พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ตารางแสดงบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ที่เกิดทางทวารทั้ง ๓ โดยสุตตันตนัย
    [​IMG]



    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=680 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>ดังนั้น บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ





    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="96%" border=0><TBODY><TR><TD>๑. การให้ทาน</TD><TD>๖. การอุทิศส่วนกุศล</TD></TR><TR><TD>๒. การรักษาศีล</TD><TD>๗. การอนุโมทนากุศล</TD></TR><TR><TD>๓. การเจริญภาวนา</TD><TD>๘. การฟังธรรม</TD></TR><TR><TD>๔. การอ่อนน้อมถ่อมตน</TD><TD>๙. การแสดงธรรม</TD></TR><TR><TD>๕. การช่วยงานกุศล </TD><TD>๑๐. ความเห็นตรงกับความจริง</TD></TR></TBODY></TABLE>






    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ นี้ สามารถทำได้ทั้ง ๓ ทวาร คือ กายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    ตารางแสดงการสงเคราะห์บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ลงในกุศลกรรมบถ ๑๐



    ตามอภิธรรมนัย






    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="98%" border=0><TBODY><TR><TD width="42%" bgColor=#ffece3 height=60>บุญกิริยาวัตถุ ๑๐





    </TD><TD width="58%" bgColor=#ffece3>สงเคราะห์ลงในกุศลกรรมบถ ๑๐ ได้เป็น





    </TD></TR><TR><TD colSpan=2><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=661 bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD width="42%">๑. การให้ทาน (ทาน)</TD><TD width="58%">มโนกรรม ๑ คือ อนภิชฌา การไม่เพ่งเล็งอยากได้ </TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>๒. การรักษาศีล (ศีล)</TD><TD>กายกรรมศีล ๓ และวจีกรรมศีล ๔</TD></TR><TR><TD>๓. การเจริญภาวนา (ภาวนา)</TD><TD rowSpan=3>มโนกรรม ๒ คือ อพยาบาท และ สัมมาทิฏฐิ</TD></TR><TR><TD>๔. การอ่อนน้อมถ่อมตน (อปจายนะ)</TD></TR><TR><TD>๕. การช่วยงานกุศล (เวยยาวัจจะ)</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>๖. การอุทิศส่วนกุศล (ปัตติทานะ)</TD><TD rowSpan=2>มโนกรรม ๒ คือ อนภิชฌา และ สัมมาทิฏฐิ</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>๗. การอนุโมทนา (ปัตตานุโมทนา)</TD></TR><TR><TD>๘. การฟังธรรม (ธัมมัสสวนะ)</TD><TD>มโนกรรม ๑ คือ สัมมาทิฏฐิ</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>๙. การแสดงธรรม (ธรรมเทศนา)</TD><TD>มโนกรรม ๓ คือ อนภิชฌา อพยาบาท และ สัมมาทิฏฐิ</TD></TR><TR><TD height=68>๑๐. การมีความเห็นตรงความจริง

    (ทิฏฐุชุกรรม)




    </TD><TD>มโนกรรม ๑ คือ สัมมาทิฏฐิ</TD></TR></TBODY></TABLE>







    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=300 border=1><TBODY><TR><TD height=60>
    บุญกิริยาวัตถุ ๑๐








    </TD></TR></TBODY></TABLE>







    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>๑. ทาน (การให้) </TD></TR><TR><TD>
    ทาน คือ การให้สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้รับ ลักษณะของทาน นั้นมี ๔ ประการ คือ ​
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD>
    ๑. เป็นการให้แก่ผู้อื่น​
    </TD></TR><TR><TD>
    ๒. เป็นการทำลายความโลภออกจากตัว​
    </TD></TR><TR><TD>
    ๓. จะให้ความสมบูรณ์พูนสุข ในการเวียนเกิด เวียนตาย เกิดจนถึงนิพพาน​
    </TD></TR><TR><TD>
    ๔. เกิดขึ้นจากศรัทธา เห็นประโยชน์ของทานก่อน การทำทานจึงเกิดขึ้น​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>







    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=55>
    ทาน มี ๒ อย่าง คือ







    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>๑. เจตนาทาน </TD></TR><TR><TD>๒. วัตถุทาน</TD></TR></TBODY></TABLE>







    </TD></TR></TBODY></TABLE>







    </TD><TD vAlign=top>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=255 border=1><TBODY><TR><TD width=243 bgColor=#ffece3 height=55>
    ทาน มี ๔ อย่าง คือ







    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>๑. เจตนาทาน</TD></TR><TR><TD>๒. วัตถุทาน</TD></TR><TR><TD>๓. อโลภทาน</TD></TR><TR><TD>๔. วิรตีทาน</TD></TR></TBODY></TABLE>







    </TD></TR></TBODY></TABLE>







    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    เจตนาทาน เมื่อกล่าวโดยองค์ของทานแล้ว ได้แก่ เจตนาเจตสิก ที่ประกอบในมหากุศลจิต ๘ อันเป็นเหตุให้เกิดการทำทาน ​
    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=650 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    เมื่อจะกล่าวถึงเจตนาของการให้ทานแล้ว มี ๓ ประการ คือ








    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="94%" border=0><TBODY><TR><TD width="44%">๑. เจตนาก่อนให้ทาน</TD><TD width="18%">
    เรียกว่า







    </TD><TD width="38%">ปุพพเจตนาทาน</TD></TR><TR><TD>๒. เจตนาขณะให้ทาน</TD><TD>
    เรียกว่า







    </TD><TD>มุญจเจตนาทาน</TD></TR><TR><TD>๓. เจตนาหลังจากให้ทาน </TD><TD>
    เรียกว่า







    </TD><TD>อปรเจตนาทาน</TD></TR></TBODY></TABLE>







    </TD></TR></TBODY></TABLE>







    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>
    หลักของการทำทาน
    </TD></TR><TR><TD>
    คือ ก่อนทำ ทาน ขณะทำ ทาน และ หลังทำ ทานแล้ว ถ้าไม่เป็นไปด้วยความโลภ ไม่เป็นไปด้วยความโกรธ ไม่เป็นไปด้วยความไม่เข้าใจ ย่อมจะได้อานิสงส์มาก ​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>ถ้าไม่เข้าใจในการทำบุญและผลของบุญ </TD></TR><TR><TD>โดยสักแต่ว่าทำตาม ๆ กันไป ย่อมจะได้รับอานิสงส์น้อย </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>ถ้าในกาลทั้ง ๓ มีความโลภ ความโกรธ และความไม่เข้าใจ เจือปนอยู่ด้วย </TD></TR><TR><TD>ก็ย่อมจะได้ รับอานิสงส์น้อยลงตามลำดับ </TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>ผลของเจตนาทาน </TD></TR><TR><TD>บุคคลใดทำทานครบเจตนาทั้ง ๓ กาล คือ ก่อนทำ ขณะทำ และหลังทำ ถ้าบุญนั้น ได้โอกาสส่งผล ก็จะนำเกิดเป็นมนุษย์ และเทวดาได้ ทำให้ได้สกุล ฐานะ ทรัพย์สมบัติและบริวาร ต่างกันไป ตามกำลังของบุญที่ทำไว้ ในอปทานพระบาลี ท่านแสดงไว้ว่า การถวายดอกไม้เพียงดอกเดียว ไม่ต้องตกนรกถึง ๘๐ โกฏิชาติ เวียนเกิดเวียนตายในมนุษยโลก และเทวโลก ไม่ขาดสายตลอดเวลา ๘๐ โกฏิชาติ</TD></TR></TBODY></TABLE>





    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="85%" border=0><TBODY><TR><TD>พระพุทธโฆษาจารย์ ได้กล่าวสรรเสริญการให้ทานว่า </TD></TR><TR><TD>​
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=680 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=300 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    สัปปุริสทาน ๕

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    สัปปุริสทาน คือ ทานของสัปปุรุษ ผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในธรรม ตั้งอยู่ในทาน ศีล ภาวนา มี ๕ ประการ คือ
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680 border=0><TBODY><TR><TD width="47%" bgColor=#ffece3 height=60>
    สัปปุริสทาน ๕


    </TD><TD width="53%" bgColor=#ffece3 height=60>
    ผลของสัปปุริสทาน

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top colSpan=2>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680 bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top width="50%"><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=310 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๑. สัทธาทาน </TD></TR><TR><TD align=right width="12%">คือ</TD><TD width="88%">บริจาคทานโดย</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ความเลื่อมใส </TD></TR><TR><TD></TD><TD>เชื่อในการกระทำ </TD></TR><TR><TD></TD><TD>เชื่อในผลของการกระทำนั้น</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width="50%"><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=350 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>** เกิดในภพต่อ ๆ ไป </TD></TR><TR><TD width="7%"></TD><TD width="93%">- จะเกิดความมั่งคั่งมีทรัพย์มาก </TD></TR><TR><TD></TD><TD>- พรั่งพร้อมไปด้วยกามคุณอารมณ์</TD></TR><TR><TD></TD><TD>- มีรูปร่างสัณฐานงดงามน่าดูน่าชม</TD></TR><TR><TD></TD><TD>- มีผิวพรรณวรรณะเปล่งปลั่ง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top height=33><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=310 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๒. สักกัจจทาน </TD></TR><TR><TD width="12%">
    คือ​

    </TD><TD width="88%">บริจาคทานโดยความเคารพ </TD></TR><TR><TD></TD><TD>กระทำด้วยตนเอง </TD></TR><TR><TD></TD><TD>ไทยธรรม นั้นสะอาดหมดจด</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=350 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>** เกิดในภพต่อ ๆ ไป</TD></TR><TR><TD width="7%"></TD><TD width="93%">- จะเกิดความมั่งคั่งมีทรัพย์มาก </TD></TR><TR><TD></TD><TD>- พรั่งพร้อมไปด้วยกามคุณอารมณ์</TD></TR><TR><TD></TD><TD>- บุตร ภรรยา สามี บริวาร เชื่อฟัง เอาอกเอาใจ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=310 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๓. กาลทาน </TD></TR><TR><TD vAlign=top width="12%">
    คือ​

    </TD><TD vAlign=top width="88%">บริจาคทานเหมาะสมแก่กาล นั้นๆ </TD></TR><TR><TD></TD><TD></TD></TR><TR><TD></TD><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=350 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>** เกิดในภพต่อ ๆ ไป</TD></TR><TR><TD width="7%"></TD><TD width="93%">- จะเกิดความมั่งคั่งมีทรัพย์มาก </TD></TR><TR><TD></TD><TD>- พรั่งพร้อมไปด้วยกามคุณอารมณ์</TD></TR><TR><TD></TD><TD>- ลาภสักการะเจริญรุ่งเรือง ตั้งแต่วัยหนุ่มสาว</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=310 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๔. อนุคคหิตทาน </TD></TR><TR><TD width="15%">
    คือ​

    </TD><TD width="85%">บริจาคทานโดย</TD></TR><TR><TD></TD><TD>การสละอย่างแท้จริง </TD></TR><TR><TD></TD><TD>ไม่มีความเสียดายในวัตถุทาน นั้นๆ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=350 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>** เกิดในภพต่อ ๆ ไป</TD></TR><TR><TD width="16%"></TD><TD width="84%">- จะเกิดความมั่งคั่งมีทรัพย์มาก </TD></TR><TR><TD></TD><TD>- พรั่งพร้อมไปด้วยกามคุณอารมณ์</TD></TR><TR><TD></TD><TD>- จิตใจอิ่มเอิบอยู่กับการเสวยความสุข</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=310 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๕. อนุปหัจจทาน </TD></TR><TR><TD width="10%">
    คือ​

    </TD><TD width="90%">บริจาคทานโดย</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ไม่กระทบกระเทือนตนเอง และผู้อื่น </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=350 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>** เกิดในภพต่อ ๆ ไป</TD></TR><TR><TD width="7%"></TD><TD width="93%">- จะเกิดความมั่งคั่งมีทรัพย์มาก </TD></TR><TR><TD></TD><TD>- พรั่งพร้อมไปด้วยกามคุณอารมณ์</TD></TR><TR><TD></TD><TD>- ทรัพย์สินพ้นจากภัย ๕ จากลูกหลานและญาติ พี่น้อง </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD>
    ต่อไปเราจะมาศึกษา และทำความเข้าใจ ในเรื่องของศีล เพื่อให้เกิดความงดงามยิ่งขึ้น

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>
    ๒. ศีล (การงดเว้นทำบาป)
    </TD></TR><TR><TD>
    ศีล คือ ธรรมชาติที่ทำให้กายกรรม วจีกรรม ตั้งไว้ด้วยดี ก็คือศีลนั้นมีหน้าที่ รักษากาย วาจา ไม่ให้เป็นไปในทางทุจริตนั่นเอง หรือ ศีล คือ ธรรมชาติที่ทรงไว้ซึ่งกุศลธรรม ได้แก่ สมาธิ ปัญญา และวิมุตติ เรื่องของศีลเน้นอยู่ที่ กาย วาจา มิให้กาย วาจา ไปกระทำบาปทุจริตกรรม คือ การงดเว้นจากการทำบาปทั้งปวง ​
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width=680 border=1><TBODY><TR><TD width=668 bgColor=#ffece3 height=60>
    ประเภทของศีล


    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=660 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=4>ศีล มี ๔ ประเภท คือ</TD></TR><TR><TD width="2%" bgColor=#ffffff></TD><TD vAlign=top width="24%">๑. ภิกขุศีล </TD><TD vAlign=top width="3%">
    คือ

    </TD><TD width="71%">ศีลของพระภิกษุ มี ๒๒๗ ข้อ ที่ได้แสดงไว้ในปาติโมกข์</TD></TR><TR><TD></TD><TD vAlign=top>๒. ภิกขุณีศีล </TD><TD vAlign=top>
    คือ

    </TD><TD>ศีลของภิกษุณี มี ๓๑๑ ข้อ ที่ได้แสดงไว้ในปาติโมกข์ เช่นเดียวกัน</TD></TR><TR><TD></TD><TD vAlign=top>๓. สามเณรศีล </TD><TD vAlign=top>
    คือ

    </TD><TD>ศีลของสามเณร มี ๑๐ ข้อ</TD></TR><TR><TD></TD><TD vAlign=top>๔. คฤหัสถศีล </TD><TD vAlign=top>
    คือ

    </TD><TD>ศีลของผู้ครองเรือน มี ๕ ข้อ ได้แก่ ศีล ๕ </TD></TR><TR><TD colSpan=4>ภิกขุศีล ภิกขุณีศีล และ สามเณรศีล ไม่ต้องมีการสมาทาน ส่วนคฤหัสถศีล ต้องมีการสมาทาน </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=350 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    นิจศีล และ อนิจศีล


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="12%">นิจศีล </TD><TD width="88%">หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วาริตตศีล คือ ศีลที่สมาทานครั้งเดียวแล้ว รักษาตลอดไปเป็นนิตย์

    ไม่ต้องสมาทานอีก เมื่อสมาทานแล้วไม่รักษาย่อมจะมีโทษ (มีบทลงโทษ) ได้แก่ ศีลของพระภิกษุ ๒๒๗ ศีลของภิกษุณี ๓๑๑ ศีลของสามเณร ๑๐ ศีลของอุบาสก อุบาสิกา ผู้นุ่งขาวห่มขาว (แม่ชี) อุโบสถศีล หรือ ศีล ๘ ​
    </TD></TR><TR><TD></TD><TD>สำหรับศีล ๕ ถือว่าเป็นศีลของคฤหัสถ์ทั้งหลายด้วย</TD></TR><TR><TD vAlign=top>อนิจศีล </TD><TD>หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า จาริตตศีล คือ ศีลที่ต้องสมาทาน ถ้าไม่รักษาก็ไม่มีโทษ เช่น การประพฤติธุดงค์ ๑๓ ข้อ ของพระภิกษุ สามเณร </TD></TR><TR><TD></TD><TD>สำหรับ อุโบสถศีล หรือ ศีล ๑๐ ที่สามเณรรักษาอยู่ ถือว่าเป็น อนิจศีล ด้วย</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    อนึ่ง ศีลอีกประเภทหนึ่ง ที่เราไม่ค่อยจะคุ้นเคยกัน คือ อาชีวัฏฐมกศีล เป็นศีล ๘ อีกประเภทหนึ่ง ที่ไม่ต้องอดอาหารมื้อเย็น เหมาะสำหรับผู้ที่ยังห่วงใย เกี่ยวกับสุขภาพของตน ซึ่งมีความแตกต่างกับศีล ๘ หรือ อุโบสถศีล เล็กน้อย คือ​
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=680 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    ความแตกต่างระหว่างอุโบสถศีล และ อาชีวัฏฐมกศีล


    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=680 border=1><TBODY><TR><TD width="48%" bgColor=#ffece3 height=60>
    อุโบสถศีล

    </TD><TD width="52%" bgColor=#ffece3>
    อาชีวัฏฐมกศีล

    </TD></TR><TR><TD vAlign=top>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=310 border=0><TBODY><TR><TD width=331>๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์</TD></TR><TR><TD>๒. เว้นจากการลักทรัพย์ </TD></TR><TR><TD>๓. เว้นจากการก้าวล่วงในพรหมจรรย์</TD></TR><TR><TD>๔. เว้นจากการพูดเท็จ</TD></TR><TR><TD>๕. เว้นจากการดื่มสุราเมรัย </TD></TR><TR><TD>๖. เว้นจากการรับประทานอาหาร ในยามวิกาล</TD></TR><TR><TD>๗. เว้นจากการตบแต่งเครื่องหอม เครื่องย้อม เครื่องทา </TD></TR><TR><TD>๘. เว้นจากการนอนเหนือที่นอนอันสูงใหญ่</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD><TD vAlign=top>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=341 border=0><TBODY><TR><TD width=339>๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์</TD></TR><TR><TD>๒. เว้นจากการลักทรัพย์</TD></TR><TR><TD>๓. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม</TD></TR><TR><TD>๔. เว้นจากการพูดเท็จ </TD></TR><TR><TD>๕. เว้นจากการพูดส่อเสียด </TD></TR><TR><TD>๖. เว้นจากการพูดคำหยาบ</TD></TR><TR><TD>๗. เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ</TD></TR><TR><TD>๘. เว้นจากการประกอบอาชีพ ที่พระพุทธองค์ ทรงห้าม </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=300 border=0><TBODY><TR><TD>คือ ค้าสัตว์เพื่อเอาไปฆ่า ค้ามนุษย์ ค้าอาวุธ ค้ายาพิษ ค้าสุราและเมรัย </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=450 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    การงดเว้นจากการทำบาป ๓ (วิรัติ ๓)


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    การงดเว้นทำบาป (วิรัติ) ในอกุศลกรรมบถ ๑๐ มี ๓ ประการ คือ​
    </TD></TR><TR><TD>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD>๑. งดเว้นด้วยการสมาทาน หรือ สัมปัตตวิรัต</TD></TR><TR><TD>เป็นการงดเว้นเฉพาะหน้าเมื่อมีอารมณ์สิ่งยั่วยุให้ กระทำบาป</TD></TR><TR><TD>วิธีทำใจ ให้นึกถึงชาติกำเนิดของเรา ไม่เคยมีประวัติ ในการทำความชั่ว ความเสียหายมาก่อน อายุก็ปานนี้แล้ว ใกล้ตายเข้าไปทุกวัน ๆ ถ้าไปทำชั่ว ก็ไม่มีเวลาที่จะแก้ตัวทำความดีอีกแล้ว ทั้งก็เป็นผู้ที่ผ่านการศึกษามามาก น่าละอายแก่ใจที่จะทำความชั่วลงไป การงดเว้นไม่ทำชั่ว โดยคิดได้อย่างนี้ชื่อว่า สัมปัตตวิรัติ ได้แก่ วิรตีเจตสิกที่ประกอบในมหากุศลจิต ๘</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>๒. งดเว้นด้วยการสมาทาน หรือ สมาทานวิรัติ </TD></TR><TR><TD>ได้แก่ การกล่าวงดเว้นในขณะที่สมาทานศีลของ อุบาสกอุบาสิกา ได้แก่ เจตนาเจตสิกในมหากุศลจิต ๘ เช่นเดียวกัน</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>๓. การงดเว้นจากการทำบาปโดยเด็ดขาด หรือ สมุจเฉทวิรัติ </TD></TR><TR><TD>คือ การงดเว้นของพระอริยบุคคล มี พระโสดาบัน เป็นต้น อันได้แก่ เจตนาเจตสิกในมรรคจิต ๔</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD height=46>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=384 border=1><TBODY><TR><TD width=374 bgColor=#ffffff height=60>
    คุณลักษณะและประโยชน์ ของศีล


