โครงการสร้างพระปางป่าเลไลย์ ลานปฏิบัติธรรมหน้ากุฏิหลวงปู่เยี่ยม วัดประดู่ทรงธรรม

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย pkomsan, 30 มีนาคม 2009.

  1. pkomsan

    pkomsan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    6,206
    ค่าพลัง:
    +21,300
    วัดประดู่ทรงธรรม<O:p</O:p
    วัดประดู่ทรงธรรม ถือได้ว่าเป็นตักศิลาของเมืองอโยธยา มีพระเกจิที่มีชื่อเสียงมากมาย ก่อกำเนิดจากตำนานของตักศิลาที่นี่ เช่น หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ หลวงปู่สี วัดสะแก หลวงปู่ดู่ วัดสะแก หลวงปู่ชื้น วัดญาณเสน หลวงปู่เทียม วัดกษัตราฯ เป็นต้น<O:p</O:p
    วัดประดู่ทรงธรรมสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพระนครศรีอยุธยาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะเมือง บริเวณกลุ่มวัดในเขตอโยธยา<O:p</O:p
    วัดประดู่ทรงธรรมถูกกล่าวถึงในพระราชพงศาวดาร ในคราวที่พระภิกษุสงฆ์ของวัดประดู่แปดรูปได้ช่วยเหลือพระเจ้าทรงธรรม กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาหลบหนีจากการก่อกบฏของพวกญี่ปุ่นที่หมายปลงพระชนม์ชีพ นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงในคราวที่พระเจ้าอยู่หัวอุทุมพร หรือที่เรียกกันว่า "ขุนหลวงหาวัด" ทรงผนวชและพำนักที่วัดประดู่ทรงธรรมนี้เป็นวันสุดท้าย ก่อนถูกกวาดต้อนไปอังวะภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาในปี พ.ศ. ๒๓๑๐<O:p</O:p
    สถานที่สำคัญภายในวัด คือ พระอุโบสถสมัยกรุงศรีอยุธยาที่มีการบูรณะใหม่ในราวสมัยรัชกาลที่ ๔ มีจิตรกรรมฝาผนังเล่าเรื่องราวทศชาติชาดกพุทธประวัติภาพขบวนเสด็จทางสถลมารควิถีชีวิตและการละเล่นของคนไทยในสมัยก่อน<O:p</O:p
    วัดประดู่ทรงธรรมเป็นแหล่งศิลปศาสตร์พุทธศาสตร์หลายแขนง โดยเฉพาะมนต์คาถา การตีเหล็กของหลวงพ่อเลื่องและหลวงพ่อรอด(เสือ)พระเถระเจ้าอาวาสในสมัยก่อน นอกจากนี้ภายในวัดประดู่ฯ ยังมีพันธุ์ไม้โบราณขนาดใหญ่นานาชนิดขึ้นอยู่รอบวัดพาให้ร่มรื่นแก่ผู้มาเยือน<O:p</O:p
    ในแผนที่อยุธยาฉบับพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) ได้กล่าวถึงบริเวณที่ตั้งวัดประดู่ทรงธรรมว่าเดิมมีวัดประดู่วัดหนึ่งและวัดโรงธรรมอีกวัดหนึ่ง ชื่อและความหมายของวัดประดู่น่าจะมีสาเหตุมาจากที่ตั้งของวัดซึ่งมีไม้ประดู่ขึ้นอยู่จำนวนมาก คงจะไม่ได้หมายความถึงการนำเอาชื่อเจ้าชายประดู่ หรือเจ้าฟ้าอุทุมพร มาตั้งเป็นชื่อวัด น่าที่จะนำชื่อวัดไปตั้งเป็นชื่อเจ้าชายมากกว่า จดหมายเหตุชาวต่างประเทศ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 00438_124.jpg
      00438_124.jpg
      ขนาดไฟล์:
      48 KB
      เปิดดู:
      462
    • 00438_116.jpg
      00438_116.jpg
      ขนาดไฟล์:
      97.2 KB
      เปิดดู:
      186
    • 00438_107.jpg
      00438_107.jpg
      ขนาดไฟล์:
      103.3 KB
      เปิดดู:
      155
    • 00438_106.jpg
      00438_106.jpg
      ขนาดไฟล์:
      104.8 KB
      เปิดดู:
      151
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 มีนาคม 2009
  2. pkomsan

