้วยตัวอย่างให้อยู่ในกุศลสุจริต
    9. อธนานํ ธนานุปฺปทานํ ควรเลี้ยงดูคนจน เพื่อมิให้ประกอบการทุจริต กุศลและอกุศลต่อสังคม
    10. สมณพฺราหฺมเณอุปสงฺกมิตฺวา ปญฺหาปุจฺฉนํ ควรเข้าใกล้สมณพราหมณ์ เพื่อศึกษาบุญและบาป กุศล และอกุศลให้แจ้งชัด
    11. อธมฺมราคสฺส ปหานํ ควรห้ามจิตมิให้ต้องการไปในที่ที่พระมหากษัตริย์ไม่ควรเสด็จ
    12. วิสมโลภสฺส ปหานํ ควรระงับความโลภมิให้ปรารถนาในลาภที่พระมหากษัตริย์มิควรจะได้
     
  12. tleelapo

    tleelapo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    1,176
    ค่าพลัง:
    +2,552
    ขออนุโมทนาบุญที่ท่านทำในพระพุทธศาสนสในชาตินี้ด้วยครับครับ

    ขออนุโมทนาบุญที่ท่านทำในพระพุทธศาสนสในชาตินี้ด้วยครับครับ
     
  13. tleelapo

    tleelapo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    1,176
    ค่าพลัง:
    +2,552
    พอดีวันนี้มีน้องท่านหนึ่งเมล์มาขอเชิญ ส่งบุญช่วยประเทศชาติร่วมกับคณะของเขา โดยให้เขียนรำลึกถึงบุญกุศลบารมีที่เคยทำ(เท่าที่นึกได้ตอนนี้ครับ) ผมเลยถือ โอกาสนำมาบันทึก บอกบุญเชิญร่วมอนุโมทนาไว้ในที่นี้ด้วยครับ
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 12"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 12"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CUsers%5CKen%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="themeData" href="file:///C:%5CUsers%5CKen%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CUsers%5CKen%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi; mso-ansi-language:EN-AU; mso-bidi-language:AR-SA;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-bidi-font-size:11.0pt; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi; mso-ansi-language:EN-AU; mso-bidi-language:AR-SA;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; margin-bottom:10.0pt; line-height:115%;} @page WordSection1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.WordSection1 {page:WordSection1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]ขออนุโมทนาครับ[/FONT]<o:p></o:p>

    [FONT=&quot][/FONT]<o:p></o:p>
     
  14. KK1234

    KK1234 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    2,401
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +10,515
    อนุโมทนาสาธุทุกบุญกุศลบารมี อดีต ปัจจุบัน อนาคต ทั้งหมดทั้งปวงครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...