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๑. เป็นที่ตั้งแห่งกุศลธรรมทั้งปวง </TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">อุปมาเสมือนแผ่นดิน ย่อมเป็นที่ตั้ง ของสรรพสิ่งทั้งหลาย ทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๒. มีการไม่กระทำในสิ่งที่ผิดศีล </TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">เหมือนกับคนไข้ ย่อมไม่รับประทานของ ที่แสลงกับโรค </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๓. มีกาย วาจา ที่บริสุทธิ์</TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">คือ ไม่ทำบาป (สิ่งไม่บริสุทธิ์) ด้วยกาย วาจา </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๔. มีความละอายและเกรงกลัวต่อบาป (หิริโอตตัปปะ) </TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">เป็นต้นเหตุทำให้เกิดศีล</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๕. ความไม่โกรธ (อโทสะ) </TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">ความไม่ประทุษร้าย จะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยการรักษาศีล</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๖. ย่อมเป็นอุปนิสัยให้ได้มรรคเบื้องต่ำ ๓ </TD></TR><TR><TD width="25%"></TD><TD width="75%">คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค เมื่อเป็นมหากุศลที่มีทาน ศีล รองรับแล้ว จะเป็นอุปนิสัยต่ออรหัตตมรรค อรหัตตผล เมื่อมีมหากุศลภาวนา รองรับ</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>
    ๓. ภาวนา
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>ภาวนา คือ การทำกุศลอันประเสริฐให้เกิดขึ้นบ่อย ๆ ชื่อว่า ภาวนา หรือ ธรรมชาติใดที่ทำให้กุศลที่ประเสริฐ เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก แล้วทำให้เจริญขึ้น ชื่อว่า ภาวนาในปริจเฉทที่ ๙ แบ่งคำว่า ภาวนา ออกเป็น ๒ คือ สมถภาวนา และวิปัสสนาภาวนา อันได้แก่ โลกียกุศลและโลกุตตรกุศล</TD></TR><TR><TD>สำหรับคำว่า ภาวนา ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ นี้ หมายถึงมหากุศลจิตอย่างเดียว อันได้แก่ การที่ทำให้ปัญญาเกิดขึ้น เช่น การเรียนการสอนธรรมะ ตลอดจนการพิจารณาใคร่ครวญธรรมะต่าง ๆ จัดเข้าเป็นภาวนา ในบุญกิริยาวัตถุทั้งสิ้น </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD height=65>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=430 align=left border=1><TBODY><TR><TD width=420 bgColor=#ffffff height=60>
    คุณลักษณะและประโยชน์ของภาวนา

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๑. ทำให้กุศลธรรมทั้งหลายเจริญขึ้น </TD></TR><TR><TD width="14%"></TD><TD width="86%">จนถึงอรหัตตมรรคและอรหัตตผล เหมือนน้ำย่อมทำให้พืชพันธุ์ ธัญญาหาร เจริญงอกงามจนกระทั่งผลิดอกออกผล</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๒. มีการประหาณทำลายบาปอกุศลที่เกิดขึ้น </TD></TR><TR><TD width="14%"></TD><TD width="86%">เหมือนเครื่องตัดหรือเครื่องประหาร</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๓. เป็นสื่อนำเข้าสู่การเจริญสติปัฏฐานรูปนาม </TD></TR><TR><TD width="14%"></TD><TD width="86%">ให้ถึงซึ่งโลกุตตรธรรม</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" align=left border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>๔. มีการใส่ใจในอารมณ์ที่ถูกที่ควรไว้ก่อน </TD></TR><TR><TD width="14%"></TD><TD width="86%">ภาวนากุศลจึงจะเกิดขึ้นได้</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>
    ๔. อปจายนะ (การเคารพนอบน้อม)
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>อปจายนะ คือ การเคารพนอบน้อม ต่อบุคคลที่ควรเคารพนอบน้อม โดยมิได้หวัง ลาภ ยศ สักการะแต่อย่างใด ถ้าการเคารพนอบน้อม โดยหวังสิ่งตอบแทนดังกล่าว ไม่ชื่อว่าเป็นอปจายน แต่เป็นมารยาสาไถยไป </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=250 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    อปจายนะ มี ๒ อย่าง คือ


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=650 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="25%">๑. สามัญอปจายนะ </TD><TD width="80%">คือ การแสดงความเคารพนอบน้อมต่อ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ครู อาจารย์ ซึ่งเรามีหน้าที่ ที่จะต้องให้ความเคารพนอบน้อมต่อท่าน เพราะท่านเป็นผู้ใหญ่ เป็นครูอาจารย์ของเรา</TD></TR><TR><TD vAlign=top>๒. วิเสสอปจายนะ </TD><TD>คือ การแสดงความเคารพนอบน้อมในพระรัตนตรัย ด้วยการระลึกถึงพระคุณต่าง ๆ เช่น พระพุทธเจ้าเป็นผู้ห่างไกลจากกิเลส เป็นต้น </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    [​IMG]

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=650 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top width="25%">๑. คุณวุฒิบุคคล </TD><TD vAlign=top width="4%">คือ</TD><TD width="76%">บุคคลที่เป็นผู้ใหญ่ หรือบุคคลที่เป็นผู้เจริญ ด้วยอำนาจแห่ง ศีลคุณ สมาธิคุณ และปัญญาคุณ</TD></TR><TR><TD vAlign=top>๒. วัยวุฒิบุคคล </TD><TD vAlign=top>คือ</TD><TD>บุคคลที่เป็นผู้ใหญ่ หรือบุคคลที่เป็นผู้เจริญ ด้วยอำนาจแห่งอายุ ได้แก่ ผู้ที่เกิดมานานมีอายุมาก</TD></TR><TR><TD vAlign=top>๓. ชาติวุฒิบุคคล </TD><TD vAlign=top>คือ</TD><TD>บุคคลที่เป็นผู้ใหญ่ หรือบุคคลที่เป็นผู้เจริญ ด้วยอำนาจแห่ง ชาติตระกูล หรือวงศ์สกุล</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    วุฒิทั้ง ๓ ประเภทดังกล่าวนั้น บางท่านก็เป็นผู้ใหญ่ที่มีวุฒิครบทั้ง ๓ ประเภท คือ คุณวุฒิ วัยวุฒิ และชาติวุติ เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บางท่านก็มี ๒ ประเภท คือ คุณวุฒิ กับ วัยวุฒิ เช่น พระอริยสงฆ์ที่มาจากตระกูลสามัญ หรือ คุณวุฒิ กับ ชาติวุฒิ เช่น พระราหุล หรือวัยวุฒิ กับ ชาติวุฒิ เช่น พระเจ้าสุปปพุทธ บางท่านก็เป็นผู้ใหญ่ที่มีวุฒิได้เพียงอย่างเดียว ​
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    ในการแสดงความนอบน้อม ผู้มีคุณวุฒิไม่ต้องแสดงความเคารพ ด้วยการกราบต่อผู้มีวุฒิบุคคลอื่น ๆ เพราะเป็นผู้เพรียบพร้อมด้วย ศีล สมาธิ และปัญญา อยู่แล้ว ถ้าผู้มีคุณวุฒิไปแสดงความเคารพด้วยการกราบแล้ว ผู้ได้รับการเคารพ จะมีโทษทั้งภพนี้ และภพหน้า กระทำเพียงอัญชลี (ไหว้) เท่านั้น เช่นในเรื่องจันทกุมาร ในขณะที่พระโพธิสัตว์ ทรงพบกับพระราชบิดานอกเมือง ซึ่งถูกประชาชนเนรเทศให้ออกไป พระโพธิสัตว์ก็มิได้ทรงกราบแต่อย่างใด เพียงแต่ทรงกระทำอัญชลี เท่านั้น​
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width="80%" border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3 height=60>
    อานิสงส์ของอปจายนะ (การเคารพนอบน้อม)


    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="80%" border=0><TBODY><TR><TD>๑. ทำให้เป็นผู้มีความรู้ ความฉลาดในธรรม</TD></TR><TR><TD>๒. มีอายุยืน และมีผิวพรรณงดงาม</TD></TR><TR><TD>๓. มีความสุขกายสุขใจ</TD></TR><TR><TD>๔. มีเกียรติยศชื่อเสียง</TD></TR><TR><TD>๕. มีกำลังกายและกำลังปัญญา</TD></TR><TR><TD>๖. เมื่อจากโลกนี้ย่อมไปสู่สุคติ</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>
    ๕. เวยยาวัจจะ (การช่วยเหลือกิจการต่าง ๆ)
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>เวยยาวัจจะ ได้แก่ การช่วยเหลือในกิจการงาน ที่เกี่ยวกับกุศลต่าง ๆ หรือ การช่วยเหลือทำการงานต่าง ๆ ที่ไม่มีโทษ งานที่เกี่ยวกับกุศล เช่น ปริยัติ ปฏิบัติ การบริจาคทาน การปฏิสังขรณ์ การทำความสะอาดวัดวาอาราม ปูชนียสถานงานอื่น ๆ ที่เป็นงานทางโลก ที่ไม่มีโทษ เช่น เป็นงานของ บิดา มารดา ครูอาจารย์ ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง บุตร ธิดา จัดเข้าเป็นเวยยาวัจจะทั้งหมด</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>
    ๖. ปัตติทาน (การอุทิศส่วนกุศล)
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>ปัตติทาน คือ การอุทิศส่วนบุญกุศลไปให้ บิดา มารดา ครูอาจารย์ ญาติ พี่น้อง และ สรรพสัตว์ทั้งหลายที่ล่วงลับไปแล้ว อันได้แก่เจตนาที่อยู่ในมหากุศลจิต ที่เกิดขึ้น ในขณะที่ตั้งใจอุทิศส่วนบุญกุศล ที่เราได้กระทำมาแล้ว มีการบริจาคทาน รักษาศีล หรือเจริญภาวนา เมื่อได้อุทิศให้แล้ว มิใช่จะลดน้อยถอยลงหรือหมดไป มีแต่จะเพิ่มพูนขึ้นเป็นลำดับ อุปมาเหมือนการต่อแสงเทียนไปเรื่อย ๆ เป็นร้อยเป็นพันเล่ม แสงเทียนที่เทียนเล่มแรก ก็ยังไม่ดับหรือหมดไปแต่อย่างใด แต่แสงเทียนที่เกิดจากการต่อเทียนไปเป็นจำนวนมาก กลับจะทำให้เกิดความสว่างไสวยิ่งขึ้น </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>
    ๗. ปัตตานุโมทนา (การอนุโมทนาบุญ)
    </TD></TR><TR><TD>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>คือ การน้อมรับส่วนบุญที่อุทิศให้ อันได้แก่ บุญกุศลที่คนทั้งหลายได้ทำแล้ว มีทาน ศีล ภาวนา เป็นต้นแล้วอุทิศให้แก่คนอื่น ๆ จะโดยกล่าวให้ด้วยวาจา หรือเขียนเป็นตัวอักษรก็ตาม จิตของบุคคลผู้รับเกิดความโสมนัสขึ้น แล้วกล่าวคำว่า สาธุ ย่อมสำเร็จเป็นกุศลปัตตานุโมทนาแล้ว หรือ การยินดีในบุญที่ บุคคลอื่นได้ทำสำเร็จแล้ว เช่น การเห็นบุคคลอื่นเขากำลังทำบุญกุศลอยู่ หรือเห็นปูชนียสถาน ที่เป็นวัตถุก่อสร้างจารึกชื่อผู้สร้างอุทิศถวายแล้ว เกิดปีติโสมนัส ขึ้นมาได้เปล่งวาจาสาธุ อนุโมทนาบุญกับเขา ก็ได้ชื่อว่า เป็นปัตตานุโมทนา </TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    ในสมัยพุทธกาล เปรตซึ่งเป็นญาติของพระเจ้าพิมพิสาร ได้พากันส่งเสียงร้องโหยหวน เพราะพระเจ้าพิมพิสาร ไม่ได้แผ่ส่วนบุญไปให้ ในสมัยที่ได้สร้างวัดเวฬุวันถวาย แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์จึงบอกให้อุทิศส่วนบุญกุศล ไปยังญาติทั้งหลายเหล่านั้น เปรตซึ่งอดีตเคยเป็นญาติ กับพระเจ้าพิมพิสาร เมื่อได้รับบุญกุศลแล้ว ก็พ้นจากความเป็นเปรต ​
    </TD></TR><TR><TD>
    </TD></TR><TR><TD>
    การกล่าวคำแผ่บุญกุศล ชนิดเจาะจงให้ผู้รับ คือ​
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=2 width=680 border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffd9b3 height=60>๙. ธรรมเทศนา (การแสดงธรรม)

    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="90%" border=0><TBODY><TR><TD>คือ การแสดงธรรม การบรรยายธรรม การสอนธรรม รวมถึงแนะนำชี้แจง วิชาการต่าง ๆ ที่ไม่มีโทษ ก็สงเคราะห์เข้าในธรรมเทศนาด้วย</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD>

    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width=500 border=1><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff height=60>
    วิชาการที่ไม่มีโทษ ท่านแสดงไว้ได้แก่วิชา






    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="93%" align=left bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD>การขี่ช้าง ขี่ม้า ขับรถ เป็นต้น
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    2 มกราคม 2552 06:38 PM
    #26354
    วันนี้( 2 มกราคม 2552) ผมมีงานบุญมาบอกกับชาววังหน้าทุกๆท่าน

    เนื่องในวันปีใหม่ของไทยเรา คือวันที่ 13 เมษายน 2552 ที่จะมาถึงนี้ ผมจะจัดงานสรงน้ำพระ บรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 5 พระองค์ ( องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมเด็จพระพุทธสิกขีที่1(สมเด็จองค์ปฐม) , องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกกุสันโธ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม โกนาคมนะ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม กัสสปะ และองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมณโคดม ) ,พระ อรหันต์ ไม่น้อยกว่า 30 พระองค์ (มีพระธาตุพระอรหันต์สมัยพุทธกาล ,หลวงปู่พระอุปคุตเถระเจ้า และพระธาตุหลวงปู่ทวด เหยียบน้ำทะเลจืด) ,พระบูชา (พระพุทธรูป ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี)

    การจัดงาน ผมจะแจ้งวันและเวลาอีกครั้ง(ผมจะแจ้งโดยตรงถึงพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ทุกๆท่านเอง) ในงานสรงน้ำครั้งนี้ ผมจะนิมนต์พระอาจารย์นิล และพระอาจารย์ผม มาฉันเพล เมื่อเสร็จสิ้นการถวายเพล และการสรงน้าแล้ว ผมจะมีการแจกพระสมเด็จให้กับทุกๆท่านที่มาร่วมงาน ผมจึงมาบอกบุญกับพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ทุกๆท่าน

    การร่วมทำบุญมีหลักเกณฑ์ดังนี้
    1.ร่วมทำบุญ 100 บาท พระสมเด็จจำนวน 1 ชุด(ขอไม่แจ้งจำนวนองค์) แต่รับพระสมเด็จ 1 องค์
    2.ส่วนที่เหลือผมจะแบ่งไปสำหรับการมอบพระสมเด็จให้กับท่านที่ไปร่วมงานสรงน้ำ
    3.ในส่วนที่แจกทุกๆท่านที่ไปร่วมงาน หากยังมีเหลือ ผมจะนำไปมอบให้กับพี่ใหญ่ เพื่อมอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญกับทุนนิธิท่านอาจารย์ประถม อาจสาครครับ
    4.จะนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    5.จะนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ที่พระอาจารย์ผมจะดำเนินการสร้างขึ้น

    หากผมนำไปบรรจุในพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งไม่ทัน ผมจะขอนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ที่พระอาจารย์ผมจะดำเนินการสร้างขึ้นนะครับ

    แต่หากว่ามีท่านที่ร่วมทำบุญมากกว่าพระสมเด็จที่มี อยู่ ผมจะนำพระพิมพ์อื่นๆมาเพิ่มเติม ในส่วนนี้ผมจะนำไปบรรจุในพระเจดีย์เพียงอย่างเดียว จะไม่มีการนำมามอบให้นะครับ

    ระยะเวลาในการร่วมทำบุญ ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2552
    สิ้นสุดวันที่ 15 มกราคม 2552 เวลา 18.00 น.

    สำหรับท่านที่มีความประสงค์ที่จะร่วมทำบุญ ผมขอพิจารณาเป็นรายท่านนะครับ เนื่องจากการโอนเงินร่วมทำบุญ จะต้องโอนเงินเข้าบัญชีผมเอง เมื่อผมตอบตกลงแล้ว ผมจะแจ้งหมายเลขบัญชีให้อีกครั้งครับ

    หมายเหตุ ท่านที่ร่วมทำบุญทุกๆท่าน เมื่อผมตอบตกลงแล้ว ให้แจ้ง ชื่อ - นามสกุล ของท่าน และบุคคลในครอบครัวของท่าน ที่ท่านประสงค์จะเป็นเจ้าภาพร่วมกัน ให้ผมทราบด้วย ผมจะได้นำรายชื่อไปแจ้งในงานสรงน้ำ ,มอบให้กับพี่ใหญ่(ในกรณีที่มอบพระให้กับทางทุนนิธิ) ,ถวายพระอาจารย์นิล และพระอาจารย์ผมครับ

    โมทนาสาธุครับ
    http://palungjit.org/showthrea...24#post1771424

    http://palungjit.org/showthrea...2445&page=1318

    รายนามท่านที่ร่วมบุญ
    1.คุณพุทธันดร ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    2.คุณชวภณ ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    3.คุณพิมพาภรณ์ ร่วมทำบุญ 100 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    4.คุณtawatd ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    5.คุณnewcomer ร่วมทำบุญ 300.72 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    6.คุณnarin96 ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    7.คุณเพชร ร่วมทำบุญ 300 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    8.คุณkwok ร่วมทำบุญ 500 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    9.คุณdrmetta ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    10.คุณgnip ร่วมทำบุญ 300 บาท
    11.คุณพรสว่าง_2008 ร่วมทำบุญ 300 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    12.คุณake7440 ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    13.คุณkaticat ร่วมทำบุญ 1,000.11 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    14.คุณnongnooo ร่วมทำบุญ 500 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    15.คุณdragonlord ร่วมทำบุญ ..... บาท
    16.คุณaries2947 ร่วมทำบุญ ..... บาท
    17.คุณ นายคัง ร่วมทำบุญ 200 บาท
    18.คุณคีตา ร่วมทำบุญ 500 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    หากผมแจ้งผิดพลาด กรุณาช่วยเตือนด้วยนะครับ

    โมทนาสาธุครับ
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  5. คีตา

    คีตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    665
    ค่าพลัง:
    +4,309
    อู้หู ... [​IMG]

    บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ เป็นแผนผัง เลย ละเอียดมากครับ สงสัยต้อง Print มานอนอ่านคืนนี้เสียแล้ว ครับ
     
  6. คีตา

    คีตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    665
    ค่าพลัง:
    +4,309
    ขอบคุณมากครับ กำลังหาอ่าน อภิธรรม พอดีเลยครับ ท่าทางจะอ่านเข้าใจง่าย

    ในเวบที่พี่ sithiphong โพสท์นั้น

    มีภาพ พระพุทธประวัติ ด้วยครับ

    ยังกะได้ไปเที่ยว อินเดีย กับเขาเลย

    นึกถึงเด็กๆ ที่กำลัง ทำรายงาน หาภาพพุทธประวัติ หากเก็บLink นี้ไว้คงมีประโยชน์มากเลยนะครับ

    http://www.buddhism-online.org/PicPreview.htm

    [​IMG]

    พอคลิ๊กไป ก็ขึ้นรูปภาพครับ
    [​IMG]

    อยากเห็นป่าหิมพานต์บ้างจัง ..!!!
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. คีตา

    คีตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    665
    ค่าพลัง:
    +4,309
    อิ้อหือ ดีมากๆเลยครับพี่ สงสยคืนนี้อ่านทั้งคืน[​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948



    เป็นบทเรียน และข้อสอบ online ด้วยนะครับ
    ดีใจที่ชอบครับ
    .​
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    2 มกราคม 2552 06:38 PM
    #26354
    วันนี้( 2 มกราคม 2552) ผมมีงานบุญมาบอกกับชาววังหน้าทุกๆท่าน

    เนื่องในวันปีใหม่ของไทยเรา คือวันที่ 13 เมษายน 2552 ที่จะมาถึงนี้ ผมจะจัดงานสรงน้ำพระ บรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 5 พระองค์ ( องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมเด็จพระพุทธสิกขีที่1(สมเด็จองค์ปฐม) , องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกกุสันโธ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม โกนาคมนะ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม กัสสปะ และองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมณโคดม ) ,พระ อรหันต์ ไม่น้อยกว่า 30 พระองค์ (มีพระธาตุพระอรหันต์สมัยพุทธกาล ,หลวงปู่พระอุปคุตเถระเจ้า และพระธาตุหลวงปู่ทวด เหยียบน้ำทะเลจืด) ,พระบูชา (พระพุทธรูป ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี)

    การจัดงาน ผมจะแจ้งวันและเวลาอีกครั้ง(ผมจะแจ้งโดยตรงถึงพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ทุกๆท่านเอง) ในงานสรงน้ำครั้งนี้ ผมจะนิมนต์พระอาจารย์นิล และพระอาจารย์ผม มาฉันเพล เมื่อเสร็จสิ้นการถวายเพล และการสรงน้าแล้ว ผมจะมีการแจกพระสมเด็จให้กับทุกๆท่านที่มาร่วมงาน ผมจึงมาบอกบุญกับพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ทุกๆท่าน

    การร่วมทำบุญมีหลักเกณฑ์ดังนี้
    1.ร่วมทำบุญ 100 บาท พระสมเด็จจำนวน 1 ชุด(ขอไม่แจ้งจำนวนองค์) แต่รับพระสมเด็จ 1 องค์
    2.ส่วนที่เหลือผมจะแบ่งไปสำหรับการมอบพระสมเด็จให้กับท่านที่ไปร่วมงานสรงน้ำ
    3.ในส่วนที่แจกทุกๆท่านที่ไปร่วมงาน หากยังมีเหลือ ผมจะนำไปมอบให้กับพี่ใหญ่ เพื่อมอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญกับทุนนิธิท่านอาจารย์ประถม อาจสาครครับ
    4.จะนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    5.จะนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ที่พระอาจารย์ผมจะดำเนินการสร้างขึ้น

    หากผมนำไปบรรจุในพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งไม่ทัน ผมจะขอนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ที่พระอาจารย์ผมจะดำเนินการสร้างขึ้นนะครับ

    แต่หากว่ามีท่านที่ร่วมทำบุญมากกว่าพระสมเด็จที่มี อยู่ ผมจะนำพระพิมพ์อื่นๆมาเพิ่มเติม ในส่วนนี้ผมจะนำไปบรรจุในพระเจดีย์เพียงอย่างเดียว จะไม่มีการนำมามอบให้นะครับ

    ระยะเวลาในการร่วมทำบุญ ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2552
    สิ้นสุดวันที่ 15 มกราคม 2552 เวลา 18.00 น.