    pkomsan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    6,206
    ค่าพลัง:
    +21,300
    พระพุทธรูปปางป่าเลไลย์<O:p</O:p
    พระพุทธรูปปางป่าเลไลย์ หรือ ปางปาลิเลไลย์ เป็นพระพุทธรูปในอิริยาบถประทับนั่งบัลลังก์ หย่อนพระบาททั้งสองทอดลงมาเหยียบบนพื้น พระพาหา(แขน)ทั้งสองวางบนพระเพลา(เข่า) หงายพระหัตถ์ขวา เป็นกิริยารับหม้อน้ำจากพญาช้างปาลิไลยกะ ซึ่งเป็นช้างอยู่ในป่า หลีกหนีจากโขลง มาคอยปรนนิบัติพระพุทธองค์ พระหัตถ์ซ้ายคว่ำลง แสดงกิริยาไม่รับรวงผึ้งจากลิง เนื่องจากรวงผึ้งมีแมลงผึ้งอยู่ ลิงต้องกลับไปเอาแมลงผึ้งและตัวลูกอ่อนออกหมดก่อน แล้วนำไปถวายใหม่ พระองค์จึงทรงรับประเคน<O:p</O:p
    พระปางนี้ มีเรื่องราวประวัติความเป็นมาว่า สมัยหนึ่ง พระพุทธองค์ประทับอยู่ที่เมืองโกสัมพี พระภิกษูชาวเมืองโกสัมพีสองพวก คือกลุ่มพระธรรมกถึก ที่เคร่งครัดในธรรมตามพระสูตร และกลุ่มพระวินัยธร ผู้ยึดถือเอาพระวินัยเป็นหลักในการประพฤติ เกิดการทะเลาะเบาะแว้งกันในเรื่องอาบัติเล็กๆน้อยๆ แม้พระพุทธองค์ทรงตรัสห้ามถึงสามวาระ ก็ไม่มีพระภิกษุรูปไหนยอมเชื่อฟัง เพื่อจะกำราบ จึงเสด็จหลีกไปจำพรรษาในป่ารักขิตวัน ใกล้หมู่บ้านปาลิไลยกะและในป่านั้นเอง มีพญาช้างสารเชือกหนึ่งซึ่งเป็นช้างฉลาด รู้ภาษามนุษย์ มีบริวารมาก บรรดาช้างพังต่างคอยเบียดเสียดแย่งอาหาร เวลาจะดื่มน้ำ ก็ได้ดื่มแต่น้ำขุ่นๆ จึงเกิดความเบื่อหน่ายในโขลง หลีกหนีไปอยู่ในราวป่า และไปเจอพระพุทธองค์ ได้เข้าไปงอเข่าถวายบังคม และคอยปรนนิบัติรับใช้ทุกอย่าง ยากที่บุคคลสามัญจะทำได้ เช่น กระทืบควงไม้สาละใหญ่ ถากให้เรียบ ใช้งวงกวาดพื้นให้เรียบ และใช้งวงตักหม้อน้ำฉัน หม้อน้ำใช้ ไปตั้งไว้ ถ้าพระองค์ประสงค์น้ำร้อนก็จัดถวาย โดยการสีไม้แห้งให้เกิดไฟ แล้วใส่ฟืนให้ไฟลุกขึ้น เผาก้อนหินในกองไฟ แล้วทิ้งก้อนหินลงในบ่อน้ำเล็กๆ ที่เตรียมไว้ แล้วหย่อนงวงลงไป พอรู้ว่าน้ำร้อนแล้ว จึงไปเฝ้าพระพุทธองค์ พระองค์ทรงทราบด้วยกิริยาอาการเช่นนั้น ก็เสด็จไปสรงน้ำในที่นั้น เวลาเช้า จะใช้งวงจับท่อนไม้ รับบาตรจีวร ตามเสด็จจนถึงเข้าเขตหมู่บ้าน
    fly_pig<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 00438_3.bmp
      ขนาดไฟล์:
      130.3 KB
      เปิดดู:
      53
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 มีนาคม 2009
  3. pkomsan