    สำหรับท่านที่มีความประสงค์ที่จะร่วมทำบุญ ผมขอพิจารณาเป็นรายท่านนะครับ เนื่องจากการโอนเงินร่วมทำบุญ จะต้องโอนเงินเข้าบัญชีผมเอง เมื่อผมตอบตกลงแล้ว ผมจะแจ้งหมายเลขบัญชีให้อีกครั้งครับ

    หมายเหตุ ท่านที่ร่วมทำบุญทุกๆท่าน เมื่อผมตอบตกลงแล้ว ให้แจ้ง ชื่อ - นามสกุล ของท่าน และบุคคลในครอบครัวของท่าน ที่ท่านประสงค์จะเป็นเจ้าภาพร่วมกัน ให้ผมทราบด้วย ผมจะได้นำรายชื่อไปแจ้งในงานสรงน้ำ ,มอบให้กับพี่ใหญ่(ในกรณีที่มอบพระให้กับทางทุนนิธิ) ,ถวายพระอาจารย์นิล และพระอาจารย์ผมครับ

    โมทนาสาธุครับ
    http://palungjit.org/showthrea...24#post1771424

    http://palungjit.org/showthrea...2445&page=1318

    รายนามท่านที่ร่วมบุญ
    1.คุณพุทธันดร ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    2.คุณชวภณ ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    3.คุณพิมพาภรณ์ ร่วมทำบุญ 100 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    4.คุณtawatd ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    5.คุณnewcomer ร่วมทำบุญ 300.72 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    6.คุณnarin96 ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    7.คุณเพชร ร่วมทำบุญ 300 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    8.คุณkwok ร่วมทำบุญ 500 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    9.คุณdrmetta ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    10.คุณgnip ร่วมทำบุญ 300 บาท
    11.คุณพรสว่าง_2008 ร่วมทำบุญ 300 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    12.คุณake7440 ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    13.คุณkaticat ร่วมทำบุญ 1,000.11 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    14.คุณnongnooo ร่วมทำบุญ 500 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    15.คุณdragonlord ร่วมทำบุญ ..... บาท
    16.คุณaries2947 ร่วมทำบุญ ..... บาท
    17.คุณ นายคัง ร่วมทำบุญ 200 บาท
    18.คุณคีตา ร่วมทำบุญ 500 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)

    หากผมแจ้งผิดพลาด กรุณาช่วยเตือนด้วยนะครับ

    โมทนาสาธุครับ
    <!-- / message --><!-- sig -->
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <CENTER>
    อานาปานสติสูตร

    </CENTER><TABLE style="MARGIN-TOP: 0px; MARGIN-BOTTOM: 0px; MARGIN-LEFT: 0px; LINE-HEIGHT: 200%; FONT-FAMILY: 'MS Sans Serif'" borderColorDark=#79052c width="100%" align=center borderColorLight=#804000 border=0><TBODY><TR><TD width=369 height=33>[​IMG] พุทธพจน์ และ พระสูตร ๗.

    </TD><TD vAlign=center align=middle width=492 height=33>


    พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ เล่มที่ ๑๔

    </TD><TD vAlign=bottom align=right width=368 height=33>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    อานาปานสติสูตร นี้แบ่งสาระที่แสดงเป็นสำคัญๆ ได้ดังนี้
    หลักการเจริญอานาปานสต
    แสดงการเจริญอานาปานสติ แล้วย่อมทำให้สติปัฏฐาน ๔ บริบูรณ์
    แสดงการเจริญในสติปัฏฐาน ๔ ย่อมทำให้โพชฌงค์ ๗ บริบูรณ์
    และแสดงการเจริญใน โพชฌงค์ ๗ ย่อมยังให้ วิชชาและวิมุตติ บริบูรณ์

    การปฏิบัติในอานาปานสติสูตรนี้ มีข้อสังเกตุประการหนึ่งว่า ล้วนเป็นการปฏิบัติที่ต้องมีสติที่หมายถึงการระลึกรู้กำกับทั้งสิ้น จึงเป็นการเจริญสมถวิปัสสนา จึงมิได้หมายถึงการปฏิบัติในแง่สมถสมาธิที่มีเจตนากำหนดเอาลมหายใจเป็นอารมณ์หรือเครื่องกำหนดของจิตเพื่อให้เกิดสมาธิหรือฌานขึ้น เพื่อให้จิตรวมลงสงบหรือสุขแต่อย่างเดียว ดังที่เห็นได้จากการปฏิบัติธรรมกันเป็นส่วนใหญ่ทั่วไป, ดังนั้นพึงแยกแยะให้ถูกต้องด้วยว่า ขณะนั้นปฏิบัติอะไร? ต้องการฝึกสติเพื่อให้เกิดสัมมาสมาธิอันเป็นไปเพื่อการวิปัสสนา หรือฝึกฌานสมาธิล้วนๆอันเป็นเรื่องทั่วไปที่มีมานานแสนนานแม้ในเหล่าอัญญเดียรถีร์ก็ปฏิบัติกันมาตั้งแต่ก่อนพุทธกาลเสียอีก อันจัดเป็นมิจฉาสมาธิ ฌานสมาธิจึงไม่ใช่เรื่องของพระพุทธศาสนาแต่ฝ่ายเดียว, เพราะมีผู้เข้าใจสับสนกันเป็นอันมากโดยเข้าใจความนัยๆอย่างผิดๆโดยไม่รู้ตัวไปเสียว่า อานาปานสติ คือการฝึกหรือปฏิบัติฌานสมาธิที่ใช้ลมหายใจเป็นเครื่องกำหนดหรืออารมณ์ เพื่อเข้าถึงความสุขสงบเท่านั้น จึงขาดการวิปัสสนาอันเป็นหัวใจของการปฏิบัติในพระศาสนาไปเสีย การปฏิบัติธรรมจึงยังไม่บริบูรณ์แต่ก็พาให้เข้าใจผิดไปว่าได้ปฏิบัติถูกต้องหรือดีงามบริบูรณ์แล้ว จึงขาดความก้าวหน้า, ทั้งๆที่ตามความจริงแล้วอานาปานสติมิได้มีจุดประสงค์โดยตรงที่ฌานหรือสมาธิ(แต่ก็ทำให้เกิดฌานสมาธิขึ้นได้เช่นกัน!) แต่เป็นการฝึกให้มีสติตามชื่อพระสูตรอยู่แล้วพร้อมการวิปัสสนาคือสำเหนียก ที่แปลว่าศึกษานั่นเอง และสังเกตุได้ว่าสิ่งที่เกิดและกล่าวถึงในอานาปานสติสูตรนี้มีเพียงองค์ฌานปีติ สุขเพียงเท่านั้นที่เด่นชัดขึ้น อันย่อมเกิดขึ้นเป็นธรรมดาเมื่อมีจิตแน่วแน่เท่านั้นเพราะการอยู่กับการปฏิบัติหรือการพิจารณาธรรมต่างๆรวมทั้งสังขารกายอันเกิดแต่ลมหายใจ และจัดเป็นเวทนาคือความรู้สึกที่เกิดขึ้นจากอานาปานสตินี้ คือสุขเวทนาของปีติและสุขนั่นเอง แต่ไม่ถึงขั้นเลื่อนไหลไปสู่ฌานสมาธิระดับประณีตลึกซึ้งแต่อย่างใด จึงยังคงมีสติบริบูรณ์, แต่ถึงอย่างไรก็ตามทั้งสติและสมาธิก็มีความเนื่องสัมพันธ์หรือเป็นเหตุปัจจัยกัน ดังนั้นในบางครั้งก็่เลื่อนไหลไปสู่ฌานสมาธิระดับลึกประณีตขึ้นก็เป็นไปโดยสภาวธรรม(ธรรมชาติ)เนื่องจากการพักผ่อนในการพิจารณา เป็นไปโดยอาการธรรมชาติ แต่ล้วนต้องมิได้เกิดแต่เจตนาจากการติดเพลิน(นันทิ)ในความสงบ สุข ปีติ ฯ. จากผลของฌานสมาธิ อันเป็นตัณหาชนิดรูปราคะหรืออรูปราคะอันละเอียดอ่อนแต่ประการใด(ซึ่งมักเกิดขึ้นกับนักปฏิบัติแต่เป็นไปโดยไม่รู้ตัว ในผู้ที่ขาดการวิปัสสนา) กล่าวคือ โดยมิได้ด้วยเจตนาทำฌานสมาธิ มีแต่เจตนาแรงกล้าในการฝึกสติให้เห็นธรรมในกายสังขารหรือธรรมอื่นๆประกอบไปด้วยเป็นสำคัญ

    กล่าวโดยย่อก็คือ ถ้ามีสติพิจารณาอยู่ก็เป็นการเป็นสมถวิปัสสนาที่ประกอบด้วยการเจริญวิปัสสนา กล่าวคือ เจริญทั้งสติ, สมาธิ และปัญญา, เพราะสตินั้นเนื่องสัมพันธ์ให้เกิดสมาธิด้วย และการพิจารณาตามดังธรรมบรรยายก็ยังให้เกิดปัญญา จึงเป็นการเจริญสมถวิปัสสนาอย่างครบถ้วนกระบวนความ, แต่ถ้าเพราะต้องการอาศัยลมหายใจเป็นเครื่องกำหนดเพื่อให้จิตสงบแน่วแน่แต่ฝ่ายเดียวก็เป็นการเจริญแต่สมาธิ แต่ถ้ายึดในอารมณ์ที่เกิดขึ้นหรือลงภวังค์ก็เป็นเจริญฌาน ที่ปฏิบัติกันโดยทั่วๆไปในอัญญเดียรถีร์ด้วย จึงควรทำให้ถูกต้องตามเจตนาด้วย จึงจักถือว่าถูกต้องดีงาม เพราะลมหายใจนั้นสามารถใช้เป็นอารมณ์หรือเครื่องกำหนดในการปฏิบัติ วิปัสสนา สติ สมาธิหรือฌาน ก็ได้ ขึ้นอยู่กับนักปฏิบัติเองเป็นสำคัญ อันจะเกิดขึ้นและเป็นไปดังนี้

    กล่าวโดยสรุป ในการปฏิบัติโดยย่อก็คือ จิตที่สงบสบายแต่อานาปานสติแล้ว ดำเนินต่อไปในการเจริญวิปัสสนาต่างๆเสียนั่นเอง
    มิจฉาสมาธิ ย่อมบังเกิดแก่ผู้มีมิจฉาสติ
    สัมมาสมาธิ ย่อมบังเกิดแก่ผู้มีสัมมาสติ
    มิจฺฉาสติสฺส มิจฺฉาสมาธิ ปโหติ
    สมฺมาสติสฺส สมฺมาสมาธิ ปโหติ
    (อวิชชาสูตร ๑๙/๑)

    [​IMG]

    ๘. อานาปานสติสูตร (๑๑๘)
    [๒๘๒] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปราสาทของอุบาสิกาวิสาขา มิคารมารดา ในพระวิหารบุพพาราม เขตพระนครสาวัตถี พร้อมด้วยพระสาวก ผู้เถระมีชื่อเสียงเด่นมากรูปด้วยกัน เช่น ท่านพระสารีบุตร ท่านพระมหาโมคคัลลานะ ท่านพระมหากัสสป ท่านพระมหากัจจายนะ ท่านพระมหาโกฏฐิตะ ท่านพระมหากปิณะ ท่านพระมหาจุนทะ ท่านพระเรวตะ ท่านพระอานนท์ และ พระสาวกผู้เถระมีชื่อเสียงเด่นอื่นๆ ก็สมัยนั้นแล พระเถระทั้งหลายพากันโอวาท พร่ำสอนพวกภิกษุอยู่ คือ พระเถระบางพวกโอวาทพร่ำสอนภิกษุ ๑๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๒๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๓๐ รูปบ้าง บางพวก โอวาทพร่ำสอน ๔๐ รูปบ้าง ฝ่ายภิกษนวกะเหล่านั้น อันภิกษุผู้เถระโอวาทพร่ำ สอนอยู่ ย่อมรู้ชัดธรรมวิเศษอย่างกว้างขวางยิ่งกว่าที่ตนรู้มาก่อน ฯ
    [๒๘๓] ก็สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคมีภิกษุสงฆ์ห้อมล้อมประทับนั่งกลางแจ้ง ในราตรีมีจันทร์เพ็ญ วันนั้นเป็นวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ ทั้งเป็นวันปวารณาด้วย ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงเหลียวดูภิกษุสงฆ์ ซึ่งนิ่งเงียบอยู่โดยลำดับ จึงตรัสบอกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราปรารภในปฏิปทานี้ เรามีจิตยินดีในปฏิปทานี้ เพราะฉะนั้นแล พวกเธอจงปรารภความเพียร เพื่อถึงคุณ ที่ตนยังไม่ถึง เพื่อบรรลุคุณ ที่ตนยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งคุณ ที่ตนยังไม่ทำให้แจ้ง โดยยิ่งกว่าประมาณเถิด เราจักรออยู่ในเมืองสาวัตถีนี้แล จนถึงวันครบ ๔ เดือนแห่งฤดูฝน เป็นที่บานแห่งดอกโกมุท

    พวกภิกษุ ชาวชนบททราบข่าวว่า พระผู้มีพระภาคจักรออยู่ในเมืองสาวัตถีนั้น จนถึงวันครบ ๔ เดือนแห่ง ฤดูฝน เป็นที่บานแห่งดอกโกมุท จึงพากันหลั่งไหลมายังพระนครสาวัตถี เพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาค ฝ่ายภิกษุผู้เถระเหล่านั้นก็พากันโอวาทพร่ำสอนภิกษนวกะ เพิ่มประมาณขึ้น คือ ภิกษุผู้เถระบางพวกโอวาทพร่ำสอนภิกษุ ๑๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๒๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๓๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๔๐ รูปบ้าง และภิกษุนวกะเหล่านั้น อันภิกษุผู้เถระโอวาทพร่ำสอนอยู่ ย่อมรู้ชัดธรรมวิเศษอย่างกว้างขวางยิ่งกว่าที่ตนรู้มาก่อน ฯ

    [๒๘๔] ก็สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคมีภิกษุสงฆ์ห้อมล้อมประทับนั่งกลางแจ้ง ในราตรีมีจันทร์เพ็ญ เป็นวันครบ ๔ เดือนแห่งฤดูฝน เป็นที่บาน แห่งดอกโกมุท วันนั้นเป็นวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงเหลียวดูภิกษุสงฆ์ ซึ่งนิ่งเงียบอยู่โดยลำดับ จึงตรัสบอกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บริษัทนี้ไม่คุยกัน บริษัทนี้เงียบเสียงคุย ดำรงอยู่ในสารธรรมอันบริสุทธิ์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุสงฆ์นี้ บริษัทนี้เป็นเช่นเดียวกันกับ บริษัทที่ควรแก่การคำนับ ควรแก่การต้อนรับ ควรแก่ทักษิณาทาน ควรแก่การกระทำอัญชลี เป็นเนื้อนาบุญของโลกอย่างหาที่อื่นยิ่งกว่ามิได้ ภิกษุสงฆ์นี้ บริษัทนี้เป็นเช่นเดียวกันกับบริษัทที่เขาถวายของน้อย มีผลมาก และถวายของมาก มีผลมากยิ่งขึ้น ภิกษุสงฆ์นี้ บริษัทนี้เป็นเช่นเดียวกันกับบริษัท อันชาวโลกยากที่จะได้พบเห็น ภิกษุสงฆ์นี้ บริษัทนี้เป็นเช่นเดียวกันกับบริษัทอันสมควร ที่แม้คนผู้เอาเสบียงคล้องบ่าเดินทางไปชมนับเป็นโยชน์ๆ ฯ

    [๒๘๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ผู้เป็น พระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนแล้วโดยลำดับ สิ้นสัญโญชน์ในภพแล้ว พ้นวิเศษ แล้วเพราะรู้ชอบ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ผู้เป็นอุปปาติกะ เพราะ สิ้นสัญโญชน์ส่วนเบื้องต่ำทั้ง ๕ จะได้ปรินิพพานในโลกนั้นๆ มีอันไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็นธรรมดา แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ผู้เป็นพระสกคาทามี เพราะสิ้นสัญโญชน์๓ อย่าง และเพราะทำราคะ โทสะ โมหะให้เบาบาง มายังโลกนี้อีกครั้งเดียวเท่านั้น ก็จะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุสงฆ์นี้ ก็มีอยู่ ฯ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ผู้เป็นพระโสดาบัน เพราะ สิ้นสัญโญชน์ ๓ อย่าง มีอันไม่ตกอบายเป็นธรรมดา แน่นอนที่จะได้ตรัสรู้ในเบื้องหน้า แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียร ในอันเจริญสติปัฏฐาน ๔ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ

    [๒๘๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบ ความเพียรในอันเจริญสัมมัปปธาน อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความ เพียรในอันเจริญอิทธิบาท ๔ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความ เพียรในอันเจริญอินทรีย์ ๕ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความ เพียรในอันเจริญพละ ๕ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความ เพียรในอันเจริญโพชฌงค์ ๗ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความ เพียรในอันเจริญมรรค มีองค์ ๘ อันประเสริฐอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความ เพียรในอันเจริญเมตตาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความ เพียรในอันเจริญกรุณาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความ เพียรในอันเจริญมุทิตาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียร ในอันเจริญอุเบกขาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียร ในอันเจริญอสุภสัญญาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียร ในอันเจริญอนิจจสัญญาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ

    [๒๘๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบ ความเพียรในอันเจริญอานาปานสติอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก
    ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อม บำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้
    ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์ได้
    ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ ๗ แล้ว ทำให้มาก แล้ว ย่อมบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้ ฯ

    [๒๘๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อานาปานสติอันภิกษุเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงมีผลมาก มีอานิสงสมาก
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างก็ดีนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติมั่นเฉพาะหน้า เธอย่อมมีสติหายใจออก มีสติหายใจเข้า, เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า หายใจออกยาว, หรือเมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้ายาว, เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้น, หรือเมื่อหายใจ เข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก, ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก, ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ปีติ หายใจออก, ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ ปีติ หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิต หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิต หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจออก ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจออก ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจออก ว่าเราจักเป็น ผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณา ความคลายกำหนัด หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัด หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจออก, ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็น ผู้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจเข้า, ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้แล จึงมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ฯ
    [๒๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงบำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด เมื่อภิกษุหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า หายใจออกยาว, หรือเมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้ายาว, เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้น, หรือเมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายมีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ดูกร ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวลมหายใจออก ลมหายใจเข้า นี้ ว่าเป็นกายชนิดหนึ่ง ในพวกกาย เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกาย(เพราะ)มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ (ย่อม)กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ (เพราะทำเหตุ กล่าวคือมีสติ รู้สึกตัวไม่ซัดส่ายไปปรุงแต่งนั่นเอง อภิชฌาและโทมนัสจึงระงับไปด้วยปฎิจจสมุปบันธรรมจึงมิได้หมายถึงต้องกระทำอะไรๆเพื่อกำจัดอภิชฌาและโทมนัส)

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุสำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ ปีติ หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ ปีติ หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเรา จักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจเข้า, ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและ โทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวการใส่ใจ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้าเป็นอย่างดีนี้ ว่าเป็นเวทนาชนิดหนึ่ง ในพวกเวทนา เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่า พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุสำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนด รู้จิต หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิต หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจัก ทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจออก ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจออก ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจเข้า, ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า พิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล่าว อานาปานสติแก่ภิกษุผู้เผลอสติ ไม่รู้สึกตัวอยู่ เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่า พิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌา และโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุสำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณา ความไม่เที่ยง หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัด หายใจออก ว่าเราจัก เป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัด หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจเข้า, สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจเข้า, ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า พิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ เธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสด้วย ปัญญาแล้ว ย่อมเป็นผู้วางเฉยได้ดี เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่า พิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและ โทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ชื่อว่าบำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้ ฯ

    [๒๙๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน ๔ แล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงบำเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์ได้
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌา และโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ในสมัยนั้น สติย่อมเป็นอันเธอผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ไม่เผลอเรอ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด สติเป็นอันภิกษุเข้าไปตั้งไว้แล้วไม่เผลอเรอ ในสมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ เธอเมื่อเป็นผู้ มีสติ อย่างนั้นอยู่ ย่อมค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นได้ด้วยปัญญา ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเป็นผู้มีสติอย่างนั้นอยู่ ย่อมค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา ในสมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ เธอเมื่อค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมด้วยปัญญาอยู่ ย่อมเป็นอันปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา ปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ในสมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญวิริยสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ปีติปราศจากอามิสย่อมเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ปรารภความเพียรแล้ว ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ปีติปราศจากอามิสเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ปรารภ ความเพียรแล้ว ในสมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญปีติสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญ และความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุผู้มีใจเกิดปีติ ย่อมมีทั้งกายทั้งจิตระงับได้ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ทั้งกายทั้งจิตของภิกษุผู้มีใจเกิดปีติ ระงับได้ ในสมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า ย่อมเจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญ และความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุผู้มีกายระงับแล้ว มีความสุข ย่อมมีจิตตั้งมั่น ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด จิตของภิกษุผู้มีกายระงับแล้ว มีความสุข ย่อมตั้งมั่น ในสมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความ เจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุนั้น ย่อมเป็นผู้วางเฉยจิตที่ตั้งมั่นแล้วเช่นนั้น ได้เป็นอย่างดี ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเป็นผู้วางเฉยจิตที่ตั้งมั่นแล้วเช่นนั้นได้ เป็นอย่างดี ในสมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ในสมัยนั้น สติย่อมเป็นอันเธอผู้เข้าไปตั้งไว้แล้วไม่เผลอเรอ..........ฯลฯ (เหมือนดังข้างต้นใน เห็นกายในกาย)
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ในสมัยนั้น สติย่อมเป็นอันเธอผู้เข้าไปตั้งไว้แล้วไม่เผลอเรอ..........ฯลฯ (เหมือนดังข้างต้น)
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ในสมัยนั้น สติย่อมเป็นอันเธอผู้เข้าไปตั้งไว้แล้วไม่เผลอเรอ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด สติเป็นอันภิกษุเข้าไปตั้งไว้แล้ว ไม่เผลอเรอ ในสมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความ บริบูรณ์แก่ภิกษุ เธอเมื่อเป็นผู้มีสติอย่างนั้นอยู่ ย่อมค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความ พิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเป็นผู้มีสติอย่างนั้นอยู่ ย่อมค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา ในสมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ เมื่อ เธอค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญาอยู่ ย่อมเป็นอัน ปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรม นั้นด้วยปัญญา ปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ในสมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ย่อม เป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญวิริยสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ปีติปราศจากอามิส ย่อมเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ปรารภความเพียรแล้ว ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ปีติปราศจากอามิสเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ปรารภ ความเพียรแล้ว ในสมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญปีติสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญ และความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุผู้มีใจเกิดปีติ ย่อมมีทั้งกายทั้งจิตระงับได้ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ทั้งกายทั้งจิตของภิกษุผู้มีใจเกิดปีติ ระงับได้ ในสมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุ ชื่อว่าย่อมเจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ย่อมถึง ความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุผู้มีกายระงับแล้ว มีความสุข ย่อมมีจิต ตั้งมั่น ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด จิตของภิกษุผู้มีกายระงับแล้ว มีความสุข ย่อมตั้งมั่น ในสมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความ เจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุนั้นย่อมเป็นผู้วางเฉยจิตที่ตั้งมั่นแล้วเช่นนั้น ได้เป็นอย่างดี ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเป็นผู้วางเฉยจิตที่ตั้งมั่นแล้วเช่นนั้นได้ เป็นอย่างดี ในสมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ย่อมถึง ความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน ๔ แล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ชื่อว่าบำเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์ได้ ฯ

    [๒๙๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ ๗ แล้วอย่างไร ทำให้ มากแล้วอย่างไร จึงบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้
    ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อความปลดปล่อย
    ย่อมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อความปลดปล่อย
    ย่อม เจริญวิริยสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อความปลดปล่อย
    ย่อมเจริญปีติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อความปลดปล่อย
    ย่อมเจริญปัสสัทธิ สัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อความปลดปล่อย
    ย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อความปลดปล่อย
    ย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อความปลดปล่อย
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ ๗ แล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ชื่อว่าบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้ ฯ
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ

    <CENTER>

    จบ อานาปานสติสูตร ที่ ๘
    </CENTER>
    [​IMG]


    อานาปานสติภาวนา
    <TABLE style="MARGIN-TOP: 0px; MARGIN-BOTTOM: 0px; MARGIN-LEFT: 0px; LINE-HEIGHT: 200%; FONT-FAMILY: 'MS Sans Serif'" borderColorDark=#79052c width="100%" align=center borderColorLight=#804000 border=0><TBODY><TR><TD width=369 height=33>[​IMG] พุทธพจน์ และ พระสูตร ๗.
    </TD><TD vAlign=center align=middle width=491 height=33>พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ เล่มที่ ๑๓
    </TD><TD vAlign=bottom align=right width=369 height=33>[​IMG]คลิกขวาเมนู

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [๑๔๖] ดูกรราหุล เธอจงเจริญอานาปานสติภาวนาเถิด เพราะอานาปานสติที่บุคคล เจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมมีผล มีอานิสงส์ใหญ่.
    ก็อานาปานสติอันบุคคลเจริญอย่างไร ทำให้มากอย่างไร จึงมีผลใหญ่ มอานิสงส์ใหญ่?
    ดูกรราหุล ภิกษุในธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างก็ดี
    นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า เธอมีสติหายใจออก มีสติหายใจเข้า.
    เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า หายใจออกยาว เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้ายาว.
    เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้น เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักกำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก ย่อมสำเหนียก ว่า จักกำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักระงับกายสังขาร หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักระงับกายสังขาร หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักกำหนดรู้ปีติ หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักกำหนดรู้ปีติ หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักกำหนดรู้สุข หายใจออก ย่อม สำเหนียกว่า จักกำหนดรู้สุข หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักกำหนดรู้จิตสังขาร หายใจออก ย่อม สำเหนียกว่า จักกำหนดรู้จิตสังขาร หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักระงับจิตสังขาร หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักระงับจิตสังขาร หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักกำหนดรู้จิต หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักกำหนดรู้จิต หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักทำจิตให้ร่าเริง หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักดำรงจิตมั่น หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักดำรงจิตมั่น หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักเปลื้องจิต หายใจออก ย่อม สำเหนียกว่า จักเปลื้องจิต หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักพิจารณาโดยความเป็นของไม่เที่ยง หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักพิจารณาโดยความเป็นของไม่เที่ยงหายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียก ว่า จักพิจารณาธรรมอันปราศจากราคะ หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักพิจารณาธรรมอันปราศจากราคะ หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักพิจารณาธรรมเป็นที่ดับสนิท หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักพิจารณาธรรมเป็นที่ดับสนิท หายใจเข้า.
    ย่อมสำเหนียกว่า จักพิจารณาธรรมเป็นที่ สละคืน หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า จักพิจารณาธรรมเป็นที่สละคืน หายใจเข้า.
    ดูกรราหุล อานาปานสติที่บุคคลเจริญแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้ ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่
    ดูกรราหุล เมื่ออานาปานสติอันบุคคลเจริญแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้ ลมอัสสาสะปัสสาสะ อันมีในภายหลัง
    อันบุคคลผู้เจริญอานาปานสติทราบชัดแล้ว ย่อมดับไป หาเป็น อันบุคคลผู้เจริญอานาปานสติไม่ทราบชัดแล้ว ดับไปไม่ได้ดังนี้.
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ท่านพระราหุลมีใจยินดีชื่นชมพระภาษิตของ พระผู้มีพระภาค ดังนี้แล.

    <CENTER>

    จบ มหาราหุโลวาทสูตร ที่ ๒. </CENTER>
    [​IMG]


    แนวทางปฏิบัติ อานาปานสติ โดยท่านพุทธทาสภิกขุ

    การใช้อานาปานสติไปในกายคตาสติ
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    <TABLE style="MARGIN-TOP: 0px; MARGIN-BOTTOM: -3mm; MARGIN-LEFT: 0px; LINE-HEIGHT: 100%" borderColorDark=#79052c width=195 align=center borderColorLight=#804000 border=0><TBODY><TR><TD width=189><SCRIPT language=JavaScript1.2>/*Neon Lights TextBy JavaScript Kit (http://javascriptkit.com)Over 400+ free scripts here!*/var message="กายคตาสติสูตร"var neonbasecolor="3399FF"var neontextcolor="0000FF"var flashspeed=200 //in milliseconds///No need to edit below this line/////var n=0if (document.all||document.getElementById){document.write('')for (m=0;m<message.length;m++)document.write(''+message.charAt(m)+'')document.write('')}elsedocument.write(message)function crossref(number){var crossobj=document.all? eval("document.all.neonlight"+number) : document.getElementById("neonlight"+number)return crossobj}function neon(){//Change all letters to base colorif (n==0){for (m=0;m<message.length;m++)//eval("document.all.neonlight"+m).style.color=neonbasecolorcrossref(m).style.color=neonbasecolor}//cycle through and change individual letters to neon colorcrossref(n).style.color=neontextcolorif (n<message.length-1)n++else{n=0clearInterval(flashing)setTimeout("beginneon()",1500)return}}function beginneon(){if (document.all||document.getElementById)flashing=setInterval("neon()",flashspeed)}beginneon()</SCRIPT>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.nkgen.com/486.htm

    <TABLE style="MARGIN-TOP: 0px; MARGIN-BOTTOM: 0px; MARGIN-LEFT: 0px; LINE-HEIGHT: 200%; FONT-FAMILY: 'MS Sans Serif'" borderColorDark=#79052c width="100%" align=center borderColorLight=#804000 border=0><TBODY><TR><TD width=375>[​IMG] พุทธพจน์ และ พระสูตร ๘.
    </TD><TD vAlign=center align=middle width=473>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔
    </TD><TD vAlign=bottom align=right width=379>[​IMG]คลิกขวาเมนู

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    กายคตาสติมาจากการสมาสของคำว่ากาย + คติ + สติจึงหมายถึง การมีสติ ในการเห็นทางดำเนินและเป็นไปของกายอย่างปรมัตถ์หรือตามความเป็นจริง, สติที่เป็นไปในกาย, สติอันพิจารณากาย ให้เห็นตามสภาพที่มีส่วนประกอบ ซึ่งล้วนเป็นของไม่สะอาด ไม่งาม น่ารังเกียจ เป็นปฏิกูล ทำให้เกิดความรู้เท่าทัน ไม่หลงใหลมัวเมา เกิดความหน่ายหรือนิพพิทาไปในทั้งกายตนแลผู้อื่น, ซึ่งใช้หลักในการเจริญวิปัสสนาเหมือนกับกายานุปัสสนาในสติปัฏฐาน ๔ นั่นเองที่เป็นการใช้สติพิจารณากายเป็นอารมณ์ ในลักษณะเดียวกัน
    กายคตาสติ เป็นการปฏิบัติพระกรรมฐานที่ดีงาม กล่าวคือเป็นการปฏิบัติสมถวิปัสสนา ที่ประกอบด้วยทั้ง สติ สมาธิ และปัญญา ทั้ง ๓ กล่าวคือ เมื่อมีสติ ย่อมเกิดสมาธิหรือจิตตั้งมั่นจากความสงบระงับจากการปฏิบัติอานาปานสติ หรืออิริยบถ หรือสัมปชัญญะ แล้วนำมาเป็นกำลังในการเจริญวิปัสสนาใน ปฏิกูลมนสิการบ้าง ธาตุมนสิการบ้าง หรือ นวสีวถิกาบ้าง เพื่อให้เห็นความจริงเกี่ยวกับกาย ว่าไม่งาม น่าปฏิกูล ของเหล่ากายทั้งปวง กล่าวคือพิจารณาให้เห็นความจริงที่เป็นไปทั้งในกายตนและในกายผู้อื่น เพื่อยังให้เกิดนิพพิทา จึงบรรเทาหรือดับตัณหาอันเป็นสมุทัยเหตุแห่งทุกข์, จัดเป็น ๑ ในอนุสติ ๑๐ ที่ควรระลึกถึงอยู่เนืองๆ
    และทั้งสติและสมาธิที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติกายคตาสติอย่างถูกต้องดีงาม ก็ย่อมคือสัมมาสติและสัมมาสมาธิในองค์มรรค(มรรคปฏิบัติที่มีองค์ ๘) ที่จักพึงยังให้เกิดสัมมาญาณ(สัมมาปัญญา)ในที่สุด อันเป็นมรรคองค์ที่ ๙ ในสัมมัตตะ ๑๐ หรือมรรคมีองค์ ๑๐ ของพระอริยเจ้าเป็นที่สุด

    อนึ่งพึงระวังอาการจิตส่งใน ด้วยเข้าใจผิดว่าเป็นกายคตาสติ หรือกายานุปัสสนาในสติปัฏฐาน ๔ จิตส่งในนั้นเป็นการปฏิบัติผิด ที่ส่งจิตไปคอยจดจ้องหรือแช่นิ่งอยู่ภายใน คอยเสพรสชาดอันแสนสบายที่เกิดขึ้นจากอำนาจของฌานสมาธิที่ยังให้เกิดความสุข สงบ สบายขึ้น จนติดเพลิน, ส่วนกายคตาสติและกายานุปัสสนาเป็นสมถวิปัสสนาอันดีงามยิ่ง ที่อาศัยสมาธิเป็นกำลังให้จิตไม่ซัดส่ายหรือดำริพล่านออกไปปรุงแต่งภายนอกและยังประกอบด้วยการเจริญวิปัสสนาให้เห็นความจริงยิ่งเกี่ยวกับกาย เพื่อให้เกิดนิพพิทา คลายกำหนัด จิตจึงหลุดพ้น

    กายคตาสติสูตร แสดงแนวทางปฏิบัติเป็น ๗ แบบด้วยกัน
    ๑. อานาปานสติ [​IMG] การมีสติ โดยการใช้สติไปในการพิจารณาลมหายใจเข้าและออก เมื่อกายวิเวกจากสถานที่อันสงัด ดังนั้นเมื่อปฏิบัติอานาปานสติอันย่อมยังให้เกิดจิตวิเวกกล่าวคือละความคิดปรุงแต่งฟุ้งซ่านหรือความดำริพล่านลงไปเสีย ก็เพื่อเป็นกำลังไปดำเนินการเจริญวิปัสสนาในกายแบบต่างๆ อาทิเช่น ปฏิกูลมนสิการบ้าง ธาตุมนสิการบ้าง หรือนวสีวถิกาบ้าง
    ๒. อิริยาบถ [​IMG] สติในอิริยาบถต่างๆ อันย่อมยังให้เกิดจิตวิเวกละความคิดหรือความดำริพล่านลงไปเสียได้ ย่อมส่งผลให้ไม่ถูกครอบงำหรือกวัดแกว่งไปเกิดทุกข์ขึ้น ด้วยจุดประสงค์เดียวกันกับอานาปานสติข้างต้นนั่นเอง
    ๓. สัมปชัญญะ [​IMG] สติในอิริยาบถที่ต่อเนื่องหรือเนื่องสัมพันธ์ หรือรู้ตัวทั่วพร้อม อันย่อมยังให้เกิดจิตวิเวก ละความคิดหรือดำริพล่านลงไปเสียเช่นเดียวกัน
    ๔. ปฏิกูลมนสิการ [​IMG] สติและจิตที่ตั้งมั่นขึ้นเหล่านั้นจากการระงับความดำริพล่านลงไปแล้ว นำมาพิจารณาใส่ใจให้เห็นความจริงเกี่ยวกับกายว่าไม่งาม มีความเป็นปฏิกูลในกาย เพื่อให้เกิดนิพพิทา จึงคลายความกำหนัด ความมัวเมาความหลงไหลไปทั้งในกายตนแลผู้อื่น
    ๕. ธาตุมนสิการ [​IMG] สติพิจารณาแบบแยกกาย ที่แลดูเป็นชิ้นเป็นมวลเป็นก้อนเดียวกันนั้นด้วยฆนะ จึงเป็นมายาล่อลวงจิตให้เห็นผิดไปจากความจริง จึงจำแนกแยกออกให้เห็นความจริงในธาตุ ๔ ให้เห็นความจริงที่ว่า กายสักประกอบมาแต่ธาตุ ๔ ที่เมื่อไม่เป็นสังขารปรุงแต่งกันแล้ว ล้วนแต่ไม่งาม ไม่สะอาด ล้วนปฏิกูล เหมือนกันทั้งหมดทั้งสิ้นทุกบุคคล เขา เรา
    ๖. นวสีวถิกา [​IMG] สติพิจารณาอสุภะหรือศพในระยะหรือแบบต่างๆ ให้เห็นว่า กายนี้ถ้าทิ้งไว้ดังนี้ ย่อมมีความเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นจากนี้ไปได้แม้ในกายนี้ หรือกายใดๆก็ตามที
    ๗. เจริญในฌานต่างๆ [​IMG] ยามเมื่อสงัดจากกามและอกุศลธรรม กล่าวคือเมื่อทั้งกายวิเวกและอุปธิวิเวกฌานก็เจริญขึ้นได้, อุปธิวิเวกหรือสงัดจากกามและอกุศลธรรมจึงสามารถเกิดขึ้นจากการพิจารณากายในข้อ ๔,๕,๖ หรือก็คือเมื่อระงับความดำริพล่านลงไปได้แล้ว ก็นำเอาข้อธรรม ๔,๕,๖ มาเป็นวิตก วิจารในการเจริญฌาน หรือเป็นอารมณ์ในการเจริญสมาธิเสียโดยตรง กล่าวคือวิปัสสนาสมาธ โดยการนำปฏิกูลมนสิการ หรือธาตุมนสิการ หรือนวสีวถิกามาเป็นหัวข้อในการคิดพิจารณาอย่างแนบแน่น แทนคำบริกรรมหรือลมหายใจเลยก็ได้ และสามารถเกิดฌานระดับประณีตต่างๆขึ้นตามลำดับได้เองอีกด้วย
    [​IMG]

    ๙. กายคตาสติสูตร
    [๒๙๒]ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่พระวิหารเชตวัน อารามของ อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล ภิกษุมากด้วยกันกลับจากบิณฑบาต ภายหลังเวลาอาหารแล้ว นั่งประชุมกันในอุปัฏฐานศาลา เกิดข้อสนทนากันขึ้นในระหว่างดังนี้ว่า
    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย น่าอัศจรรย์จริง ไม่น่าเป็นไปได้เลย เท่าที่พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้ทรงรู้ ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสกายคตาสติที่ภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ว่ามีผลมาก มีอานิสงส์มากนี้ ข้อสนทนากันในระหว่างของภิกษุเหล่านั้น ค้างอยู่เพียงเท่านี้แล ฯ

    [๒๙๓]ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากสถานที่ทรงหลีกเร้นอยู่ ในเวลาเย็น เสด็จเข้าไปยังอุปัฏฐานศาลานั้น ครั้นแล้วจึงประทับนั่ง ณ อาสนะ ที่เขาแต่งตั้งไว้ แล้วตรัสถามภิกษุทั้งหลายว่า
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอ นั่งประชุมสนทนาเรื่องอะไรกัน และพวกเธอสนทนาเรื่องอะไรค้างอยู่ในระหว่าง ฯ
    ภิกษุเหล่านั้นทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ณ โอกาสนี้ พวกข้าพระองค์กลับจากบิณฑบาต ภายหลังเวลาอาหารแล้ว นั่งประชุมกันในอุปัฏฐานศาลา เกิดข้อสนทนากันขึ้นในระหว่างดังนี้ว่า
    ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย น่าอัศจรรย์จริง ไม่น่าเป็นไปได้เลย เท่าที่พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ผู้ทรงรู้ ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธ ตรัสกายคตาสติที่ภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ว่ามีผลมาก มีอานิสงส์มากนี้ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อสนทนากันในระหว่างของพวกข้าพระองค์ได้ค้างอยู่เพียงเท่านี้ พอดีพระผู้มีพระภาคก็เสด็จมาถึง ฯ