    pkomsan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    6,206
    ค่าพลัง:
    +21,300
    ความเป็นมาของโครงการทำบุญ<O:p</O:p
    ในปัจจุบัน(ปื 2552) หลวงปู่เยี่ยม หรือที่วัดมักจะได้ยินคนแถวนั้นเรียกกันว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 มีนาคม 2009
  4. pkomsan

    pkomsan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    6,206
    ค่าพลัง:
    +21,300
    อานิสงส์ของการสร้างพระพุทธรูป<O:p</O:p
    คำสอนของพระเดชพระคุณหลวงพ่อฤาษีลิงดำ(พระราชพรหมยาน) วัดท่าซุง อ.เมือง จ.อุทัยธานี เกี่ยวกับอานิสงส์การสร้างพระพุทธรูป<O:p</O:p
    การสร้างพระพุทธรูปจัดว่าเป็น พุทธบูชา ถ้าในกรรมฐานจัดว่าเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน (การระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์) ถ้าตายจากคนไปเกิดเป็นเทวดา มีรัศมีกายสว่างไสวมาก<O:p</O:p
    การสร้างพระถวายด้วยอำนาจพุทธบูชาทำให้มีรัศมีกายมากเป็นคนสวย ตามที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า <O:p</O:p
    "พุทธะปูชา มะหาเตชะวันโต" แปลว่า "การบูชาพระพุทธเจ้ามีเดชอำนาจมาก<O:p</O:p
    การสร้างพระพุทธรูปนี่เป็นพุทธบูชาเป็นพุทธานุสสติในกรรมฐาน ๔๐ กอง ท่านบอกว่ากำลังของพุทธานุสสติเป็นเหตุให้เข้าถึงนิพพานได้ง่ายที่สุด ง่ายกว่ากองอื่นก็เห็นจะจริง เพราะว่าพระพุทธเจ้าท่านอยู่ที่นิพพานนี่ และท่านก็เป็นต้นตระกูลของพระนิพพาน ทีนี้เมื่อเราต้องการสร้างพระพุทธรูปให้สวยตามที่เราชอบเห็นแล้วก็ทำให้จิตใจสดชื่น จิตมันก็นึกถึงพระอยู่เสมอ ถ้าจิตนึกถึงพระพุทธรูปองค์นั้นอยู่เสมอก็จัดเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ถ้าใจเราเกาะพระพุทธเจ้าเป็นปกติ ตายแล้วลงนรกไม่เป็น ฉะนั้นถ้าเราชอบพระแบบไหนปางไหน ก็ให้สร้างอย่างที่เราชอบจิตจะได้เกิดศรัทธา<O:p</O:p