    [๒๙๔]พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็กายคตาสติอัน ภิกษุเจริญแล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงมีผลมาก มีอานิสงส์มาก
    ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างก็ดี นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง
    (ก็เพื่อให้ทั้งกายและใจมั่นคง ไม่เลื่อนไหลลงสู่ความง่วงงุนซึมเซา หรือภวังค์ง่ายๆ)
    ดำรงสติมั่นเฉพาะหน้า เธอย่อมมีสติ หายใจออก มีสติ หายใจเข้า
    เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า หายใจออกยาว หรือเมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้ายาว
    เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้น หรือเมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น
    สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า
    สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร (เมื่อ)ส่งตนไปในธรรมอยู่ อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ
    [เรียกเฉพาะว่า อานาปานสติพึงรู้ระลึกว่า เป็นการใช้สติเป็นสำคัญไปในกายที่หมายถึงลมหายใจอันเป็นกายสังขารอย่างหนึ่ง ที่พรั่งพร้อมทั้งสัมมาสมาธิที่หมายถึงมีความตั้งมั่น ยังมิได้มีจุดประสงค์ในฌานสมาธิระดับประณีตลึกซึ้ง ในขั้นนี้หรืออานาปานสติจึงควรประกอบด้วยสติ นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรงจะได้ไม่ให้เลื่อนไหลลงภวังค์หรือนิมิตได้ง่ายๆ เพราะไม่มีเจตนาลงลึกไปในฌานสมาธิในระดับประณีตลึกซึ้งแต่อย่างใด ถ้าเคลิบเคลิ้มหรือเลื่อนไหลลงภวังค์หรือหลับหรือเกิดนิมิตขึ้นอยู่เสมอๆ ก็อย่าหลับตาให้ลืมตา หรือแม้ลุกขึ้นยืนปฏิบัติก็ยังได้, อนึ่งพึงสังเกตุว่า เหตุเพราะสติระลึกอยู่กับลมหายใจได้ดี จึงหมายถึงย่อมไม่ซัดส่ายสอดแส่ไปคิดปรุงแต่งหรือฟุ้งซ่าน หรือก็คือการละความคิด(ดำริ)พล่านออกไปปรุงแต่งภายนอกกายสังขารคือลมหายใจนั่นเอง จึงเป็นไปตามหลักเหตุปัจจัยปฏิจจสมุปบันธรรมนั่นเอง จิตจึงเป็นธรรมเอกตั้งมั่นได้, เมื่อพิจารณาโดยแยบคายย่อมได้ทั้งความเพียร สติ สมาธิ และปัญญา]

    [๒๙๕]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุเดินอยู่ ก็รู้ชัดว่า กำลังเดิน,
    หรือยืนอยู่ ก็รู้ชัดว่ากำลังยืน, หรือนั่งอยู่ ก็รู้ชัดว่ากำลังนั่ง, หรือนอนอยู่ ก็รู้ชัดว่ากำลังนอน,
    หรือเธอทรงกายโดยอาการใดๆอยู่ ก็รู้ชัดว่า กำลังทรงกายโดยอาการนั้นๆ
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ(อิริยาบถ)

    [๒๙๖]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุย่อมเป็นผู้ทำความรู้สึกตัวในเวลาก้าวไป และถอยกลับ,
    ในเวลาแลดู และเหลียวดู, ในเวลางอแขน และเหยียดแขน, ในเวลาทรงผ้าสังฆาฏิ บาตรและจีวร,
    ในเวลา ฉัน ดื่ม เคี้ยว และลิ้ม, ในเวลาถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะ, ในเวลา เดิน ยืน นั่ง นอนหลับ ตื่น พูด และนิ่ง
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไป ในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ
    [สัมปชัญญะคล้ายข้ออิริยบถข้างต้น แต่มีสติทั่วพร้อมที่ต่อเนื่องคือมีสติเนื่องในกริยาของกายอื่นๆที่ต่อเนื่องสัมพันธ์กันไปด้วย จึงเหมาะแก่เมื่ออยู่ในกริยาการเคลื่อนไหวต่างๆอยู่ จึงมิใช่อยู่ภายในแต่อิริยบถเดียวเท่านั้นดังข้อต้น
    อนึ่งพึงสังเกตุว่าในข้อปฏิบัติทั้ง ๓ ข้างต้น เป็นการปฏิบัติไปในลักษณะฝึกสติแล้วมีสติเป็นเครื่องอยู่เพื่อละการดำริหรือความคิดพล่านลงเสีย ตามสถานะการณ์แบบต่างๆ ส่วนในข้อต่อๆไปนั้นเป็นการใช้สติไปในการพิจารณาในกาย คือเจริญวิปัสสนาไปในกายก็เป็นกายคตาสติเช่นกัน
    อนึ่งพึงระลึกว่า การปฎิบัติดังนี้ทั้ง ๓ ข้อข้างต้นนี้ เพื่อสติในกายเป็นสำคัญ จึงไม่ได้เป็นไปในลักษณะของการใช้กายเป็นอารมณ์เพื่อสมาธิเพื่อปีติสุขสงบสบายอันเคลิบเคลิ้มสุขสบายแต่อย่างเดียว ดังเป็นที่นิยมปฏิบัติกันด้วยความไม่รู้เพราะสามารถกระทำได้เช่นกันและมีการปฏิบัติไปในลักษณะนี้กันมากอีกด้วยโดยไม่รู้ตัวกล่าวคือ เมื่อกระทำไปแล้วเป็นไปในลักษณะเจตนาเพื่อให้เกิดสมาธิหรือฌานหรือองค์ฌานขึ้นแต่ฝ่ายเดียว กล่าวคือ เพื่อให้เกิดเคลิบเคลิ้ม ปีติอิ่มเอิบ, สงบ, สุข ฯ. ในอิริยบถต่างๆนั้น จึงหลงผิดคิดเอาว่าถูกต้องเพราะมีความสุข,สงบ,สบายเป็นมายาล่อลวง(แต่ก็ถือว่าถูกต้องในแง่ว่าถ้าเป็นการฝึกฌานสมาธิล้วนๆ) จึงเป็นการปฏิบัติผิดในครานี้หรือขั้นนี้ ที่มีวัตถุประสงค์คือสติเป็นสำคัญ]

    [๒๙๗]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุย่อมพิจารณากายนี้แล ข้างบนแต่พื้นเท้าขึ้นไป
    ข้างล่างแต่ปลายผมลงมา มีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ เต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ ว่ามีอยู่ในกายนี้
    ผมขนเล็บฟัน หนังเนื้อเอ็นกระดูกเยื่อในกระดูกม้าม
    หัวใจตับ พังผืด ไตปอดไส้ใหญไส้น้อยอาหารใหม่อาหารเก่า(มันสมอง) (ทั้ง ๒๐ คือเหล่าปฐวีธาตุหรือธาตุดินนั่นเอง)
    เสลดน้ำเหลืองเลือดเหงื่อมันข้นน้ำตาเปลวมันน้ำลายน้ำมูกไขข้อมูตร(ทั้ง๑๒ จัดเป็นอาโปธาตุหรือธาตุน้ำด้วยเช่นกัน)
    [สิ่งต่างๆเหล่านี้ ล้วนแต่ปฏิกูล ไม่งาม แต่เมื่อมาเป็นเหตุปัจจัยประกอบกันเป็นกลุ่มก้อนตัวตนหรือฆนะขึ้น มีผม ขน เล็บ ฟัน หนังอันแสนสกปรกมาปกปิดห่อหุ้ม และยังเป็นมายาเครื่องล่อลวงให้เห็นเป็นไปว่าเป็น มวลรวมหรือตัวตน(ฆนะ)ที่สวยงามขึ้นมาอีกด้วย แต่เมื่อจำแนกแยกชำแหละออกเป็นส่วนๆด้วยปัญญา ก็ย่อมยังแลเห็นได้ว่าโดยเนื้อแท้แล้ว ล้วนประกอบมาแต่สิ่งที่ไม่งาม เป็นปฏิกูล ไม่สะอาด และยังล้วนต้องคืนกลับสู่สภาวะเดิมๆด้วยอำนาจพระไตรลักษณ์ เหมือนกันหมดสิ้นทุกบุคคลเขาเรา - ทวัตติงสาการ]
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไถ้มีปากทั้ง ๒ ข้างเต็มด้วยธัญญชาติต่างๆ ชนิด คือ
    ข้าวสาลี ข้าวเปลือก ถั่วเขียว ถั่วทอง งา และข้าวสาร บุรุษผู้มีตาดี แก้ไถ้นั้นออกแล้ว
    พึงเห็นได้ว่า นี้ข้าวสาลี นี้ข้าวเปลือก นี้ถั่วเขียว นี้ถั่วทอง นี้งา นี้ข้าวสาร ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล
    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แล ข้างบนแต่พื้นเท้าขึ้นไป ข้างล่างแต่ปลายผมลงมา มีหนังหุ้มอยู่โดยรอบ
    เต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ ว่ามีอยู่ในกายนี้
    ผมขนเล็บฟัน หนังเนื้อเอ็นกระดูกเยื่อในกระดูกม้าม
    หัวใจตับ พังผืด ไตปอดไส้ใหญไส้น้อยอาหารใหม่อาหารเก่า(มันสมอง)
    เสลดน้ำเหลืองเลือดเหงื่อมันข้นน้ำตาเปลวมันน้ำลายน้ำมูกไขข้อมูตร
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ(แสดงภาพรวม)
    [ปฏิกูลมนสิการ การพิจารณากายให้รู้ความจริงว่า เมื่อแยกแยะชำแหละพิจารณาโดยละเอียดแต่ละส่วนด้วยปัญญาแล้ว จะเห็นส่วนประกอบต่างๆของร่างกายทั้ง ๓๒ (ทวัตติงสาการ) ล้วนไม่งาม ประกอบด้วยแต่สิ่งปฏิกูล ไม่สะอาด ก็เพราะเมื่อประกอบกันเป็นตัวตนเป็นสังขารร่างกายโดยมวลรวมหรือฆนะแล้ว ก็เกิดมายาล่อลวงให้แลเห็นเป็นไปว่าเป็นสิ่งสวยงาม จึงไม่สามารถแลเห็นตามความเป็นจริงได้
    ฝ่ายไถ้ที่มีปาก ๒ ข้าง อีกปากหนึ่งนั้นก็คือก้นรั่ว ก็ยังนำมาพิจารณาให้เกิดปัญญาได้อีกว่า จึงเติมไม่รู้จักเต็ม จึงกินไม่รู้จักพอ เป็นไถ้อันแสนปฏิกูลสกปรกชนิดที่บรรจุเท่าใดก็ไม่รู้จักเต็ม จึงต้องหมั่นเติมให้เต็มให้อิ่มอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน เป็นภาระเวร,เป็นภาระกรรมที่ต้องคอยดูแลต้องรักษาไปตลอดกาลนานจนสิ้นกาละ ทางหนึ่งพึงเข้าทางปาก อีกทางหนึ่งพึงขับถ่ายออกมา ก็แสนปฏิกูลเหลือกำลัง ภายในไส้เล็กก็ล้วนคลุกเคล้าเป็นปฏิกูลสั่งสมไปด้วยซากพืช อีกทั้งอสุภะซากศพของสัตว์น้อยใหญ่ทั้งปวง น้ำลาย น้ำย่อย น้ำดี ฯ. คลุกเคล้ากันแลไม่น่าดู เหม็นเปรี้ยวไม่น่าดอมดม ไม่สวยงามประกอบกันแลเป็นปฏิกูลยิ่งนัก ภายในจึงเป็นไปดุจดั่งสุสานใหญ่ที่แสนปฏิกูล ที่หมักหมมกันจนเป็นคูถเป็นมูตรอันยิ่งเน่าเหม็นยิ่งๆขึ้นไปภายในไส้ใหญ่ จนย่อมไม่มีใครอยากลิ้มหรือดอมดมอีกต่อไป เป็นดั่งนี้สิ้นทั้งในกายตนแลผู้อื่นล้วนสิ้น]

    [๒๙๘]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุย่อมพิจารณากายนี้แล ตามที่ตั้งอยู่
    ตามที่ดำรงอยู่ โดยธาตุว่า มีอยู่ในกายนี้ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนคนฆ่าโค หรือลูกมือของคนฆ่าโค ผู้ฉลาด ฆ่าโคแล้วนั่งแบ่งเป็นส่วนๆ ใกล้ทางใหญ่ ๔ แยก
    (ย่อมทำให้ผู้คนแลเห็น จึงย่อมทำให้ค้าขายได้ง่าย จึงหมายถึงเมื่อชำแหละเป็นส่วนๆแล้วย่อมทำให้พิจารณาได้ชัดง่ายขึ้นนั่นเอง)
    ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แล ตามที่ตั้งอยู่
    ตามที่ดำรงอยู่ โดยธาตุว่า มีอยู่ในกายนี้ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ
    [ธาตุมนสิการ การพิจารณาว่ากายทั้งปวง แม้ภายนอกแลว่างดงามด้วยมายาที่มาล่อลวงของฆนะ แต่ความจริงแล้วล้วนไม่งาม เป็นปฏิกูล สักแต่ประกอบมาจากธาตุ ๔ ดังนี้
    ธาตุดิน ที่เป็นของแข้นแข็งอันมี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า ที่ต่างเมื่อไม่ได้มีการปรุงแต่งใดๆแล้ว ก็ล้วนไม่งาม เป็นปฏิกูล ไม่สะอาด ไม่เป็นที่ต้องการของใครๆ
    ธาตุน้ำ ที่หมายถึงเป็น ของเอิบอาบ คือความเป็นของเหลว เช่น ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ น้ำมูตร ที่ล้วนปฏิกูล ไม่งามเช่นกัน ที่ต่างเมื่อไม่ปรุงแต่งใดๆแล้วก็ล้วนไม่งามไม่สะอาด ไม่เป็นที่ต้องการของใครๆ
    ธาตุลม ความเป็นของพัดไปมา ลมที่พัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมอันอยู่ในท้อง ลมอันอยู่ในลำไส้ ลมอันแล่นไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ ลมหายใจเข้า ลมหายใจออก เช่น ลมหายใจอันไม่น่าปรารถนา ลมหมักหมมเหม็นเน่าอยู่ในท้อง ต่างล้วนเน่าเหม็น ล้วนไม่มีใครอยากดอมดม ไม่เป็นที่ต้องการของใครๆ
    และธาตุไฟ ความเป็นของเร่าร้อน สิ่งที่เป็นเครื่องอบอุ่นแห่งกาย และทั้งเป็นสิ่งที่เป็นเครื่องทรุดโทรมแห่งกาย สิ่งที่เป็นเครื่องเร่าร้อนแห่งกาย สิ่งที่เป็นเครื่องทำให้แปรปรวนไปด้วยดีแห่งของที่กินแล้ว ดื่มแล้ว เคี้ยวแล้ว และของที่ลิ้มรสแล้ว กล่าวคือแปรปรวนของที่กินและลิ้มแล้วให้เป็นพลังงานและสารต่างๆออกมา ย่อมเกิดความร้อนหรือพลังงานและของเสียเน่าเหม็นจากการสันดาปภายในต่างๆเป็นมูตรคูถ เหงื่อ ฯ. ไม่เป็นที่ต้องการของใครๆ (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมของธาตุทั้ง ๔ ใน มหาหัตถิปโทปมสูตร)
    หรืออาจพิจารณาว่ากายประกอบขึ้นมาแต่การเป็นเหตุเป็นปัจจัยกันของธาตุทั้ง ๔ มาประกอบกันขึ้น ในแบบอื่นๆในบท ธาตุ๔ หรือมหาภูตรูป]

    [๒๙๙]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุเห็นศพที่เขาทิ้งใน ป่าช้า
    อันตายได้วันหนึ่ง หรือสองวัน หรือสามวัน ที่ขึ้นพอง เขียวช้ำ มีน้ำเหลืองเยิ้ม
    จึงนำเข้ามาเปรียบเทียบกายนี้ว่า แม้กายนี้แล ก็เหมือนอย่างนี้ เป็นธรรมดามีความเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงอย่างนี้ไปได้
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่า เจริญกายคตาสติ
    (นวสีวถิกาบรรพแสดงอาการของศพไว้ ๙ ระยะหรือแบบ)

    [๓๐๐]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุเห็นศพที่เขาทิ้งใน ป่าช้า อันฝูงกาจิกกิน(ลูกนัยตา ฯ)อยู่บ้าง
    ฝูงแร้งจิกกิน(เนื้อหนัง ตับ ไต ฯ)อยู่บ้าง ฝูงนกตะกรุมจิกกิน(ไส้ใหญ่ ไส้น้อย ฯ)อยู่บ้าง หมู่สุนัขบ้านกัดกิน(แขน ขา ฯ)อยู่บ้าง
    หมู่สุนัขป่ากัดกิน(กัดแทะกระดูก อวัยวะน้อยใหญ่ ฯ)อยู่บ้าง สัตว์เล็กสัตว์น้อยต่างๆชนิดฟอนกิน(แทะเล็มส่วนต่างๆทั่วกาย)อยู่บ้าง
    จึงนำเข้ามาเปรียบเทียบกายนี้ว่า แม้กายนี้แล ก็เหมือนอย่างนี้ เป็นธรรมดา มีความเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงอย่างนี้ไปได้
    เมื่อภิกษุนั้น ไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ

    [๓๐๑]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุเห็นศพที่เขาทิ้งใน ป่าช้า ยังคุมเป็นรูปร่างอยู่ด้วยกระดูก มีทั้งเนื้อและเลือดเส้นเอ็นผูกรัดไว้......
    เห็นศพที่เขาทิ้งในป่าช้า ยังคุมเป็นรูปร่างด้วยกระดูก ไม่มีเนื้อ มีแต่เลือดเปรอะเปื้อนอยู่ เส้นเอ็นยังผูกรัดไว้......
    เห็นศพที่เขาทิ้งในป่าช้า ยังคุมเป็นรูปร่างด้วยกระดูกปราศจากเนื้อและเลือดแล้ว แต่เส้นเอ็นยังผูกรัดอยู่...... [​IMG]
    เห็นศพที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นท่อนกระดูก ปราศจากเส้นเอ็นเครื่องผูกรัดแล้ว กระจัดกระจายไปทั่วทิศต่างๆ คือ
    กระดูกมืออยู่ทางหนึ่ง กระดูกเท้าอยู่ทางหนึ่ง กระดูกแข้งอยู่ทางหนึ่ง กระดูกหน้าขาอยู่ทางหนึ่ง กระดูกสะเอวอยู่ทางหนึ่ง
    กระดูกสันหลังอยู่ทางหนึ่ง กระดูกซี่โครงอยู่ทางหนึ่ง กระดูกหน้าอกอยู่ทางหนึ่ง กระดูกแขนอยู่ทางหนึ่ง กระดูกไหล่อยู่ทางหนึ่ง
    กระดูกคออยู่ทางหนึ่ง กระดูกคางอยู่ทางหนึ่ง กระดูกฟันอยู่ทางหนึ่ง กะโหลกศีรษะอยู่ทางหนึ่ง
    จึงนำเข้ามาเปรียบเทียบกายนี้ว่า แม้กายนี้แล ก็เหมือนอย่างนี้เป็นธรรมดา มีความเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงอย่างนี้ไปได้
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มี ความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่า เจริญกายคตาสติ

    [๓๐๒]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุเห็นศพที่เขาทิ้งใน ป่าช้า เป็นแต่กระดูก สีขาวเปรียบดังสีสังข์......
    เห็นศพที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นท่อนกระดูก เรี่ยราดเป็นกองๆ มีอายุเกิน ปีหนึ่ง......
    เห็นศพที่เขาทิ้งในป่าช้า เป็นแต่กระดูก ผุเป็นจุณ จึงนำเข้ามาเปรียบ เทียบกายนี้ว่า
    แม้กายนี้แล ก็เหมือนอย่างนี้ เป็นธรรมดา มีความเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงอย่างนี้ไปได้
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ
    พระสูตรในหัวข้อต่อไปนี้ เป็นการกล่าวถึงฌาน อันเป็นผลอันพึงเกิดขึ้นร่วมจากการฝึกสติและสมาธิขึ้น แต่ขอให้พึงระลึกด้วยว่ากายคตาสติ เป็นการฝึกสติ ให้มีความตั้งมั่นหรือต่อเนื่องคือสัมมาสมาธิเป็นธรรมเอกไปพร้อมๆกันนั่นเอง แต่ก็ยังให้เกิดฌานสมาธิในระดับประณีตขึ้นด้วยเป็นธรรมดา, แต่การปฏิบัติธรรมในปัจจุบัน มักนิยมปฏิบัติกันในรูปแบบของสมาธิหรือฌานฝ่ายลึกซึ้งสุขสบายแต่ฝ่ายเดียวล้วนๆ กล่าวคือเมื่อถึงเวลาปฏิบัติ ก็มานั่งปฏิบัติสมาธิหรือฌานกันล้วนๆแท้ๆ แล้วเข้าใจว่าปฏิบัติชอบแล้ว ทั้งๆที่เป็นเพียงสมาธิหรืออาจเป็นมิจฉาสมาธิอันให้โทษ ยังไม่ใช่สัมมาสมาธิในองค์มรรคอันถูกต้องดีงาม, สาเหตุใหญ่เกิดขึ้นแต่เพราะความไม่รู้(อวิชชา) แล้วในที่สุดจึงได้ติดเพลินไปในความสงบ,ความสุข อันยังความอิ่มเอิบ ซาบซ่านด้วยองค์ฌานต่างๆเสียแต่ฝ่ายเดียว โดยไม่รู้ตัวด้วยอวิชชา กล่าวคือจึงขาดการฝึกสติ และการเจริญวิปัสสนาดังหัวข้อข้างต้น ด้วยอวิชชาเป็นเหตุ จึงปฏิบัติแต่สมาธิล้วนๆขาดการฝึกสติและการวิปัสสนา ปฏิบัติคราใดแม้นานเท่าไรมาแล้วก็ตามที ก็ล้วนแต่สมาธิล้วนๆเป็นสำคัญ จึงทำให้เกิดโทษในลักษณะของการไปติดเพลินไปความสุข,สงบ,สบายในองค์ฌานกันโดยไม่รู้ตัวเป็นที่สุด เป็นจำนวนมาก เป็นส่วนใหญ่ อันคือวิปัสสนูปกิเลส, ดังนั้นในการปฏิบัติทุกครั้งจึงต้องประกอบด้วยสติ หรือการเจริญวิปัสสนาด้วยทุกครั้ง ฌานสมาธิจึงยังประโยชน์สูงสุดขึ้นได้ คือเป็นเครื่องอยู่หรือวิหารธรรมที่ให้ความอิ่มเอิบ,สุข ตลอดจนย่อมละดำริพล่านที่ก่อทุกข์ ดังที่จะแสดงตามลำดับฌานต่อไปในพระสูตร เยี่ยงนี้จึงจะไม่เกิดโทษจากการไปติดเพลินหรือเพลิดเพลินไปในฌานสมาธิ จึงเป็นประโยชน์สมดังจุดมุ่งหมายทางพุทธธรรมจริงๆ เป็นองค์มรรคที่ ๘ คือสัมมาสมาธิ, สิ่งต่างๆดังนี้ เป็นเรื่องที่พบเห็นและเป็นห่วงมากที่สุดในการปฏิบัติ จึงได้เขียนและเตือนอยู่เนืองๆ จะได้ปฏิบัติชอบอย่างถูกต้องดีงามสมดังจุดมุ่งหมาย