    หลวงพ่อปานวัดบางนมโคแนะนำว่าควรหันหน้าพระบูชาไปทางทิศตะวันออกหรือทิศเหนือ ไม่ควรหันหน้าพระบูชาไปทางทิศตะวันตก หรือทิศใต้ เพราะจะทำให้สตางค์ไม่เหลือใช้<O:p</O:p
    ส่วนอานิสงส์การสร้างแท่นพระนั้น ก็มีอานิสงส์เหมือนกับการสร้างพระพุทธรูป คือแท่นพระพุทธรูปเขาบกพร่องอยู่ เราทำให้เต็ม อย่างที่นางวิสาขาหรือพระสิวลีได้เคยทำมาในอดีตชาติ อานิสงส์ไม่ใช่เล็กน้อยนะ อานิสงส์ใหญ่มาก จะเกื้อหนุนให้รวย วาสนาบารมีสูง การสร้างแท่นพระหนุนพระพุทธรูป ซึ่งเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้าให้สูงน่ะ จะทำให้ฐานะของเราดีขึ้น<O:p</O:p
    ครั้งหนึ่งมีญาติโยมถามหลวงพ่อฤาษีลิงดำเรื่องการชำระหนี้สงฆ์ว่าถ้าหากนับรวมหลาย ๆ ชาติเราไม่รู้ว่าเคยล่วงเกินของสงฆ์มามากน้อยเท่าไหร่ จะทำอย่างไรจึงจะชำระหนี้สงฆ์ได้หมด หลวงพ่อท่านกำหนดสมาธิจิตถามพระพุทธเจ้า ก็ปรากฏนิมิตเป็นพระพุทธเจ้าลอยมาตอบคำถามท่านว่า "ถ้าจะชำระให้ครบถ้วนเป็นเงินเท่าไหร่ก็ไม่พอ ให้สร้างพระพุทธรูปหน้าตัก ๔ ศอก" พระหน้าตัก ๔ ศอก ถือว่าเป็นพระประธานมาตรฐาน ท่านบอกว่า "พระพุทธรูปนี่ไม่มีใครตีราคาได้ ใช้ในการชำระหนี้สงฆ์ หนี้สงฆ์ที่แล้ว ๆ มา ถือเป็นการหมดกันไป" เมื่อถามว่าการสร้างพระองค์หนึ่งชำระหนี้สงฆ์ได้คนเดียวหรือกี่คน ท่านก็บอกว่า "ถ้าไม่ปิดทองได้คนเดียว ถ้าปิดทองครบถ้วนได้ทั้งคณะ" คำว่า "คณะ" หมายความว่าบุคคลหลายคนก็ได้ ตัดบาปเก่าชำระหนี้สงฆ์เก่า ๆ ได้หมด แต่ถ้าสร้างหนี้ใหม่ต่อก็เป็นหนี้ใหม่เหมือนกันนะ<O:p</O:p
    เวลาถวายสังฆทานเพื่ออุทิศให้แก่ผู้ตาย อย่างน้อยควรมีพระพุทธรูปหน้าตักกว้าง ๕ นิ้วขึ้นไป ผู้ที่อนุโมทนารับบุญรับกุศลจะมีรัศมีกายสว่างมาก เพราะเทวดาหรือพรหมเขาแบ่งฐานะกันตามความสว่างของร่างกาย ไม่ได้ดูที่เครื่องแต่งตัว ถ้ามีผ้าจีวรด้วย ผู้อนุโมทนาจะมีเครื่องประดับสวยงามกว่าเดิม ถ้ามีอาหารด้วย ความเป็นทิพย์ของร่างกายจะดีกว่าเก่า<O:p</O:p
     