    [๓๐๓]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม
    เข้าปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุข เกิดแตวิเวกอยู่
    เธอยังกายนี้แล ให้คลุก เคล้า บริบูรณ์ ซาบซ่านด้วยปีติและสุข เกิดแตวิเวก
    ไม่มีเอกเทศไรๆแห่งกายทุกส่วนของเธอ ที่ปีติและสุข เกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้อง
    ดูกร ภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนพนักงานสรงสนาน หรือลูกมือของพนักงานสรงสนานผู้ฉลาด
    โรยจุณสำหรับสรงสนาน ลงในภาชนะสำริด แล้วเคล้าด้วยน้ำ ให้เป็นก้อนๆ
    ก้อนจุณสำหรับสรงสนานนั้น มียางซึมเคลือบ จึงจับกันทั้งข้างใน ข้างนอก และกลายเป็นผลึก(ก้อนใหญ่)ด้วยยาง ฉันใด
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือน กันแล ภิกษุย่อมยังกายนี้แล
    ให้คลุก เคล้า บริบูรณ์ ซาบซ่านด้วยปีติและสุข เกิดแตวิเวก
    ไม่มีเอกเทศไรๆแห่งกายทุกส่วนของเธอ ที่ปีติและสุข เกิดแต่วิเวกจะไม่ถูกต้อง
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ

    [๓๐๔]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุเข้าทุติยฌาน
    มีความผ่องใสแห่งใจภายใน มีความเป็นธรรมเอกผุดขึ้น
    เพราะสงบวิตกและวิจาร ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่
    เธอยังกายนี้แล ให้คลุก เคล้า บริบูรณ์ ซาบซ่านด้วยปีติและสุขเกิดแต่สมาธิ
    ไม่มีเอกเทศไรๆแห่งกายทุกส่วนของเธอ ที่ปีติและสุขเกิดแต่สมาธิจะไม่ถูกต้อง
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนห้วงน้ำพุ ไม่มีทางระบายน้ำทั้งในทิศตะวันออก ทั้งในทิศตะวันตก
    ทั้งในทิศเหนือ ทั้งในทิศใต้เลย และฝนก็ยังไม่หลั่งสายน้ำโดยชอบตามฤดูกาล
    ขณะนั้นแล ธารน้ำเย็นจะพุขึ้นจากห้วงน้ำนั้น แล้วทำห้วงน้ำนั้นเอง ให้คลุกเคล้า บริบูรณ์ ซาบซ่านด้วยน้ำเย็น
    ไม่มีเอกเทศไรๆแห่งห้วงน้ำทุกส่วนนั้น ที่น้ำเย็นจะไม่ถูกต้อง ฉันใด
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุย่อมยังกายนี้แล ให้คลุก เคล้า บริบูรณ์ ซาบซ่านด้วยปีติและสุขเกิดแต่สมาธิ
    ไม่มีเอกเทศไรๆ แห่งกายทุกส่วนของเธอที่ปีติและสุขเกิดแต่สมาธิจะไม่ถูกต้อง
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ

    [๓๐๕]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก
    ภิกษุเป็นผู้วางเฉย เพราะหน่ายปีติมีสติสัมปชัญญะอยู่ และเสวยสุขด้วยนามกาย
    ย่อมเข้าตติยฌาน ที่พระอริยะเรียกเธอได้ว่า ผู้วางเฉย มีสติ อยู่เป็นสุขอยู่
    เธอยังกายนี้แล ให้ คลุก เคล้า บริบูรณ์ ซาบซ่านด้วยสุขปราศจากปีติ
    ไม่มีเอกเทศไรๆแห่งกายทุกส่วนของเธอ ที่สุขปราศจากปีติจะไม่ถูกต้อง
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือน ดอกบัวขาบ หรือดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาว แต่ละชนิด
    ในกอบัวขาบ หรือในกอบัวหลวง หรือในกอบัวขาว เกิดแล้วในน้ำ
    เนื่องอยู่ในน้ำ ขึ้นตามน้ำ จมอยู่ในน้ำ อันน้ำเลี้ยงไว้ คลุกเคล้า บริบูรณ์ ซึมซาบด้วยน้ำเย็นจนถึงยอดและเง่า
    ไม่มีเอกเทศไรๆแห่งดอกบัวขาบ หรือดอกบัวหลวง หรือดอกบัวขาว ทุกส่วนที่น้ำเย็นจะไม่ถูกต้อง ฉันใด
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุย่อมยังกายนี้แล ให้คลุก เคล้า บริบูรณ์ ซาบซ่านด้วยสุขปราศจากปีติ
    ไม่มีเอกเทศไรๆแห่งกายทุกส่วนของเธอ ที่สุขปราศจากปีติจะไม่ถูกต้อง
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริ พล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายใน เท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ

    [๓๐๖]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก ภิกษุเข้าจตุตถฌาน
    อันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆได้ มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาอยู่
    เธอย่อมเป็นผู้นั่งเอาใจอันบริสุทธิ์ผุดผ่องแผ่ไปทั่วกายนี้แล
    ไม่มีเอกเทศไรๆแห่งกายทุกส่วนของเธอ ที่ใจอันบริสุทธิ์ผุดผ่องจะไม่ถูกต้อง
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษนั่งเอาผ้าขาวคลุมตลอดทั้งศีรษะ
    ไม่มีเอกเทศไรๆ แห่งกายทุกส่วนของบุรุษนั้นที่ผ้าขาวจะไม่ถูกต้อง ฉันใด
    ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุย่อมเป็นผู้นั่งเอาใจอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง แผ่ไปทั่วกายนี้แล
    ไม่มีเอกเทศไรๆ แห่งกายทุกส่วนของเธอที่ใจอันบริสุทธิ์ผุดผ่องจะไม่ถูกต้อง
    เมื่อภิกษุนั้นไม่ประมาท มีความเพียร ส่งตนไปในธรรมอยู่อย่างนี้ ย่อมละความดำริพล่านที่อาศัยเรือนเสียได้
    เพราะละความดำริพล่านนั้นได้ จิตอันเป็นไปภายในเท่านั้น ย่อมคงที่ แน่นิ่ง เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ตั้งมั่น
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้อย่างนี้ ภิกษุก็ชื่อว่าเจริญกายคตาสติ

    [๓๐๗]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไรๆ ก็ตาม เจริญกายคตาสติแล้ว ทำให้มากแล้ว ชื่อว่า
    เจริญและทำให้มากซึ่งกุศลธรรมส่วนวิชชาอย่างใดอย่างหนึ่งอันรวมอยู่ในภายในด้วย
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุคคลไรๆ ก็ตาม (เมื่อ)นึกถึงมหาสมุทรด้วยใจแล้ว (ก็)ชื่อว่านึกถึงแม่น้ำน้อยใหญ่ที่ไหลมาสู่สมุทร (ทุกๆ)สายใดสายหนึ่ง(ของแม่น้ำทั้งหลาย)อันรวมอยู่ในภายใน(มหาสมุทรนั้น)ด้วย ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตาม เจริญกายคตาสติแล้ว ทำให้มากแล้ว ชื่อว่าเจริญและทำให้มาก ซึ่งกุศลธรรมส่วนวิชชาอย่างใดอย่างหนึ่งอันรวมอยู่ในภายใน(กายคตาสตินี้)ด้วย ฯ

    [๓๐๘]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไรๆ ก็ตาม ไม่เจริญ ไม่ทำให้มาก ซึ่งกายคตาสติแล้ว มารย่อมได้ช่อง ย่อมได้อารมณ์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษเหวี่ยงก้อนศิลาหนักไปที่กองดินเปียก ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะ สำคัญความนั้นเป็นไฉน ก้อนศิลาหนักนั้น จะพึงได้ช่องในกองดินเปียก หรือหนอ ฯ
    ภิกษุเหล่านั้นทูลว่า ได้ พระพุทธเจ้าข้า ฯ
    พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตาม ไม่เจริญ ไม่ทำให้มากซึ่งกายคตาสติแล้ว มารย่อมได้ช่อง ย่อมได้อารมณ์ ฯ

    [๓๐๙]ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไมแห้งเกราะ ทันใดนั้น มีบุรุษมาถือเอาเป็นไม้สีไฟด้วยตั้งใจว่า จักก่อไฟทำเตโชธาตุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นถือเอาไม้แห้งเกราะโน้นเป็นไม้สีไฟ แล้วสีกันไป จะพึงก่อไฟทำเตโชธาตุได้ หรือหนอ ฯ
    ภิ. ได้ พระพุทธเจ้าข้า ฯ
    พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตาม ไม่เจริญ ไม่ทำให้มากซึ่งกายคตาสติแล้ว มารย่อมได้ช่อง ย่อมได้อารมณ์ ฯ

    [๓๑๐]ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนหม้อกรองน้ำว่างเปล่า อัน เขาตั้งไว้บนเครื่องรอง ทันใดนั้น มีบุรุษมาถือเอาเป็นเครื่องตักน้ำ ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นจะพึงได้น้ำเก็บไว้หรือ หนอ ฯ
    ภิ. ได้ พระพุทธเจ้าข้า ฯ
    พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตาม ไม่เจริญ ไม่ทำให้มากซึ่งกายคตาสติแล้ว มารย่อมได้ช่อง ย่อมได้อารมณ์ ฯ

    [๓๑๑]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไรๆ ก็ตาม เจริญกายคตาสติแล้วทำ ให้มากแล้ว มารย่อมไม่ได้ช่อง ไม่ได้อารมณ์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุรุษโยนกลุ่มด้ายเบาๆ ลงบนแผ่นกระดานเรียบอันสำเร็จด้วยไม้แก่นล้วน ดูกร ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน กลุ่มด้ายเบาๆนั้นจะพึงได้ช่องบนแผ่นกระดานเรียบอันสำเร็จด้วยไม้แก่นล้วน หรือหนอ ฯ
    ภิ. ไม่ได้เลย พระพุทธเจ้าข้า ฯ
    พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตาม เจริญกายคตาสติแล้ว ทำให้มากแล้ว มารย่อมไม่ได้ช่อง ไม่ได้อารมณ์ ฯ

    [๓๑๒]ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไม้สดมียาง ทันใดนั้น มีบุรุษมาถือเอาเป็นไม้สีไฟด้วยตั้งใจว่า จักก่อไฟทำเตโชธาตุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นถือเอาไม้สดมียางโน้นเป็นไม้สีไฟ แล้วสีกันไป จะพึงก่อไฟทำเตโชธาตุได้หรือหนอ ฯ
    ภิ. ไม่ได้เลย พระพุทธเจ้าข้า ฯ
    พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตาม เจริญกายคตาสติแล้ว ทำให้มากแล้ว มารย่อมไม่ได้ช่องไม่ได้อารมณ์ ฯ

    [๓๑๓]ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนหม้อกรองน้ำ มีน้ำเต็มเปี่ยม เสมอขอบปาก พอที่กาจะดื่มกินได้ อันเขาตั้งไว้บนเครื่องรอง ทันใดนั้น มีบุรุษ มาถือเอาเป็นเครื่องตักน้ำ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นจะพึงได้น้ำเก็บไว้หรือหนอ ฯ
    ภิ. ไม่ได้(เพิ่มขึ้นอีกเลย เพราะความที่มีอยู่ในหม้อกรองอยู่แล้วนั่นเอง)เลย พระพุทธเจ้าข้า ฯ
    พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตาม เจริญกายคตาสติแล้ว ทำให้มากแล้ว มารย่อมไม่ได้ช่อง ไม่ได้อารมณ์ ฯ

    [๓๑๔]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไรๆ ก็ตาม เจริญกายคตาสติแล้ว ทำ ให้มากแล้ว เธอย่อมถึงความเป็นผู้สามารถในธรรมที่ควรทำให้แจ้งด้วยความรู้ยิ่ง อันเป็นแดนที่ตนน้อมจิตไป โดยการทำให้แจ้งด้วยความรู้ยิ่งนั้นๆได้ ในเมื่อมีสติเป็นเหตุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนหม้อกรองน้ำ มีน้ำเต็มเปี่ยม เสมอขอบปาก พอที่กาจะดื่มกินได้ อันเขาตั้งไว้บนเครื่องรอง บุรุษมีกำลังมายังหม้อกรองน้ำนั้นโดยทางใดๆ จะพึงถึงน้ำได้โดยทางนั้นๆ หรือ ฯ
    ภิ. ได้ พระพุทธเจ้าข้า ฯ
    พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตาม เจริญกายคตาสติแล้ว ทำให้มากแล้ว เธอย่อมถึงความเป็นผู้สามารถในธรรมที่ควรทำ ให้แจ้งด้วยความรู้ยิ่ง อันเป็นแดนที่ตนน้อมจิตไปโดยการทำให้แจ้งด้วยความรู้ยิ่ง นั้นๆ ได้ ในเมื่อมีสติเป็นเหตุ ฯ

    [๓๑๕]ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนสระโบกขรณีสี่เหลี่ยม ในภูมิภาคที่ราบ เขาพูนคันไว้ มีน้ำเต็มเปี่ยมเสมอขอบปาก พอที่กาจะดื่มกินได้ บุรุษมีกำลังเจาะคันสระโบกขรณีนั้นทางด้านใดๆ จะพึงถึงน้ำทางด้านนั้นๆ ได้ หรือ ฯ
    ภิ. ได้ พระพุทธเจ้าข้า ฯ
    พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตามเจริญกายคตาสติแล้ว ทำให้มากแล้ว เธอย่อมถึงความเป็นผู้สามารถในธรรมที่ควรทำ ให้แจ้งด้วยความรู้ยิ่ง อันเป็นแดนที่ตนน้อมจิตไปโดยการกระทำให้แจ้งด้วยความ รู้ยิ่งนั้นๆ ได้ ในเมื่อมีสติเป็นเหตุ ฯ

    [๓๑๖]ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนรถม้าอาชาไนยเขาเทียมม้า แล้วมีแส้เสียบไว้ในที่ระหว่างม้าทั้ง๒ จอดอยู่บนพื้นที่เรียบตรงทางใหญ่ ๔ แยก นายสารถีผู้ฝึกม้า เป็นอาจารย์ขับขี่ผู้ฉลาด ขึ้นรถนั้นแล้ว มือซ้ายจับสายบังเหียน มือขวาจับแส้ ขับรถไปยังที่ปรารถนาได้ ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกันแล ภิกษุไรๆ ก็ตาม เจริญกายคตาสติแล้ว ทำให้มากแล้ว เธอย่อมถึงความเป็นผู้สามารถในธรรมที่ควรทำให้แจ้งด้วยความรู้ยิ่ง อันเป็นแดนที่ตนน้อมจิตไปโดยการกระทำให้แจ้งด้วยความรู้ยิ่งนั้นๆ ได้ในเมื่อมีสติเป็นเหตุ ฯ

    [๓๑๗]ดูกรภิกษุทั้งหลาย กายคตาสติอันภิกษุเสพแล้วโดยมาก เจริญ แล้ว ทำให้มากแล้ว ทำให้เป็นยานแล้ว ทำให้เป็นพื้นที่ตั้งแล้ว ให้ดำรงอยู่เนืองๆแล้ว อบรมแล้ว ปรารภสม่ำเสมอดีแล้ว พึงหวังอานิสงส์ ๑๐ ประการ นี้ คือ
    (๑) อดกลั้นต่อความไม่ยินดี และความยินดีได้ ไม่ถูกความไม่ยินดีครอบงำ ย่อมครอบงำความไม่ยินดีที่เกิดขึ้นแล้วอยู่ด้วย ฯ
    (๒) อดกลั้นต่อภัยและความหวาดกลัวได้ ไม่ถูกภัยและความหวาดกลัวครอบงำ ย่อมครอบงำภัยและความหวาดกลัว ที่เกิดขึ้นแล้วอยู่ด้วย ฯ
    (๓) อดทน คือเป็นผู้มีปรกติอดกลั้นต่อความหนาว ความร้อน ความหิว ความกระหาย ต่อสัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เสือกคลาน, ต่อทำนองคำพูดที่กล่าวร้าย ใส่ร้าย, ต่อเวทนาประจำสรีระที่เกิดขึ้นแล้ว อันเป็นทุกข์กล้า เจ็บแสบ ไม่ใช่ความสำราญ ไม่เป็นที่ชอบใจ พอจะสังหารชีวิตได้ ฯ
    (๔) เป็นผู้ได้ฌาน ๔ อันเกิดมีในมหัคคตจิต(อันเป็น)เครื่องอยู่สบายในปัจจุบัน ตามความปรารถนา ไม่ยาก ไม่ลำบาก ฯ
    (๕) ย่อมแสดงฤทธิ์ได้เป็นอเนกประการ คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ปรากฏตัวหรือหายตัวไปนอกฝา นอกกำแพง นอกภูเขาได้ไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ทำการผุดขึ้นและดำลงในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แตกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ เหาะไปในอากาศโดยบัลลังก์เหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์และพระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากปานฉะนี้ด้วยฝ่ามือก็ได้ ใช้อำนาจทางกายไปจนถึงพรหมโลกก็ได้ ฯ
    (๖) ย่อมฟังเสียงทั้งสอง คือ เสียงทิพย์และเสียงมนุษย์ ทั้งที่ไกลและที่ใกล้ได้ด้วยทิพยโสตธาตุ อันบริสุทธิ์ ล่วงโสตของมนุษย์ ฯ
    (๗) ย่อมกำหนดรู้ใจของสัตว์อื่น และบุคคลอื่นได้ด้วยใจ คือ จิตมีราคะก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ, จิตมีโทสะก็ รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ,จิตมีโมหะก็รู้ว่า จิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ, จิตหดหู่ก็รู้ว่าจิตหดหู่, จิตฟุ้งซ่านก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน, จิตเป็นมหัคคตะก็รู้ว่าเป็นมหัคคตะ หรือจิตไม่เป็นมหัคคตะก็รู้ว่าจิตไม่เป็นมหัคคตะ, จิตยังมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตยังมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่าก็รู้ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า, จิตตั้งมั่นก็รู้ว่าจิตตั้งมั่น หรือจิตไม่ตั้งมั่นก็รู้ว่าจิตไม่ตั้งมั่น, จิตหลุดพ้นแล้วก็รู้ว่าจิตหลุดพ้นแล้ว หรือจิตยังไม่หลุดพ้นก็รู้ว่าจิตยังไม่หลุดพ้น ฯ (เห็นจิตตสังขารหรือมโนสังขาร หรือก็คือการเห็นเจตสิกคือกลุ่มอาการของจิต)
    (๘) ย่อมระลึกถึงขันธ์ ที่อยู่อาศัยในชาติก่อนได้เป็นอเนกประการ คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติ บ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง หลายสังวัฏกัปบ้าง หลายวิวัฏกัปบ้าง หลายสังวัฏวิวัฏกัปบ้าง ว่าในชาติโน้น เรามีชื่ออย่างนี้ มีโคตรอย่างนี้ มีผิวพรรณอย่างนี้ มีอาหารอย่างนี้ เสวยสุขและทุกข์อย่างนี้ มีกำหนดอายุเท่านี้ เรานั้นเคลื่อนจากชาตินั้นแล้ว บังเกิดในชาติโน้น แม้ในชาตินั้น เราก็มีชื่ออย่างนี้ มีโคตรอย่างนี้ มีผิวพรรณอย่างนี้ มีอาหารอย่างนี้ เสวยสุขและทุกข์อย่างนี้ มีกำหนดอายุเท่านี้ เรานั้นเคลื่อนจากชาตินั้นแล้ว จึงเข้าถึงในชาตินี้ ย่อมระลึกขันธ์ที่อยู่อาศัยในชาติก่อนได้เป็นอเนกประการ พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ เช่นนี้ ฯ
    (๙) ย่อมมองเห็นหมู่สัตว์กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณ ดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ทราบชัดหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมได้ว่า สัตว์ผู้กำลังเป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบแล้วด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยะ เป็นมิจฉาทิฐิ เชื่อมั่นกรรมด้วยอำนาจมิจฉาทิฐิ เมื่อตายไป จึงได้เข้าถึงอบายทุคติวินิบาต นรก
    ส่วนสัตว์ผู้กำลังเป็นอยู่เหล่านี้ ประกอบแล้วด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียน พระอริยะ เป็นสัมมาทิฐิ เชื่อมั่นกรรมด้วยอำนาจสัมมาทิฐิ เมื่อตายไป จึงได้เข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์
    ย่อมมองเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมทราบชัดหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม เช่นนี้ ฯ
    (๑๐) ย่อมเข้าถึงเจโตวิมุตติปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ทำให้แจ้งเพราะรู้ยิ่งด้วยตนเอง ในปัจจุบันอยู่ ฯ
    ดูกรภิกษุทั้งหลายกายคตาสติอันภิกษุเสพแล้วโดยมาก เจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ทำให้เป็นยานแล้ว ทำให้เป็นพื้นที่ตั้งแล้ว ให้ดำรงอยู่เนืองๆแล้ว อบรมแล้ว ปรารภสม่ำเสมอดีแล้ว พึงหวังอานิสงส์ ๑๐ ประการได้ ดังนี้แล ฯ
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ

    <CENTER>

    จบ กายคตาสติสูตร ที่ ๙
    </CENTER>
    [​IMG]


    เคลัญญสูตร
    แสดง สติสัมปชัญญะในเวทนา

    [​IMG]

    อานาปานสติสูตร
    แสดงรายละเอียดของอานาปานสติ

    [​IMG]

    สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ที่ใช้ในการปฏิบัติพระกรรมฐาน
    สัมมาสติและสมาธิอย่างไร ที่ใช้ในการปฏิบัติกายคตาสติ ที่มักเข้าใจกันผิดจนเป็นวิปัสสนูปกิเลส
     
  12. ake7440

    ake7440 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,528
    ค่าพลัง:
    +405
    <TABLE height=34 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-LEFT: 10px">ไฟไหม้ 1-3 นาที! ตาย 4เฟส ผับก็เป็นเถ้า [5 ม.ค. 52 - 19:19]

    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle><TABLE class=text cellSpacing=0 cellPadding=10 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]ต้นพลิงโหมไหม้ซานติก้าผับ เริ่มจากจุดใดกันแน่?
    บางคนก็ว่าเริ่มจากโดมด้านบน บางคนว่าเริ่มจากเวที และหลายคนก็ไม่รู้ว่าเกิดเพลิงไหม้ เพราะกำลังสนุกกับเสียงเพลง
    ที่สำคัญ อาคารซานติก้าผับไม่มีระบบสัญญาณเตือนภัย แต่ละช่วงเวลา
    นาทีชีวิตที่ผ่านไป จึงทำให้หลายคนหนีออกมาไม่ทัน
     
  13. Shinray01

    Shinray01 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,675
    ค่าพลัง:
    +2,309
    หยุดพักสักนิด..แล้วค่อยคิดเดินต่อไป

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>
    หยุดพักสักนิด..แล้วค่อยคิดเดินต่อไป


    บางครั้งเราก็ต้องยอมหยุดชั่วขณะ

    เพื่อรอที่จะเดินต่อไป
    ไม่ใช่ดันทุรัง
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อานาปานสติ
    http://www.larnbuddhism.com/grammathan/tripitakapatibat/ana.html

    [​IMG]

    อานาปานสติสูตร

    ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปราสาทของอุบาสิกาวิสาขา มิคารมารดา ในพระวิหารบุพพาราม เขตพระนครสาวัตถี พร้อมด้วยพระสาวก ผู้เถระมีชื่อเสียงเด่นมากรูปด้วยกัน เช่น
    ท่านพระสารีบุตร ท่านพระมหาโมคคัลลานะ ท่านพระมหากัสสป ท่านพระมหากัจจายนะ ท่านพระมหาโกฏฐิตะ ท่านพระมหากปิณะ ท่านพระมหาจุนทะ ท่านพระเรวตะ ท่านพระอานนท์ และพระสาวกผู้เถระมีชื่อเสียงเด่นอื่น ๆ
    ก็สมัยนั้นแล พระเถระทั้งหลายพากันโอวาท พร่ำสอนพวกภิกษุอยู่ คือ พระเถระบางพวกโอวาทพร่ำสอนภิกษุ ๑๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๒๐ รูปบ้าง บางพวก โอวาทพร่ำสอน ๓๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๔๐ รูปบ้าง
    ฝ่ายภิกษุนวกะเหล่านั้น อันภิกษุผู้เถระโอวาทพร่ำสอนอยู่ ย่อมรู้ชัดธรรมวิเศษอย่างกว้างขวางยิ่งกว่าที่ตนรู้มาก่อนฯ
    ก็สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคมีภิกษุสงฆ์ห้อมล้อมประทับนั่งกลางแจ้ง ในราตรีมีจันทร์เพ็ญ วันนั้นเป็นวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ ทั้งเป็นวันปวารณาด้วย
    ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคทรงเหลียวดูภิกษุสงฆ์ซึ่งนิ่งเงียบอยู่โดยลำดับ จึงตรัสบอกภิกษุทั้งหลายว่า
    "ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราปรารภในปฏิปทานี้ เรามีจิตยินดีในปฏิปทานี้ เพราะฉะนั้นแล พวกเธอจงปรารภความเพียร เพื่อถึงคุณที่ตนยังไม่ถึง เพื่อบรรลุคุณที่ตนยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งคุณที่ตนยังไม่ทำให้แจ้ง โดยยิ่งกว่าประมาณเถิด เราจักรอยู่ในเมืองสาวัตถีนี้แล จนถึงวันครบ ๔ เดือนแห่งฤดูฝน เป็นที่บานแห่งดอกโกมุท"
    พวกภิกษุชาวชนบททราบข่าวว่า พระผู้มีพระภาคจักรอยู่ในเมืองสาวัตถีนั้น จนถึงวันครบ ๔ เดือนแห่งฤดูฝน เป็นที่บานแห่งดอกโกมุท จึงพากันหลั่งไหลมายังพระนครสาวัตถี เพื่อเฝ้าพระผู้มีพระภาค
    ฝ่ายภิกษุผู้เถระเหล่านั้นก็พากันโอวาทพร่ำสอนภิกษุนวกะ เพิ่มประมาณขึ้น คือ ภิกษุผู้เถระบางพวกโอวาทพร่ำสอนภิกษุ ๑๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๒๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๓๐ รูปบ้าง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๔๐ รูปบ้าง
    และภิกษุนวกะเหล่านั้น อันภิกษุผู้เถระโอวาท พร่ำสอนอยู่ ย่อมรู้ชัดธรรมวิเศษอย่างกว้างขวางยิ่งกว่าที่ตนรู้มาก่อนฯ
    ก็สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคมีภิกษุสงฆ์ห้อมล้อมประทับนั่งกลางแจ้ง ในราตรีมีจันทร์เพ็ญ เป็นวันครบ ๔ เดือนแห่งฤดูฝน เป็นที่บานแห่งดอกโกมุท วันนั้นเป็นวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ
    ขณะนั้น พระผู้พระภาคทรงเหลียวดูภิกษุสงฆ์ ซึ่งนิ่งเงียบอยู่โดยลำดับ จึงตรัสบอกภิกษุทั้งหลายว่า
    "ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย บริษัทนี้ไม่คุยกัน บริษัทนี้เงียบเสียงคุย ดำรงอยู่สารธรรมอันบริสุทธิ์
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุสงฆ์นี้ บริษัทนี้เป็นเช่นเดียวกันกับบริษัทที่ควรแก่การคำนับ ควรแก่การต้อนรับ ควรแก่ทักษิณาทาน ควรแก่การกระทำอัญชลี เป็นเนื้อนาบุญของโลกอย่างหาที่อื่นยิ่งกว่ามิได้
    ภิกษุสงฆ์นี้ บริษัทนี้เป็นเช่นเดียวกันกับบริษัท ที่เขาถวายของน้อย มีผลมาก และถวายของมากมีผลมากยิ่งขึ้น
    ภิกษุสงฆ์นี้ บริษัทนี้เป็นเช่นเดียวกันกับบริษัทอันชาวโลกยากที่จะได้พบเห็น
    ภิกษุสงฆ์นี้ บริษัทนี้เป็นเช่นเดียวกันกับบริษัทอันสมควร ที่แม้คนผู้เอาเสบียงคล้องบ่าเดินทางไปชมนับเป็นโยชน์ ๆ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ผู้เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนแล้วโดยลำดับ สิ้นสัญโญชน์ในภพแล้ว พ้นวิเศษแล้วเพราะรู้ชอบ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ผู้เป็นอุปปาติกะ เพราะสิ้นสัญโญชน์ส่วนเบื้องต่ำทั้ง ๕ จะได้ปรินิพพานในโลกนั้น ๆ มีอันไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็นธรรมดา แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ผู้เป็นพระสกทาคามี เพราะสิ้นสัญโญชน์ ๓ อย่าง เพราะทำราคะ โทสะ โมหะให้เบาบางมายังโลกนี้อีกครั้งเดียวเท่านั้น ก็จะทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุสงฆ์นี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ผู้เป็นพระโสดาบัน เพราะสิ้นสัญโญชน์ ๓ อย่าง มีอันไม่ตกอบายเป็นธรรมดา แน่นอนที่จะได้ตรัสรู้ในเบื้องหน้า แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่ประกอบความเพียรในอันเจริญสติปัฏฐาน ๔ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญสัมมัปปธาน ๔ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญอิทธิบาท ๔ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญอันทรีย์ ๕ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญพละ ๕ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญโพชฌงค์ ๗ อยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่ประกอบความเพียรในอันเจริญเมตตาอยู่ แม้ภิกษุช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญกรุณาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญมุทิตาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญอุเบกขาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญอสุภสัญญาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญอนิจจสัญญาอยู่ แม้ภิกษุเช่นนี้ในหมู่ภิกษุนี้ ก็มีอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์นี้ ที่เป็นผู้ประกอบความเพียรในอันเจริญอานาปานาสติอยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก
    ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้
    ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์ได้
    ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ ๗ แล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้วอย่างไรทำให้มากแล้วอย่างไร จึงมีผลมาก มีอานิสงส์มาก
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ อยู่ในป่าก็ดี อยู่ที่โคนไม้ก็ดี อยู่ในเรือนว่างก็ดี นั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายตรง ดำรงสติมั่นเฉพาะหน้า
    เธอย่อมมีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้ายาว หรือเมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่าหายใจออกยาว เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น หรือเมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้น
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก
    สำเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดปีติ หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นกำหนดรู้ปีติ หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขารหายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจเข้า ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิต หายใจ ว่าเราจักเป็นกำหนดรู้จิต หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจเข้า ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจเข้า ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจเข้า
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจเข้าว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัด หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัดหายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้พิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจออก
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้แล จึงมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้วอย่างไร? ทำให้มากแล้วอย่างไร? จึงบำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้?
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด เมื่อภิกษุหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้ายาว หรือเมื่อหายใจออกยาวก็รู้ชัดว่า หายใจออกยาว เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจเข้าสั้น หรือเมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า หายใจออกสั้น
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลมทั้งปวง หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจเข้า ว่าเราจักระงับกายสังขาร หายใจออก
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่า พิจารณาเห็นกายในกายมีความเพียร รู้สึกตัว มีสติกำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวลมหายใจเข้าลมหายใจออกนี้ ว่าเป็นกายชนิดหนึ่งในพวกกาย
    เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายมีความเพียร รู้สึกตัว มีสติกำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุสำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ปีติ หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้ปีติ หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้สุข หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิตสังขาร หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจเข้า ว่าเราจักระงับจิตสังขาร หายใจออก
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู้สึกมีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวการใส่ใจลมหายใจเข้า ลมหายใจออกเป็นอย่างดีนี้ ว่าเป็นเวทนาชนิดหนึ่ง ในพวกเวทนา
    เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู้สึกตัวมีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุสำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิต หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้กำหนดรู้จิต หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจเข้า ว่าเราจักทำจิตให้ร่าเริง หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักตั้งจิตมั่น หายใจเข้า เราจักตั้งจิตมั่น หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเปลื้องจิต หายใจเข้า เราจักเปลื้องจิต หายใจออก
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติกำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล่าวอานาปานสติแก่ภิกษุผู้เผลอสติ ไม่รู้สึกตัวอยู่
    เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่าพิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติกำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุสำเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความไม่เที่ยง หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัด หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความคลายกำหนัด หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจออก
    สำหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็นผู้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจเข้า ว่าเราจักเป็นตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจออก
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัวมีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ เธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสด้วยปัญญาแล้ว ย่อมเป็นผู้วางเฉยได้ดี
    เพราะฉะนั้นแล ในสมัยนั้น ภิกษุจึงชื่อว่า พิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัวมีสติ กำจัดอภิชาฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้แล ชื่อว่าบำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน ๔ แล้วอย่างไร ? ทำให้มากแล้วอย่างไร ? จึงบำเพ็ญย่อมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค์สมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์ได้ ?
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌา และโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ในสมัยนั้น สติย่อมเป็นอันเธอผู้เข้าไปตั้งไว้แล้ว ไม่เผลอเรอ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด สติเป็นอันภิกษุเข้าไปตั้งไว้แล้วไม่เผลอเรอในสมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ เธอเมื่อเป็นผู้มีสติอย่างนั้นอยู่ ย่อมค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นได้ด้วยปัญญา ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเป็นผู้มีสติอย่างนั้นอยู่ ย่อมค้นคว้าไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา ในสมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุเธอเมื่อค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมด้วยปัญญาอยู่ ย่อมเป็นอันปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุค้นคว้าไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา ปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ในสมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญวิริยสัมโพชฌงค์สมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุปีติปราศจากอามิสย่อมเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ปรารภความเพียรแล้ว ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ปีติปราศจากอามิสเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ปรารภความเพียรแล้ว ในสมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญปีติสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุผู้มีใจเกิดปีติ ย่อมมีทั้งกายทั้งจิตระงับได้ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ทั้งกายทั้งจิตของภิกษุผู้มีใจเกิดปีติ ระงับได้ในสมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุผู้มีกายระงับแล้ว มีความสุข ย่อมมีจิตตั้งมั่น ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด จิตของภิกษุผู้มีกายระงับแล้ว มีความสุขย่อมตั้งมั่น ในสมัยนั้น สมาธิสัมโชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุนั้นย่อมเป็นผู้วางเฉยจิตที่ตั้งมั่นแล้วเช่นนั้นได้เป็นอย่างดี ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเป็นผู้วางเฉย จิตที่ตั้งมั่นแล้วเช่นนั้นได้เป็นอย่างดี ในสมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ สมัยนั้นอุเบกขาสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกสเยได้อยู่ ในสมัยนั้นสติย่อมเป็นอันเธอผู้เข้าไปตั้งไว้แล้วไม่เผลอเรอ.......
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ในสมัยนั้น สติย่อมเป็นอันเธอผู้เข้าไปตั้งไว้แล้วไม่เผลอเรอ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู้สึกตัว มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้อยู่ ในสมัยนั้น สติย่อมเป็นอันเธอผู้เข้าไปตั้งไว้แล้วไม่เผลอเรอ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด สติเป็นอันภิกษุเข้าไปตั้งไว้แล้ว ไม่เผลอเรอในสมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น สติสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ เธอเมื่อเป็นผู้มีสติอย่างนั้นอยู่ ย่อมค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเป็นผู้มีสติอย่างนั้นอยู่ ย่อมค้นคว้าไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา ในสมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค์สมัยนั้น ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ เมื่อเธอค้นคว้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญาอยู่ ย่อมเป็นอันปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุค้นคว้าไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั้นด้วยปัญญา ปรารภความเพียรไม่ย่อหย่อน ในสมัยนั้น วิริยสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญวิริยสัมโพชฌงค์แล้ว สมัยนั้นวิริยสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุปีติปราศจากอามิสย่อมเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ปรารภความเพียรแล้ว ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ปีติปราศจากอามิสเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ปรารภความเพียรแล้ว สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้นภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญปีติสัมโชฌงค์ สมัยนั้น ปีติสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุผู้มีใจเกิดปีติ ย่อมมีทั้งกายทั้งจิตระงับได้ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ทั้งกายทั้งจิตของภิกษุผู้มีใจเกิดปีติ ระงับได้ในสมัยนั้น ปัสสัทะสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษูปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุผู้มีกายระงับแล้ว มีความสุข ย่อมมีจิตตั้งมั่น ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด จิตของภิกษุผู้มีกายระงับแล้ว มีความสุขย่อมตั้งมั่น ในสมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์ สมัยนั้น สมาธิสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ภิกษุนั้นย่อมเป็นผู้วางเฉยจิตที่ตั้งมั่นแล้วเช่นนั้นได้เป็นอย่างดี ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยใด ภิกษุเป็นผู้วางเฉย จิตที่ตั้งมั่นแล้วเช่นนั้นได้เป็นอย่างดี ในสมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ย่อมเป็นอันภิกษุปรารภแล้ว สมัยนั้น ภิกษุชื่อว่าย่อมเจริญอุเบกขาสมัมโพชฌงค์ สมัยนั้น อุเบกขาสัมโพชฌงค์ย่อมถึงความเจริญและความบริบูรณ์แก่ภิกษุ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญสติปฏิฐาน ๔ แล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้วอย่างนี้แล ชื่อว่าบำเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์ได้ ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ ๗ แล้วอย่างไร ทำให้มากแล้วอย่างไร จึงบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อความปลดปล่อย ย่อมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญวิริยสัมโพชฌงค์ ย่อมเจริญปีติสัมโพชฌงค์.......... ย่อมเจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ .... ย่อมเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์........... ย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ อันน้อมไปเพื่อความปลดปล่อย ฯ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ ๗ แล้วอย่างนี้ ทำให้มากแล้ว อย่างนี้แล ชื่อว่าบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้ฯ"
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ
    อานาปานสติสูตร ๑๔/๑๖๕
     
  15. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285

    ผมและครอบครัวขอร่วมทำบุญในครั้งนี้ด้วย 300 บาท ส่วนเงินผมจะนำไปฝากไว้กับพี่ใหญ่ในวันอาทิตย์ที่จะถึงนี้ครับ

    โมทนาในบุญกุศลครั้งนี้กับทุกท่านและชาวคณะพระวังหน้าด้วยครับ

    โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ โมทนา สาธุ
     
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    2 มกราคม 2552 06:38 PM
    #26354
    วันนี้( 2 มกราคม 2552) ผมมีงานบุญมาบอกกับชาววังหน้าทุกๆท่าน

    เนื่องในวันปีใหม่ของไทยเรา คือวันที่ 13 เมษายน 2552 ที่จะมาถึงนี้ ผมจะจัดงานสรงน้ำพระ บรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 5 พระองค์ ( องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมเด็จพระพุทธสิกขีที่1(สมเด็จองค์ปฐม) , องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกกุสันโธ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม โกนาคมนะ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม กัสสปะ และองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมณโคดม ) ,พระ อรหันต์ ไม่น้อยกว่า 30 พระองค์ (มีพระธาตุพระอรหันต์สมัยพุทธกาล ,หลวงปู่พระอุปคุตเถระเจ้า และพระธาตุหลวงปู่ทวด เหยียบน้ำทะเลจืด) ,พระบูชา (พระพุทธรูป ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี)

    การจัดงาน ผมจะแจ้งวันและเวลาอีกครั้ง(ผมจะแจ้งโดยตรงถึงพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ทุกๆท่านเอง) ในงานสรงน้ำครั้งนี้ ผมจะนิมนต์พระอาจารย์นิล และพระอาจารย์ผม มาฉันเพล เมื่อเสร็จสิ้นการถวายเพล และการสรงน้าแล้ว ผมจะมีการแจกพระสมเด็จให้กับทุกๆท่านที่มาร่วมงาน ผมจึงมาบอกบุญกับพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ทุกๆท่าน

    การร่วมทำบุญมีหลักเกณฑ์ดังนี้
    1.ร่วมทำบุญ 100 บาท พระสมเด็จจำนวน 1 ชุด(ขอไม่แจ้งจำนวนองค์) แต่รับพระสมเด็จ 1 องค์
    2.ส่วนที่เหลือผมจะแบ่งไปสำหรับการมอบพระสมเด็จให้กับท่านที่ไปร่วมงานสรงน้ำ
    3.ในส่วนที่แจกทุกๆท่านที่ไปร่วมงาน หากยังมีเหลือ ผมจะนำไปมอบให้กับพี่ใหญ่ เพื่อมอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญกับทุนนิธิท่านอาจารย์ประถม อาจสาครครับ
    4.จะนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    5.จะนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ที่พระอาจารย์ผมจะดำเนินการสร้างขึ้น

    หากผมนำไปบรรจุในพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งไม่ทัน ผมจะขอนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ที่พระอาจารย์ผมจะดำเนินการสร้างขึ้นนะครับ

    แต่หากว่ามีท่านที่ร่วมทำบุญมากกว่าพระสมเด็จที่มี อยู่ ผมจะนำพระพิมพ์อื่นๆมาเพิ่มเติม ในส่วนนี้ผมจะนำไปบรรจุในพระเจดีย์เพียงอย่างเดียว จะไม่มีการนำมามอบให้นะครับ

    ระยะเวลาในการร่วมทำบุญ ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2552
    สิ้นสุดวันที่ 15 มกราคม 2552 เวลา 18.00 น.