  5. pkomsan

    pkomsan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    6,206
    ค่าพลัง:
    +21,300
    แหล่งข้อมูลอ้างอิง<O:p</O:p
    เป็นการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และจากการพูดคุย งานนี้เป็นงานบุญด้วยความศรัทธาอย่างเต็มเปี่ยมต่อพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ของคณะผู้สร้าง หากมีข้อผิดพลาดหรือล่วงละเมิดข้อมูลใดๆ ต้องกราบขออโหสิด้วยกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรมไว้ ณ ที่นี้<O:p</O:p
    ขนาดพระพุทธรูป<O:p</O:p
    ขนาด สูง 7 ศอก (หรือราวๆ 3.5 เมตร) <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    การร่วมบุญ<O:p</O:p
    เพื่อให้ร่วมบุญด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนาและการสร้างพระพุทธรูปสำหรับผู้ปฏิบัติกรรมฐานของพุทธศาสนิกชนจริงๆ งานนี้จึงไม่ได้กำหนดรูปแบบการทำบุญที่ตายตัวไว้ ทำกันตามศรัทธาจริงๆ ทำได้ทุกรูปแบบ เช่น<O:p</O:p
    1. ร่วมบุญตามความศรัทธาโดยไม่รับวัตถุมงคลใดๆ<O:p</O:p
    2. ร่วมบุญและรับวัตถุมงคลตามรายการที่ระบุไว้ด้านล่าง**<O:p</O:p
    3. ร่วมบุญเป็นกอง กองละ 1,800 บาท รับวัตถุมงคลทั้ง 3 ชิ้น<O:p</O:p
    ในรูปแบบที่ 3 ที่กำหนดไว้ ก็เพื่อให้ง่ายต่อการไปบอกบุญญาติโยม ไม่ได้เป็นการกำหนดรูปแบบตายตัวใดๆทั้งสิ้น<O:p</O:p
    **<O:p</O:p
    <TABLE class=MsoNormalTable style="MARGIN: auto auto auto 32.4pt; WIDTH: 378pt; BORDER-COLLAPSE: collapse; mso-padding-alt: 0cm 5.4pt 0cm 5.4pt" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=504 border=0><TBODY><TR style="HEIGHT: 12.75pt; mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 50.85pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=bottom noWrap width=68>
    รายการที่<O:p</O:p

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 183.15pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=bottom noWrap width=244>
    รายการ<O:p</O:p

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 54pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=bottom noWrap width=72>
    ทำบุญ<O:p</O:p

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 90pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-top-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" vAlign=bottom noWrap width=120 colSpan=2>
    จำนวนการสร้าง<O:p</O:p

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 14.2pt; mso-yfti-irow: 1"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 50.85pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 14.2pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=68>
    1<O:p</O:p


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 183.15pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 14.2pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=244>ผ้ากาสาวพัตร์ขนาด A4<O:p</O:p
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 54pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 14.2pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=72>
    300<O:p</O:p

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 36pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 14.2pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=48>
    119<O:p</O:p

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 54pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 14.2pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=72>
    ผืน<O:p</O:p

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 17.55pt; mso-yfti-irow: 2"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 50.85pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 17.55pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=68>
    2<O:p</O:p


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 183.15pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 17.55pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=244>รูปเหมือนลอยองค์ขนาดบูชา <?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]5 นิ้ว</st1:metricconverter><O:p</O:p
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 54pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 17.55pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=72>
    1,000<O:p</O:p

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 36pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 17.55pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=48>
    119<O:p</O:p

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 54pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 17.55pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=72>
    องค์<O:p</O:p

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 18pt; mso-yfti-irow: 3; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: windowtext 1pt solid; WIDTH: 50.85pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 18pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-left-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=68>
    3<O:p</O:p


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 183.15pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 18pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=244>ตะกรุดอุดมบรมจักรพรรดิ์<O:p</O:p
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 54pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 18pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=72>
    500<O:p</O:p

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 36pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 18pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=48>
    1000<O:p</O:p

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: #efefef; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: #efefef; WIDTH: 54pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 18pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; mso-border-bottom-alt: solid windowtext .5pt; mso-border-right-alt: solid windowtext .5pt" noWrap width=72>
    ดอก<O:p</O:p


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    <O:p</O:p
    วัตถุมงคลจะนำเข้ารับการอธิษฐานจิตตลอดไตรมาส ตั้งแต่วันพุธที่ 8 กรกฎาคม 2552 ถึง วันอาทิตย์ที่ 4 ตุลาคม 2552<O:p</O:p
    ค่าจัดส่ง<O:p</O:p
    - 50 บาท สำหรับตะกรุดและผ้ากาวสาวพัตร์<O:p</O:p
    - 120 บาท สำหรับพระรูปเหมือนบูชาขนาด 5 นิ้ว<O:p</O:p
    - หากจอง 1 กอง ค่าส่ง 120 บาท<O:p</O:p
    การโอนเงินทำบุญ: กรุณาโอนงินทำบุญภายในวันที่1 พฤษภาคม 2552<O:p</O:p
    การรับวัตถุมงคล: คณะกรรมการฯ จะจัดส่งวัตถุมงคลให้ ภายในวันจันทร์ที่19 ตุลาคม
     
  6. pkomsan

    pkomsan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    6,206
    ค่าพลัง:
    +21,300
    วัตถุมงคล<O:p</O:p
    1. ผ้ากาสาวพัตร์<O:p</O:p
    &sect; จำนวน 119 ผืน ขนาดประมาณ A4 ประทับยันต์ที่ได้รับจากหลวงปู่<O:p</O:p
    &sect; จำนวน 119 ผืนดังกล่าว มาจากผ้าครองที่ได้รับจากหลวงปู่ ตัดเป็นขนาด A4 แล้วได้จำนวนเท่านั้นพอดี<O:p</O:p
    &sect; ค่าบูชา ผืนละ 300 บาท<O:p</O:p
    2. รูปเหมือนลอยองค์ขนาดบูชา <?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:metricconverter>5 นิ้ว<O:p</O:p
    &sect; เป็นรูปเหมือนหลวงปู่เยี่ยม ทำด้วยวัสดุทองเหลืองรมดำ<O:p</O:p
    &sect; ใต้ฐานบรรจุ จีวร เกศา(ของหลวงปู่เยี่ยม) ตะกรุดอุดมบรมจักรพรรดิ์ พระธาตุข้าวบิณฑ์ของหลวงปู่ครูบาชัยวงศ์และลูกอมปฐวีธาตุ(หลวงปู่คำพันธ์) ที่ผ่านพิธีเหรียญสมเด็จพระเอกาทศรถตามลิ้งค์ http://www.212cafe.com/freewebboard/view.php?user=praonline2&id=325 และ http://www.212cafe.com/freewebboard/view.php?user=praonline2&id=378&page=1&page_limit=50 <O:p</O:p
    &sect; มีลูกแก้วสำหรับวางไว้บนหน้าตักหลวงปู่ จำนวน 1 ลูก (ผ่านพิธีพุทธภิเษกของวัดคำหยาดเมื่อวันเสาร์ที่ 7 มีนาคม 2552 หลวงปู่วีระ วัดปากน้ำ และหลวงปู่เยี่ยม วัดประดู่ทรงธรรม)<O:p</O:p
    &sect; สร้างจำนวน 119 องค์ เท่าจำนวนผ้ากาสาวพัตร์<O:p</O:p
    &sect; ค่าบูชา 1,000 บาท<O:p</O:p
    3. ตะกรุดอุดมบรมจักรพรรดิ์<O:p</O:p
    &sect; ทำด้วยเนื้อทองแดง ขนาดความยาว <st1:metricconverter w:st="on" ProductID="2 นิ้ว">2 นิ้ว</st1:metricconverter> ประทับยันต์มหาจักรพรรดิ์<O:p</O:p
    &sect; ตอกโค้ต และจารชื่อสำหรับกรรมการผู้สั่งจอง<O:p</O:p
    &sect; ตะกรุดนี้ ได้อาราธนาหลวงปู่ให้ทำเป็น
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 00438_12.jpg
      00438_12.jpg
      ขนาดไฟล์:
      134.7 KB
      เปิดดู:
      136
    • 00421_29.jpg
      00421_29.jpg
      ขนาดไฟล์:
      114.6 KB
      เปิดดู:
      91
    • 00421_57.jpg
      00421_57.jpg
      ขนาดไฟล์:
      65.1 KB
      เปิดดู:
      95
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 มีนาคม 2009
  7. pkomsan

    pkomsan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    6,206
    ค่าพลัง:
    +21,300
    บริเวณที่จะสร้างพระพุทธรูป และเป็นลานปฏิบัติธรรม<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      182.8 KB
      เปิดดู:
      94
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 มีนาคม 2009
  8. pkomsan

    pkomsan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    6,206
    ค่าพลัง:
    +21,300
    ฐานพระที่สร้างไว้นานแล้ว<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      111.2 KB
      เปิดดู:
      60
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 มีนาคม 2009
  9. pkomsan

    pkomsan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    6,206
    ค่าพลัง:
    +21,300
    รูปหลวงปู่เยี่ยม ด้านหลังเป็นฐานพระ<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 3.jpg
      3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      89 KB
      เปิดดู:
      155
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 มีนาคม 2009
  10. Reliquiae