    สำหรับท่านที่มีความประสงค์ที่จะร่วมทำบุญ ผมขอพิจารณาเป็นรายท่านนะครับ เนื่องจากการโอนเงินร่วมทำบุญ จะต้องโอนเงินเข้าบัญชีผมเอง เมื่อผมตอบตกลงแล้ว ผมจะแจ้งหมายเลขบัญชีให้อีกครั้งครับ

    หมายเหตุ ท่านที่ร่วมทำบุญทุกๆท่าน เมื่อผมตอบตกลงแล้ว ให้แจ้ง ชื่อ - นามสกุล ของท่าน และบุคคลในครอบครัวของท่าน ที่ท่านประสงค์จะเป็นเจ้าภาพร่วมกัน ให้ผมทราบด้วย ผมจะได้นำรายชื่อไปแจ้งในงานสรงน้ำ ,มอบให้กับพี่ใหญ่(ในกรณีที่มอบพระให้กับทางทุนนิธิ) ,ถวายพระอาจารย์นิล และพระอาจารย์ผมครับ

    โมทนาสาธุครับ
    http://palungjit.org/showthrea...24#post1771424

    http://palungjit.org/showthrea...2445&page=1318

    รายนามท่านที่ร่วมบุญ
    1.คุณพุทธันดร ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    2.คุณชวภณ ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    3.คุณพิมพาภรณ์ ร่วมทำบุญ 100 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    4.คุณtawatd ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    5.คุณnewcomer ร่วมทำบุญ 300.72 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    6.คุณnarin96 ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    7.คุณเพชร ร่วมทำบุญ 300 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    8.คุณkwok ร่วมทำบุญ 500 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    9.คุณdrmetta ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    10.คุณgnip ร่วมทำบุญ 300 บาท
    11.คุณพรสว่าง_2008 ร่วมทำบุญ 300 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    12.คุณake7440 ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    13.คุณkaticat ร่วมทำบุญ 1,000.11 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    14.คุณnongnooo ร่วมทำบุญ 500 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    15.คุณdragonlord ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    16.คุณaries2947 ร่วมทำบุญ ..... บาท
    17.คุณ นายคัง ร่วมทำบุญ 200 บาท
    18.คุณคีตา ร่วมทำบุญ 500 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    19.คุณ นายสติ ร่วมทำบุญ 300 บาท
    รวมจำนวนเงินที่ร่วมทำบุญกัน 11,300.83 บาท

    หากผมแจ้งผิดพลาด กรุณาช่วยเตือนด้วยนะครับ

    โมทนาสาธุครับ
    <!-- / message --><!-- sig -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มกราคม 2009
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    2 มกราคม 2552 06:38 PM
    #26354
    วันนี้( 2 มกราคม 2552) ผมมีงานบุญมาบอกกับชาววังหน้าทุกๆท่าน

    เนื่องในวันปีใหม่ของไทยเรา คือวันที่ 13 เมษายน 2552 ที่จะมาถึงนี้ ผมจะจัดงานสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 5 พระองค์ ( องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมเด็จพระพุทธสิกขีที่1(สมเด็จองค์ปฐม) , องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามกกุสันโธ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม โกนาคมนะ ,องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม กัสสปะ และองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนาม สมณโคดม ) ,พระอรหันต์ ไม่น้อยกว่า 30 พระองค์ (มีพระธาตุพระอรหันต์สมัยพุทธกาล ,หลวงปู่พระอุปคุตเถระเจ้า และพระธาตุหลวงปู่ทวด เหยียบน้ำทะเลจืด) ,พระบูชา (พระพุทธรูป ,หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ,สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี)

    การจัดงาน ผมจะแจ้งวันและเวลาอีกครั้ง(ผมจะแจ้งโดยตรงถึงพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ทุกๆท่านเอง) ในงานสรงน้ำครั้งนี้ ผมจะนิมนต์พระอาจารย์นิล และพระอาจารย์ผม มาฉันเพล เมื่อเสร็จสิ้นการถวายเพล และการสรงน้าแล้ว ผมจะมีการแจกพระสมเด็จให้กับทุกๆท่านที่มาร่วมงาน ผมจึงมาบอกบุญกับพี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ ทุกๆท่าน

    การร่วมทำบุญมีหลักเกณฑ์ดังนี้
    1.ร่วมทำบุญ 100 บาท พระสมเด็จจำนวน 1 ชุด(ขอไม่แจ้งจำนวนองค์) แต่รับพระสมเด็จ 1 องค์
    2.ส่วนที่เหลือผมจะแบ่งไปสำหรับการมอบพระสมเด็จให้กับท่านที่ไปร่วมงานสรงน้ำ
    3.ในส่วนที่แจกทุกๆท่านที่ไปร่วมงาน หากยังมีเหลือ ผมจะนำไปมอบให้กับพี่ใหญ่ เพื่อมอบให้กับท่านที่ร่วมทำบุญกับทุนนิธิท่านอาจารย์ประถม อาจสาครครับ
    4.จะนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง
    5.จะนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ที่พระอาจารย์ผมจะดำเนินการสร้างขึ้น

    หากผมนำไปบรรจุในพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งไม่ทัน ผมจะขอนำไปบรรจุที่พระเจดีย์ที่พระอาจารย์ผมจะดำเนินการสร้างขึ้นนะครับ

    แต่หากว่ามีท่านที่ร่วมทำบุญมากกว่าพระสมเด็จที่มีอยู่ ผมจะนำพระพิมพ์อื่นๆมาเพิ่มเติม ในส่วนนี้ผมจะนำไปบรรจุในพระเจดีย์เพียงอย่างเดียว จะไม่มีการนำมามอบให้นะครับ

    ระยะเวลาในการร่วมทำบุญ ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2552
    สิ้นสุดวันที่ 15 มกราคม 2552 เวลา 18.00 น.

    สำหรับท่านที่มีความประสงค์ที่จะร่วมทำบุญ ผมขอพิจารณาเป็นรายท่านนะครับ เนื่องจากการโอนเงินร่วมทำบุญ จะต้องโอนเงินเข้าบัญชีผมเอง เมื่อผมตอบตกลงแล้ว ผมจะแจ้งหมายเลขบัญชีให้อีกครั้งครับ

    หมายเหตุ ท่านที่ร่วมทำบุญทุกๆท่าน เมื่อผมตอบตกลงแล้ว ให้แจ้ง ชื่อ - นามสกุล ของท่าน และบุคคลในครอบครัวของท่าน ที่ท่านประสงค์จะเป็นเจ้าภาพร่วมกัน ให้ผมทราบด้วย ผมจะได้นำรายชื่อไปแจ้งในงานสรงน้ำ ,มอบให้กับพี่ใหญ่(ในกรณีที่มอบพระให้กับทางทุนนิธิ) ,ถวายพระอาจารย์นิล และพระอาจารย์ผมครับ

    โมทนาสาธุครับ
    http://palungjit.org/showthrea...24#post1771424

    http://palungjit.org/showthrea...2445&page=1318

    รายนามท่านที่ร่วมบุญ
    1.คุณพุทธันดร ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    2.คุณชวภณ ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    3.คุณพิมพาภรณ์ ร่วมทำบุญ 100 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)
    4.คุณtawatd ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    5.คุณnewcomer ร่วมทำบุญ 300 บาท
    6.คุณnarin96 ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    7.คุณเพชร ร่วมทำบุญ 300 บาท
    8.คุณkwok ร่วมทำบุญ 500 บาท
    9.คุณdrmetta ร่วมทำบุญ 1,000 บาท
    10.คุณgnip ร่วมทำบุญ 300 บาท
    11.คุณพรสว่าง_2008 ร่วมทำบุญ 300 บาท
    12.คุณake7440 ร่วมทำบุญ 1,000 บาท (โอนเงินร่วมบุญแล้ว)


    โมทนาสาธุครับ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    โมทนาสาธุครับ
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เตือน ผลิตภัณฑ์ดีท็อกซ์ ไม่ได้ช่วยล้างพิษจริง

    http://hilight.kapook.com/view/32541

    [​IMG]

    นักวิทยาศาสตร์เตือนว่า ยังไม่มีหลักฐานพิสูจน์ว่าผลิตภัณฑ์ที่โฆษณาอย่างกว้างขวาง ว่าล้างพิษในร่างกายได้นั้นให้ผลล้างพิษได้จริง

    ตั้งแต่น้ำดื่มไปจนถึงผงขัดหน้าพบว่า เป็นการอ้างที่ไร้มูลโดยสิ้นเชิง พร้อมแนะนำผู้ที่ต้องการล้างพิษจากการตามใจปากมากเกินไปในช่วงคริสต์มาสและปีใหม่ ให้รับประทานอาหารมีประโยชน์และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ

    ทางกลุ่มเรียกร้องให้บริษัทเจ้าของผลิตภัณฑ์ล้างพิษหาหลักฐานพิสูจน์ข้ออ้าง เพราะพบว่าแต่ละบริษัทมีนิยามของคำว่าล้างพิษไม่เหมือนกันเลยแม้แต่แห่งเดียว ขณะที่พจนานุกรมอังกฤษออกซ์ฟอร์ดให้คำจำกัดความไว้ว่า เป็นการนำสารพิษหรือสิ่งที่มีคุณสมบัติเป็นพิษออกจากร่างกาย ผู้ผลิตและผู้ค้าหลายรายยอมรับว่า นำคำว่า "ล้างพิษ" มาใช้แทนคำว่า "ชำระล้าง" หรือ "ขัด" ในการโฆษณาผลิตภัณฑ์

    นักวิจัยชี้ว่า หากผู้บริโภครับประทานอาหารเป็นประโยชน์ตามที่ผลิตภัณฑ์ล้างพิษแนะนำไว้ ย่อมทำให้รู้สึกดีขึ้นทั้งที่ไม่ได้เป็นผลจากผลิตภัณฑ์เลยแม้แต่น้อย กรณีโชคร้ายที่สุดคือ ผลิตภัณฑ์ล้างพิษบางอย่างอาจทำให้เกิดอันตรายตามมา ส่วนกรณีโชคดีที่สุดคือเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์ ด้านสำนักงานมาตรฐานการโฆษณาของอังกฤษเผยว่า จะตรวจสอบเป็นรายๆ ไปหากมีการร้องเรียนเข้ามา



    ขอขอบคุณข้อมูลจาก ไทยโพสต์
    [​IMG]
    ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต
     
  19. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่า...ผมเกือบลืม สำหรับคุณนิวและผู้ที่สนใจในราคาทองคำนะครับ ตามความเห็นผมนะครับ ราคาได้ไปทดสอบที่890เหรียญ แล้วไม่ผ่านเมื่อคืนปรับลงทันที30เหรียญ แต่สุดท้ายลดลง 16เหรียญ ตามสภาพนี้ ผมคิดว่าน่าจะกลับลงไปหาที่ประมาณ 750เหรียญ อีกครั้งครับ ...
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    เริ่มแล้ว! กล้องไฮเทค จับผิด 30 แยกทั่วกรุงเทพฯ

    http://hilight.kapook.com/view/32540


    [​IMG]

    เริ่มแล้ว! กล้องไฮเทค จับผิด 30 แยกทั่วกรุง ฝ่าไฟแดง-ปรับถึงบ้าน

    กล้องดิจิตอลเหล่านี้จะประจำการอยู่ตามสี่แยกต่างๆ ทั่วกรุงเทพฯ โดยเฉพาะแยกขนาดใหญ่และถนนสายสำคัญ ทำหน้าที่ตรวจจับคนขับรถฝ่าไฟแดง พร้อมกับออกใบสั่งเรียกเก็บเงินถึงบ้าน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่ตรวจตรารถต้องสงสัยที่วิ่งผ่านไปมาตามท้องถนนอีกด้วย นับเป็นการแบ่งเบาภาระหน้าที่ของตำรวจอีกทาง ต่อจากนี้ใครทำผิดจะมีภาพบันทึกไว้เป็นหลักฐาน ตามด้วยจดหมายให้ไปเสียค่าปรับฐานฝ่าฝืนกฎจราจร

    โครงการกล้องไฮเทคถูกทดลองใช้ครั้งแรก วันที่ 30 ธันวาคม ภายใต้การดูแลของพล.ต.ต.ภาณุ เกิดลาภผล รอง ผบช.น. (ดูแลจราจร) ผู้เป็นต้นคิดโครงการนี้ การทำงานของเครื่องตรวจจับจะมี 2 ส่วนด้วยกัน คือ ระบบจับภาพผู้กระทำผิดซึ่งเป็นการทำงานของกล้องดิจิตอล และระบบศูนย์ควบคุมที่ทำหน้าที่นำภาพที่จับได้มาประมวลผล การทำงานจะเป็นไปตามขั้นตอน คือ ถ่ายภาพการกระทำผิดในรูปแบบแฟ้มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมบันทึกรายละเอียดไว้ชัดเจน หลังจากนั้นระบบจะส่งภาพผ่านระบบสื่อสารโครงข่ายแบบ ADSL ไปยังศูนย์ควบคุมกลาง ทำการเปรียบเทียบข้อมูลยานพาหนะที่กระทำผิด พร้อมตรวจสอบความชัดเจนของภาพอีกครั้ง ก่อนพิจารณาพิมพ์ใบสั่งจัดส่งไปทางไปรษณีย์เพื่อเรียกชำระค่าปรับ

    ในชั้นนี้มีการติดตั้งกล้องดิจิตอลทั่วกทม.แล้ว 30 จุด คือ

    1.แยกรัชดาฯ-ลาดพร้าว

    2.แยกบ้านม้า

    3.แยกคลองตัน

    4.แยกอโศกเพชร

    5.แยกวิทยุ-เพลินจิต

    6.แยกซังฮี้

    7.แยกพญาไท

    8.แยกโชคชัย 4

    9.แยกนิด้า

    10.แยกอุรุพงษ์

    11.แยกประดิพัทธ์

    12.แยกรัชดาฯ-พระราม 4

    13.แยกลำสาลี

    14.แยกบ้านแขก

    15.แยกบางพลัด

    16.แยกนรินทร

    17.แยกราชประสงค์

    18.แยกอโศกสุขุมวิท

    19.แยกสาทร

    20.แยกตากสิน

    21.แยกโพธิ์แก้ว

    22.แยกพัฒนาการ-ตัดรามฯ 24

    23.แยกร่มเกล้า

    24.แยกศุลกากร

    25.แยกเหม่งจ๋าย

    26.แยกท่าพระ

    27.แยกประเวศ

    28.แยกอังรีดูนังต์

    29.แยกประชานุกูล

    30. แยกบางโพ



    [​IMG]

    โดยกล้องดังกล่าวแบ่งการทำงานออกเป็น 3 ส่วน คือ

    1.ตัวกล้อง

    2.ตัวเซ็นเซอร์

    3.ตัวคอมพิวเตอร์ประเมินผล

    เมื่อไฟแดงทำงาน ตัวเซ็นเซอร์ทำงาน มีการฝ่าไฟแดงออกไปกล้องจะถ่ายภาพจากนั้นจะประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่โคนเสาซึ่งเป็นกล่องเหล็ก ตัวคอมพิวเตอร์ก็จะส่งข้อมูลมาที่ศูนย์สั่งการและควบคุมจราจร (บก.02) มาขึ้นที่จอมอนิเตอร์ใน บก.02 โดยเครื่องจะอ่านอัตโนมัติว่าเป็นรถของใคร ซึ่งทางกองบัญชาการตำรวจจราจร ได้เชื่อมต่อเครือข่ายกับกรมการขนส่งที่ศูนย์รัตนาธิเบศร์ เพื่อบอกสีรถ ยี่ห้อรถ ชื่อเจ้าของรถ เมื่อได้รายละเอียดจึงพิจารณาพิมพ์หมายหรือใบสั่งต่อไป

    โดยผู้ทำผิดกฎจราจรจะถูกกล้องบันทึกภาพไว้ เมื่อหลักฐานครบถ้วนเจ้าหน้าที่จะแนบหมายเรียกส่งไปถึงบ้าน ซึ่งภาพที่ส่งไปจะมี 3 ภาพ คือ ภาพก่อนการกระทำความผิด ภาพขณะกระทำความผิด และภาพเฉพาะทะเบียนรถ โดยในภาพจะปรากฏชื่อสถานที่ วันเวลากระทำความผิด ความเร็วของรถ เห็นทั้งตัวรถและไฟสัญญาณ โดยจะส่งให้ภายใน 7 วัน หลังกระทำความผิด โดยเจ้าของจะต้องมาชำระค่าปรับตามที่กำหนดไว้ในหมาย

    นอกจากเสียค่าปรับแล้วยังมีการตัดแต้มคะแนนอีกด้วย

    ใครที่ทำผิดกฎจราจรแล้วถูกจดหมายใบสั่ง จะต้องมาชำระค่าปรับตามจุดเปรียบเทียบปรับที่จัดไว้ คือ จุดเปรียบเทียบปรับกรมการขนส่งทางบกจตุจักร จุดเปรียบเทียบปรับกรมการขนส่งทางบกบางนา จุดเปรียบเทียบปรับกรมการขนส่งทางบกตลิ่งชัน จุดเปรียบเทียบปรับกรมการขนส่งทางบกบางขุนเทียน สน.คู่ขนานลอยฟ้า สน.ใต้ทางด่วนพระราม 4 สน.ตู้กำแพงเพชร สน.วิภาวดี จุดเปรียบเทียบปรับ(บก.จร.เก่า) ภายใน 7 วัน

    อัตราโทษปรับสูงสุดไม่เกิน 1,000

    สำหรับรถคันแรกที่ทำผิดประเดิมกล้องไฮเทค ถูกบันทึกภาพไว้ได้ตอนตี 4 วันที่ 30 ธันวาคม บริเวณแยกอโศกสุขุมวิท ถนนรัชดาภิเษก แขวงและเขตคลองเตย เป็นรถยนต์หมายเลขทะเบียน ทร-59 กทม. ซึ่งเป็นรถยนต์แท็กซี่ ของสหกรณ์แท็กซี่รวมมิตร เลขที่ 1296/67-68 ถ.กรุงเทพ-นนทบุรี แขวงและเขตบางซื่อ กทม.

    นอกจากนี้ยังมีอีกหลายร้อยรายที่ถูกกล้องจับบันทึกไว้ ใครเป็นใครต้องลุ้นกันตอนรับจดหมาย!!?

    "โครงการระบบตรวจจับสัญญาณไฟจราจร เป็นหนึ่งในการช่วยลดปัญหาการให้ผู้ขับขี่มีวินัยไม่ฝ่าฝืนสัญญาณจราจร ทางกองบัญชาการตำรวจจราจร จึงได้ทดลองนำกล้องระบบตรวจจับผู้ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจรมาใช้ แค่ช่วงทดลองก็พบว่าในแต่ละคืนมีคนทำผิดกฎจราจรกว่า 2 พันราย เพราะกลางคืนไม่มีตำรวจอยู่กลางสี่แยก ซึ่งกลายเป็นช่องว่างทำให้คนไม่เคารพกฎหมายทำผิดกฎจราจรและอาจเกิดอุบัติเหตุขึ้นได้ เมื่อมีการติดตั้งกล้องอิเล็กทรอนิกส์ช่วยจับผู้กระทำผิด ก็จะเป็นประโยชน์กับเจ้าหน้าที่และลดการเกิดอุบัติเหตุได้

    "นอกจากนี้ อุปกรณ์ดังกล่าวยังลดความขัดแย้งระหว่างผู้ใช้รถใช้ถนนกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ เพราะการทำผิดจะถูกบันทึกไว้เป็นภาพถ่ายที่เห็นชัดเจน โดยทางบก.จร.จะส่งหมายเรียกให้มาชำระค่าปรับ แต่ถ้าหากไม่มาก็จะทำเรื่องไปยังกองทะเบียนเพื่ออายัดการต่อทะเบียนทันที ซึ่งการติดตั้งกล้องเหล่านี้หากมีหลายๆ แยก ก็จะเป็นการดี อย่างน้อยก็จะทำให้ผู้ขับขี่เกรงกลัว แม้ไม่มีเจ้าหน้าที่อยู่ประจำแยก ซึ่งประโยชน์สูงสุดในการมีเครื่องตรวจจับชิ้นนี้ คือ ลดการสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของผู้ใช้รถใช้ถนนเอง และยังเป็นการลดกำลังพลเจ้าหน้าที่ตำรวจ จะได้แบ่งไปตรวจตราความเรียบร้อยด้านอื่นแทน" พล.ต.ต.ภาณุ กล่าว

    ถ้าผู้ใช้รถใช้ถนนมีวินัยไม่ทำผิดกฎจราจร ก็คงไม่ต้องสิ้นงบไปกับอุปกรณ์เหล่านี้!!




    ขอขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก ข่าวสด
    [​IMG]
    คอลัมน์ สดจากสนามข่าว
    โดย กมล แย้มอุทัย/ชูชาติ แก้วเก่า เรื่อง/ภาพ
     

แชร์หน้านี้

Loading...