    Reliquiae เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    1,184
    ค่าพลัง:
    +2,639
    ขอจองไว้ก่อนนะครับ 2 องค์ ครับ มีความคืบหน้ายังไงเอารูปมาลงให้ดูด้วยนะครับ โมทนาครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 1 เมษายน 2009
  11. มิ่งเมือง

    มิ่งเมือง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2005
    โพสต์:
    730
    ค่าพลัง:
    +2,343
    ขอจองรูปเหมือยบูชา ๕ นิ้ว ๑ องค์ครับ
     
  12. bht

    bht เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    533
    ค่าพลัง:
    +1,655
    ทุกท่านที่ร่วมบุญสามารถร่วมบุญได้ตามบัญชีนี้ครับ
    ซึ่งบัญชีนี้เปิดเพื่องานบุญนี้โดยเฉพาะนะครับ

    ชื่อบัญชี นายอำนาจ คงไทย
    ธนาคารกรุงไทย บัญชีออมทรัพย์
    สาขาการไฟฟ้านครหลวงเพลินจิต
    เลขที่บัญชี 092-0-06756-5

    ทุกท่านสามารถอ่านความเป็นมาได้จาก
    http://www.212cafe.com/freewebboard/view.php?user=praonline2&id=438&page=1&page_limit=50
    ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2009
  13. Reliquiae

    Reliquiae เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    1,184
    ค่าพลัง:
    +2,639
    เพื่อนผมฝากจองรูปเหมือน 5 นิ้ว อีก 1 องค์ รวมทั้งหมดของผม คือ 3 องค์ครับ
     
  14. amnartk73

    amnartk73 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,372
    ค่าพลัง:
    +6,122
    โดยรวมตั้งไว้ 119 กอง จองแล้วประมาณ 97 กอง เหลืออีก 22 กองครับ
     
  15. Uam

    Uam สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8
    ค่าพลัง:
    +16
    ขอจอง 1 กองคะ
     
  16. Uam

    Uam สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8
    ค่าพลัง:
    +16
    อีกรอบคะ ต้องโอน1800+ค่าส่ง 120 ใช่ไหมคะ
     
  17. amnartk73

    amnartk73 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,372
    ค่าพลัง:
    +6,122
    หากไปรับที่วัด ก็ไม่ต้องเพิ่มค่าส่งครับ
    หรือมารับที่ผมก็ได้

     
  18. werapong

    werapong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    1,633
    ค่าพลัง:
    +7,800
    ไม่ทราบว่าผมจะโอนไปที่ บัญชีของคุณคมสันเเทนได้ไหมครับ เพราะผมไม่สามารถโอนไปบัญชีที่ไม่ได้ลงทะเบียนไว้ก่อนได้ ผมใช้เนท์โอนจากญี่ปุ่นครับ
     
  19. amnartk73

    amnartk73 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,372
    ค่าพลัง:
    +6,122
    ได้ครับ รบกวนแจ้งพี่คมสันให้ทราบด้วยนะครับ
    เอ...จองไว้หรือยังครับ จองแบบเป็นกองหรือแบบไหนไว้ครับ
    ผมจะได้ไปจองไว้ให้

     
  20. werapong

    werapong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    1,633
    ค่าพลัง:
    +7,800
    ยังครับ ถ้าได้ผมขอจองรูปหล่อ1องค์ครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...